หวั่นไหว | ก. สั่นสะเทือน, โอนเอน, เช่น จิตใจหวั่นไหวไปตามอารมณ์, ครั่นคร้าม เช่น ไม่หวั่นไหวต่อภยันตรายใด ๆ. | หวั่นไหว | ว. อาการที่สั่นสะเทือนมาก (ใช้แก่เสียง) เช่น เสียงดังสนั่นหวั่นไหว. | กรรมชวาต | (กำมะชะวาด) น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์ (ปฐมสมโพธิกถา), เขียนเป็น กรรมัชวาต ก็มี. | กัมบน | (กำบน) ก. หวั่นไหว, กำบน ก็ว่า. | กัมป-, กัมปน- | (กำปะ-, กำปะนะ-) น. การหวั่นไหว, แผ่นดินไหว. | กัมปนาการ | น. อาการคือการหวั่นไหว. | กัมปนาท | น. เสียงสนั่นหวั่นไหว. | กำทวน | ว. สนั่น, หวั่นไหว, ก้อง, เช่น เสียงมฤคคชสีหไกรสร สีหนาทกำธร กำทวนข้างป่าหิมพานต์ (สมุทรโฆษ). | กำธร | (-ทอน) ว. สนั่น, หวั่นไหว, สะเทือน, เช่น เสียงเทพอวยอาศิรวาท กำธรอากาศ ฦๅเลวงไชยไชย (สมุทรโฆษ). | กำบน | ก. กัมบน, หวั่นไหว, เช่น ปางน้นนไกรโกรมธาตุ เอาดอยราชเมรู แลนนทพนชูเปนเซรอด ก็เกอดพิการกำบน (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | เข้มแข็ง | ก. แข็งแรงในการงาน, ขยันขันแข็ง, ไม่ย่อท้อหวั่นไหว. | เขยียวขยอน | (ขะเหฺยียวขะหฺยอน) ว. สนั่น, หวั่นไหว, เกรียวกราว. | จาบัล, จาบัลย์ | (-บัน) ก. หวั่นไหว, กระสับกระส่าย เช่น ดาลดับรงับจิตรจาบัลย์ เทียรทิพยสุคันธ ธรศมาโสรจโทรมสกนธ์ (ดุษฎีสังเวย) | ตรละ ๒ | หวั่นไหว, สั่น. | ตระอาล | (ตฺระอาน) ว. หวั่นไหว เช่น พยงแผ่นดินบตระอาล (ม. คำหลวง กุมาร). | พิจล | ก. หวั่นไหว. | ยับยาน | ก. หวั่นไหว. | ระทด | ก. สลดใจ, มีจิตใจหวั่นไหวเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น ระทดท้อ ระทดใจ. | รันทด | ก. สลดใจมาก มีจิตใจหวั่นไหวมากเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น รันทดสลดใจ รันทดท้อเสียใจไห้สะอื้น. | เลือดเย็น ๑ | ว. มีใจเหี้ยมสามารถทำลายชีวิตหรือชื่อเสียงผู้อื่นได้โดยไม่รู้สึกหวั่นไหว เช่น ฆ่าอย่างเลือดเย็น. | วิจล | (วิจน) ว. อาการที่เคลื่อนไปมา, อาการที่หวั่นไหว, อาการที่ส่ายไปมา | สะกดอกสะกดใจ, สะกดอารมณ์ | ก. ข่มอารมณ์มิให้หวั่นไหวต่อเหตุการณ์ที่ผ่านไปแล้วหรือที่กำลังประสบ. | สะดุ้งสะเทือน | ก. หวั่นไหว, เดือดร้อน, กังวลใจ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ใครจะนินทาว่าร้ายอย่างไรก็ไม่สะดุ้งสะเทือน มหาเศรษฐีเสียเงินล้านสองล้านไม่สะดุ้งสะเทือนหรอก. | สะทน | ก. สะท้อน, หวั่นไหว. | สะเทือนอารมณ์ | ก. มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบทำให้รู้สึกเศร้าหมอง เช่น นวนิยายสะเทือนอารมณ์ อ่านเรื่องเศร้าแล้วสะเทือนอารมณ์. | อจล- | (อะจะละ-) ว. ไม่หวั่นไหว, ไม่คลอนแคลน, เช่น อจลศรัทธา. | อัศจรรย์ | (อัดสะจัน) น. ปรากฏการณ์อันเนื่องแต่บุญญาภินิหารของพระโพธิสัตว์และพระพุทธเจ้า เช่นเมื่อพระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้แสดงปฐมเทศนา ปลงอายุสังขาร และปรินิพพาน จะมีความหวั่นไหวปั่นป่วนของโลกธาตุบังเกิดขึ้น. | อากัมปนะ, อากัมปะ | (-กำปะ-) น. ความหวั่นไหว. |
|
bell | (เบล) { belled, belling, bells } n. ระฆัง, กระดิ่ง, เสียงระฆัง vt. ทำให้บวมคล้ายระฆัง, ติดระฆัง vi. มีรูปร่างคล้ายระฆัง, ดังสนั่นหวั่นไหว, ร้องตะโกน -Conf. belle | bellow | (เบล'โล) { bellowed, bellowing, bellows } vi. คำราม, ตะโกน, แผดเสียงร้อง, ดังสนั่นหวั่นไหว, See also: bellower n. | boom | (บูม) { boomed, booming, booms } n. เสียงดังสนั่นหวั่นไหว, การขึ้นสูงอย่างรวดเร็วของราคาหรือการขาย, ระยะการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว vi., vt. (ทำให้) เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว, มีเสียงดังสนั่น, (เจริญรุ่งเรืองพัฒนา) มีชื่อเสียงอย่างรวดเร็ว, ยกยอ, สนับสนุน | crump | (ครัมพฺ) { crumped, crumping, crumps } vt. เคี้ยว, ขบด้วยฟัน vi. (ลูกปืนใหญ่) ตกลงและระเบิดด้วยเสียงสนั่นหวั่นไหว, ทำเสียงกระทืบ, ระเบิดขนาดใหญ่ adj. เปราะ, แตกง่าย | detonate | (เดท'ทะเนท) vi. ระเบิดอย่างรุนแรงด้วยเสียงสนั่นหวั่นไหว. vt. ทำให้เกิดการระเบิด, Syn. explode | flurry | (เฟลอ'รี) n. หิมะที่ตกปรอย ๆ , ฝนตกลงมาอย่างประปราย, ความตื่นเต้นหรืองงงวยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน, ความเกรียวกราว, ความหวั่นไหวของตลาดหุ้น, ลมที่พัดมาอย่างกะทันหัน. vt. ทำให้ยุ่งใจ, ทำให้ตื่นเต้น, Syn. fluster | flux | (ฟลัคซฺ) n. ท้องร่วง, โรคบิด, การไหล, การเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย, การขาดความมั่นใจ, ความหวั่นไหว vt. ทำให้ละลาย, ทำให้เป็นของเหลว, ถ่าย, ระบาย vi. ละลายไหล, Syn. change | proof | (พรูฟ) n. หลักฐาน, พยาน, การพิสูจน์, การทดสอบ, กำลัง, ความเข้มข้นของแอลกอฮอล, การตรวจทาน, การตรวจปรู๊ฟ, การทดลองพิมพ์. adj. เข้าไม่ได้, ต้านทาน, กันทะลุ, กันน้ำ, ไม่ซึม, ไม่หวั่นไหว, ป้องกันไฟได้, ซึ่งพิสูจน์แล้ว. vt. ทดสอบ, ทดลอง, ตรวจสอบ, ต้านทาน | repose | (รีโพซ') n. การนอนพิง, การพักผ่อน, การนอนหลับ, ความสงบ, ความสงบเงียบ, ความสุขุม, การนิ่งเฉย, ความไม่หวั่นไหว, ความสำรวม, ความเย็นตา, ลักษณะเย็นตา vi. นอนพิง, อิง, นอนพักผ่อน, นอนหลับ, นอนตาย, สำรวม, สงบจิต, ขึ้นอยู่ vt. ไว้ใจ, ไว้วางใจ, เชื่อใจ, วาง, ใส่กับ, ไว้วางใจ, vt. นอนพัก | reposeful | (รีโพซ'ฟูล) adj. สงบเงียบ, สำรวมใจ, ไม่หวั่นไหวเงียบ, See also: reposefully adv. reposefulness n., Syn. calm, quiet | self-possessed | (เซลฟฺ'พะเซสทฺ) adj. ควบคุมตัวเอง, มีสติ, สามารถข่มใจตัว เองได้, สามารถข่มอารมณ์ตัวเองได้, สุขุม, ไม่หวั่นไหว, เยือกเย็น., See also: self-possessedly adv., Syn. composed, poised | shake | (เชด) (shook, shaken, shaking, shakes } vt., vi., n. (การ) เขย่า, สั่น, โยก, ทำให้สั่น, สลัด, สะบัด, ทอดทิ้ง, ทำให้กระวนกระวาย, กวนใจ, ทำให้สงสัย, ขจัด, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, สะท้าน, แกว่ง, ไม่มั่นคง, หวั่นไหว, จับมือกัน (แสดงความเคารพการทักทายหรือการเห็นด้วย) , สิ่งที่เกิดจากการสั | stolid | (สทอล'ลิด) adj. ไม่หวั่นไหวง่าย, ไม่ตื่นเต้นง่าย, เยือกเย็น, เฉื่อยชา., See also: stolidity, stolidness n. stolidly adv. | susceptible | (ซะเซพ'ทะเบิล) adj. รู้สึกไว, มีจิตใจอ่อนแอ, สะเทือนใจง่าย, หวั่นไหวง่าย, ประทับใจได้ง่าย., See also: susceptibleness n. susceptibly adv., Syn. sensitive, vulnerable, Ant. resistant | unshaken | (อันเ?ค'เคิน) adj. ไม่สั่น, ไม่หวั่นไหว, มั่นคง, เด็ดเดี่ยว., See also: unshakenly adv. unshakenness n. -s .calm | vacillate | (แวส'ซะเลท) vi. เปลี่ยนแปลง, หวั่นไหว, รวนเร, แกว่งไปมา., See also: vacillator n., Syn. wobble, waver, totter | vacillating | (แวส'ซะเลทิง) adj. ไม่แน่นอน, เปลี่ยนแปลง, หวั่นไหว, รวนเร, แกว่งไปมา., See also: vacillator n. | wave | (เวฟว) n. คลื่น, ลอน, ความหวั่นไหว, การเคลื่อนตัวเป็นกลุ่ม, การแกว่ง, การโบกไปมา, การเป็นลอน, น่านน้ำ, ทะเล, การหลั่งไหล, การเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน, ชั่วครั้งชั่วคราว, พักหนึ่ง vi. vi. โบกไปมา, โบกมือ, เคลื่อนตัวเป็นรูปคลื่น, โค้งสลับทิศทาง, ทำให้เปลี่ยนแปลง | waver | (เว'เวอะ) vi., n. (การ) แกว่งไปมา, แกว่งไกว, โซเซ, โอนเอนไปมา, วอกแวก, ลังเล, หวั่นไหว, ไม่มั่นคง, สงสัย, ผันแปร, แปรปรวน, ผู้โบก, เครื่องดัดผม, ผู้ดัดผม, See also: waverer n. waveringly adv. |
|