Search result for

*หลักธรรม*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: หลักธรรม, -หลักธรรม-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
หลักธรรม(n) dharmic principle, See also: moral principle, Example: หลักธรรมในพุทธศาสนาเป็นปรัชญาเทียบขนานกันได้กับคติวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบัน, Thai Definition: หลักคำสั่งสอนในศาสนา

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ชอบธรรมว. ถูกตามหลักธรรม, ถูกตามนิตินัย.
ทศพิธราชธรรมน. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม.
ธรรมา-ธิษฐาน(ทำมาทิดถาน, ทำมาทิดสะถาน) ว. มีธรรมเป็นที่ตั้ง ที่ยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วน ๆ ขึ้นมาอ้างหรืออธิบาย, คู่กับ บุคลาธิษฐาน.
นวก- ๒(นะวะกะ-) น. หมวด ๙ หมายความว่า หมวดหรือชุมนุมหลักธรรมที่มี ๙ ข้อ เรียกว่า นวกนิบาต.
นิบาตหมวดธรรม, ชุมนุมหลักธรรม, เช่น เอกกนิบาต = หมวดหรือชุมนุมหลักธรรมที่มี ๑ ข้อ ทุกนิบาต = หมวดหรือชุมนุมหลักธรรมที่มี ๒ ข้อ.
ราชธรรมน. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง เรียกว่า ทศพิธราชธรรม มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม.
ราชศาสตร์น. กฎหมายที่พระเจ้าแผ่นดินบัญญัติตามหลักธรรมศาสตร์.
รู้ไม่ถึงก. รู้ไม่ลึกซึ้งพอ เช่น หลักธรรมะขั้นสูงเช่นนี้ ฉันยังรู้ไม่ถึง.
ศาสน-, ศาสนา(สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา) น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ.
สูตร ๒(สูด) น. ชื่อหลักธรรมในพระสุตตันตปิฎก เรียกว่า พระสูตร เช่น มงคลสูตร กาลามสูตร
หัวใจอักษรย่อของหลักธรรมหรือข้อความต่าง ๆ ที่ผูกไว้เพื่อกำหนดจำได้ง่าย นิยมว่าเป็นของขลัง เช่น หัวใจอริยสัจ ว่า “ทุ. ส. นิ. ม.” หัวใจนักปราชญ์ ว่า “สุ. จิ. ปุ. ลิ.” หัวใจเศรษฐี ว่า “อุ. อา. ก. ส.”.
อังคุตรนิกาย(-คุดตะระ-) น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๔ แห่งพระสุตตันตปิฎก แสดงหลักธรรมโดยแบ่งเป็นหมวด เรียงลำดับตามจำนวนหัวข้อธรรมะตั้งแต่ ๑ หัวข้อถึง ๑๑ หัวข้อ.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Theology, Doctrinalเทววิทยาหลักธรรม [TU Subject Heading]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
หลักธรรม[laktham] (n) EN: dharmic principle
หลักธรรมจริยา[laktham jariyā] (n, exp) EN: morality
หลักธรรม[lakthamma] (n) EN: doctrine
หลักธรรมศาสตร์[lak thammasāt] (n, exp) EN: jurisprudence

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
nature(n) ธรรมชาติ, See also: สภาพธรรมชาติ, หลักธรรมชาติ, กฎธรรมชาติ
philosopher(n) ผู้รู้หลักธรรม, See also: ผู้ปลงตก
philosophical(adj) ซึ่งยึดหลักธรรมะ, See also: ธรรมะธัมโม
philosophically(adv) อย่างธรรมะธัมโม, See also: โดยยึดหลักธรรมะ

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
casuist(แคซ'ซูอิสทฺ) n. เจ้าคารม, เจ้าโวหาร, ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา, ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง
casuistic(แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ
casuistical(แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ
fey(เฟ) adj. เหนือหลักธรรมชาติ, เกี่ยวกับเวทมนตร์คาถา, ประหลาด, ซึ่งล่วงรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า
moral(มอ'เริล, โม'เริล) adj. เกี่ยวกับศีลธรรม, เกี่ยวกับจรรยา, เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบ, บริสุทธิ์, เกี่ยวกับจิตใจ, ขึ้นอยู่กับการสังเกต. n. หลักศีลธรรม, หลักธรรมจริยา, See also: morals n. หลักความประพฤติ, Syn. ethical
philosopher(ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ปราชญ์, ผู้รู้หลักธรรม, ผู้ที่ปลงตก, ผู้เล่นแปรธาตุ, ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย, ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n.
philosophic(ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น
philosophical(ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น
religion(รีลิจ'เจิน) n. ศาสนา, ลัทธิ, ความเลื่อมใสในศาสนา, เรื่องศาสนา, กลุ่มนักบวช, ความเลื่อมใส, ชีวิตในศาสนา, ธรรมะ, หลักธรรม, See also: religions n. พิธีศาสนา, ความเคร่งครัดในศาสนา
unprincipled(อันพริน'ซิเพิลดฺ) adj. ไม่มีหลักการ, ขาดคุณธรรม, ไม่มีหลักธรรม., See also: unprincipledness n., Syn. unscrupulous

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Good Governenceหลักธรรมาภิบาล

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top