ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สมุด, -สมุด- |
|
| สมุด | (n) notebook, Count Unit: เล่ม | สมุด | (n) book, See also: workbook, notebook, exercise book, booklet, Example: ผู้วิจัยควรมีสมุดเล่มเล็กๆ ติดตัวเป็นประจำ เพื่อจะได้บันทึกสิ่งที่พบเห็นที่จะเป็นประโยชน์ในการวิจัย, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: กระดาษที่ทำเป็นเล่ม | สมุดพก | (n) school report, See also: report card, school children's report book, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดบันทึกผลการเรียน | หอสมุด | (n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้ | สมุดฉีก | (n) writing pad, See also: scratch pad, Example: นักเรียนนิยมใช้สมุดฉีกเพื่อเขียนรายงาน, Count Unit: เล่ม | สมุดภาพ | (n) picture album, See also: photograph album, Syn. อัลบั้ม, Example: รูปนางในวรรณคดีในสมุดภาพเล่มนั้นสวยงามมาก, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดที่เก็บรวบรวมภาพ | สมุดข่อย | (n) Thai long book made of pulp from trees of the family Uricaceae, Syn. สมุดไทย, สมุดดำ, Example: ในสมัยก่อนคนไทยต้องเขียนหนังสือลงบนสมุดข่อย, Count Unit: เล่ม, หัว, Thai Definition: สมุดไทยที่ทำจากเปลือกข่อย | ห้องสมุด | (n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง | ห้องสมุด | (n) library, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ไว้เป็นระบบ | สมุดบัญชี | (n) account book, Example: เขาฉีกสมุดบัญชีออกไปหลายใบ, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดที่ลงรายการต่างๆ | สมุดปกขาว | (n) white book, Count Unit: เล่ม | สมุดอวยพร | (n) note book for well-wishers, Example: แขกที่มาในงานเขียนคำอวยพรลงในสมุดอวยพรหน้างาน, Thai Definition: สมุดที่ใช้สำหรับเขียนคำอวยพรในโอกาสต่างๆ | สมุดบันทึก | (n) note book, Syn. สมุด, ไดอารี่, อนุทิน, บันทึกประจำวัน, Count Unit: เล่ม | สมุดบันทึก | (n) diary, See also: memorandum book, Example: ไม่ว่าจะไปเที่ยวที่ไหน ผมจะต้องจดใสสมุดบันทึกไว้ทุกครั้ง, Count Unit: เล่ม | สมุดรายงาน | (n) report book, Example: ผู้อำนวยการมีคำสั่งว่า หากใครทำอะไรที่เป็นผลงาน ให้ผู้นั้นเขียนรายงานไว้ในสมุดรายงานที่เตรียมไว้, Count Unit: เล่ม | สมุดเยี่ยม | (n) visiting book, Count Unit: เล่ม | สมุดเยี่ยม | (n) visitor's book, Example: เมื่อพระองค์จะเสด็จกลับ เจ้าของภัตตาคารทูลขอพระราชทานลายพระหัตถ์ลงในสมุดเยี่ยม, Count Unit: เล่ม | บัตรห้องสมุด | (n) library ticket, See also: borrower's ticket | สมุดวาดเขียน | (n) drawing book, Example: คณะได้มอบสมุดวาดเขียน สี พู่กันให้เด็กๆ จำนวน 200 ชุด, Thai Definition: สมุดที่ใช้วาดภาพ | สมุดโทรศัพท์ | (n) telephone directory, Syn. สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์, Example: ที่บ้านได้รับแจกสมุดโทรศัพท์เล่มใหม่ทุกปี, Count Unit: เล่ม | สมุดปฏิทินโหร | (n) almanac, See also: calendar, Syn. ปูมโหร, ปูม, Example: หมอดูแทบทุกคน ต้องเคยศึกษาสมุดปฏิทินโหรมาก่อน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดแสดงการเคลื่อนไหวของดาวพระเคราะห์ประจำวัน, จดหมายเหตุของโหร | ห้องสมุดประชาชน | (n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน | ผู้ใช้บริการห้องสมุด | (n) library user |
| ขึ้นสมุด | ก. เริ่มการใช้สมุดเขียนอ่าน หลังจากฝึกเขียนอ่านบนกระดานชนวนมาแล้ว. | สมุด | (สะหฺมุด) น. กระดาษที่ทำเป็นเล่ม มีหลายชนิดเรียกชื่อตามประโยชน์ใช้สอย เช่น สมุดวาดเขียน สมุดแผนที่ สมุดแบบฝึกหัดคัดลายมือ. | สมุดข่อย | น. สมุดไทย. | สมุดไทย | น. สมุดที่ทำด้วยกระดาษข่อยแผ่นยาว ๆ หน้าแคบ พับทางขวางทบกลับไปกลับมาคล้ายผ้าจีบ เป็นสมุดเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีทั้งชนิดกระดาษขาวและกระดาษดำ, สมุดข่อย ก็เรียก. | สมุดปูมเดินทาง | น. สมุดบันทึกรายการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ เช่น เดินทางจากไหนถึงไหน วันที่เดินทาง จำนวนชั่วโมง ฯลฯ. | สมุดรายงาน | น. สมุดบันทึกผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน, เดิมเรียกว่า สมุดพก. | ห้องสมุด, หอสมุด | น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้. | กระดาษข่อย | น. กระดาษที่ทำจากเปลือกข่อย ใช้ทำสมุดไทย. | กี่ ๑ | น. เครื่องทอผ้า, เครื่องเย็บสมุด | กุญแจรหัส | สมุดประมวลรหัส เพื่อใช้เข้ารหัสและถอดรหัส บรรจุข้อความที่เข้ารหัสไว้ด้านหนึ่งและข้อความที่ถอดรหัสแล้วไว้อีกด้านหนึ่ง. | ขนบ | กลีบ, รอยที่พับ (ของสมุดข่อย หรือผ้าจีบ หรือจีวร เป็นต้น) | คู่มือ | น. สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง. | เคลื่อนที่ | ว. ไม่อยู่กับที่, ไม่ประจำที่, เช่น ห้องสมุดเคลื่อนที่. | ซ้อน | ก. ทับกันขึ้นไป เช่น เอาจานซ้อนกัน เอาหนังสือซ้อนสมุด, เรียงเหลื่อมกัน เช่น ฟันซ้อน มะลิซ้อน, อาการที่นั่งพาหนะเรียงไปข้างหน้าหรือต่อท้าย เช่น นั่งซ้อนหลังวัวหรือควาย นั่งซ้อนหน้าจักรยาน นั่งซ้อนท้ายมอเตอร์ไซค์ | ตำรับ | (-หฺรับ) น. ตำราที่กำหนดไว้เป็นเฉพาะแต่ละเรื่องละราย เช่น ตำรับหอสมุดแห่งชาติ | นามสงเคราะห์ | สมุดรายชื่อพร้อมทั้งที่อยู่หรือที่ทำงานของบุคคล. | บรรณารักษ์ | (บันนารัก) น. บุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงานในห้องสมุด. | บรรณารักษศาสตร์ | (บันนารักสะสาด, บันนารักสาด) น. วิชาที่ว่าด้วยการบริหารห้องสมุด. | บัญชี | น. สมุดหรือกระดาษสำหรับจดรายการต่าง ๆ ไว้เป็นหลักฐาน เช่น บัญชีเงินสด บัญชีพัสดุ บัญชีพล บัญชีเรียกชื่อ. | ใบปก | น. กระดาษหรือผ้าหรือหนังเป็นต้นที่หุ้มอยู่ภายนอกสมุดหรือหนังสือเป็นต้น, ปก ก็เรียก. | ปก ๑ | น. กระดาษหรือผ้าหรือหนังเป็นต้นที่หุ้มอยู่ภายนอกสมุดหรือหนังสือเป็นต้น, ใบปก ก็เรียก | ปูม ๑ | น. จดหมายเหตุของโหร, เรียกสมุดบันทึกรายการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ เช่น เดินทางจากไหนถึงไหน วันที่เดินทาง จำนวนชั่วโมง ฯลฯ ว่า สมุดปูมเดินทาง. | เปิดบัญชี | ก. บันทึกรายการทรัพย์สิน หนี้สิน และทุนไว้ในสมุดเมื่อเริ่มเปิดดำเนินกิจการ | ไปรษณียนิเทศ | (ไปฺรสะนียะนิเทด, ไปฺรสะนีนิเทด) น. สมุดกฎข้อบังคับ คำสั่ง หรือประกาศว่าด้วยการไปรษณีย์ทั่วไป. | รองทรง | หนังสือสำคัญและสมุดไทยที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้เป็นการส่วนพระองค์ เช่น กฎหมายตรา ๓ ดวงฉบับรองทรง. | เล่ม | ลักษณนามสำหรับเรียกสิ่งของบางชนิดที่มีลักษณะยาวเรียวอย่างมีด หอก พาย เข็ม เช่น มีดเล่มหนึ่ง เข็ม ๒ เล่ม, ใช้เรียกเกวียนหรือสมุดหนังสือว่า เล่ม ด้วย เช่น เกวียน ๒ เล่ม หนังสือ ๓ เล่ม สมุด ๔ เล่ม. | วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. | สะบ้า | น. ชื่อไม้เถาชนิด Entada rheediiSpreng. ในวงศ์ Leguminosae ฝักมีเมล็ดกลมแบนแข็ง เรียกว่า ลูกสะบ้า ใช้ขัดสมุดไทยและทำยาได้, สะบ้ามอญ ก็เรียก | สิ่งพิมพ์ | น. สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน. | สุภาพชน | น. ผู้ที่แต่งกายเรียบร้อย, ผู้ที่มีกิริยามารยาทอ่อนโยน พูดจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ, เช่น สุภาพชนย่อมไม่ส่งเสียงดังในห้องสมุด. | หรดาลกลีบทอง | น. หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด เป็นแผ่นอัดแน่น หรือเป็นผง อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจำเพาะ ๓.๔๙ สีเหลือง เป็นมัน มีสูตรเคมี As2S3 ใช้ประโยชน์เป็นสารให้สีเหลือง ใช้เขียนลายรดนํ้า สมุดดำ เป็นต้น. | หอ | น. เรือนหรืออาคารซึ่งใช้เฉพาะกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หอพระ หอนั่ง หอสมุด | แห่ง | บ. ของ เช่น หอสมุดแห่งชาติ. | อนุทิน | น. สมุดบันทึกประจำวัน. | อัตราส่วน | น. เกณฑ์เปรียบเทียบปริมาณของของอย่างเดียวกันหรือต่างกัน เพื่อจะได้ทราบว่าปริมาณแรกเป็นเศษส่วนเท่าใดของปริมาณหลัง เช่น อัตราส่วนของนายแพทย์ ๑ คน ต่อประชาชน ๒๕๐ คน อัตราส่วนของนักศึกษา ๑ คน ต่อหนังสือในห้องสมุด ๕ เล่ม | อัตราส่วน | การเปรียบเทียบปริมาณที่เป็นของอย่างเดียวกัน เพื่อให้ทราบว่าปริมาณแรกเป็นกี่เท่าของปริมาณหลัง หรือเป็นเศษส่วนเท่าใดของปริมาณหลัง เช่น จำนวนผู้ใช้หนังสือในห้องสมุดกับจำนวนเจ้าหน้าที่ห้องสมุดบางแห่งคิดเป็นอัตราส่วน ๑๐๐ : ๑ ครูกับนักเรียนควรจะมีอัตราส่วนไม่เกิน ๑ : ๔๐. |
| | Integrated Library Systems | ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Accession book | สมุดทะเบียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | American Library Association | สมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Art library | ห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Fishery library | ห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Hospital library | ห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | School librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book mobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Branch library | ห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collection | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collection evaluation | การประเมินคุณค่าทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | College librarian | บรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dental library | ห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Identification page | หน้าประทับตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Interlibrary loan | การยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library | ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library administration | การบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library administrator | ผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library automation | ห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library building | อาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library patron | ผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library personnel | เจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library stamp | ตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Military library | ห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | National library | หอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Printed catalog | รายการบัตรของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Processing (Libraries) | งานเทคนิค (ห้องสมุด) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Public library | ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Public librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Traveling library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| All his notebooks, audiotapes, even his hard drive. | สมุดบันทึกทุกเล่มของเขา เทปอัด แม้แต่ฮาร์ดไดรฟ์ Basic Instinct (1992) | Welcome to the library. | ยินดีต้อนรับสู่ห้องสมุด. Hocus Pocus (1993) | That first afternoon he introduced himself on campus, he asked to borrow my notes. | ครั้งแรกตอนบ่ายนั้น ที่เขาเข้ามาแนะนำตัวเองตอนอยู่ในมหาวิทยาลัย เขามาขอยืมสมุดจดของฉัน The Joy Luck Club (1993) | Shawshank Prison library. | ห้องสมุด Shawshank เรือนจำ The Shawshank Redemption (1994) | How about expanding the library? Get some new books in there. | วิธีการเกี่ยวกับการขยายตัวของห้องสมุดหรือไม่ ได้รับหนังสือใหม่บางอย่างในการมี The Shawshank Redemption (1994) | Probably couldn't get a library card if he tried. | อาจจะไม่สามารถรับบัตรห้องสมุดถ้าเขาพยายาม The Shawshank Redemption (1994) | In response to your repeated enquiries, the State has allocated the enclosed funds for your library project." | ในการตอบสนองต่อการสอบถามข้อมูลซ้ำของคุณ รัฐได้จัดสรรเงินไว้สำหรับโครงการห้องสมุดของคุณ ". The Shawshank Redemption (1994) | "In addition, the Library District has generously responded with a charitable donation of used books and sundries. | "นอกจากนี้ห้องสมุดอำเภอได้ตอบสนองอย่างไม่เห็นแก่ตัว ด้วยการบริจาคการกุศลของการใช้หนังสือและของกระจุกกระจิก The Shawshank Redemption (1994) | Andy had transformed a storage room smelling of rat turds and turpentine into the best prison library in New England, complete with a fine selection of Hank Williams. | แอนดี้ได้เปลี่ยนห้องเก็บกลิ่นของ turds หนูและสน เป็นห้องสมุดเรือนจำที่ดีที่สุดในนิวอิงแลนด์ เสร็จสิ้นกับการเลือกที่ดีของแฮงค์วิลเลียมส์ The Shawshank Redemption (1994) | I also built that library and used it to help a dozen guys get a high school diploma. | ฉันยังสร้างห้องสมุดที่ และใช้มันเพื่อช่วยให้พวกโหลได้รับประกาศนียบัตรจากโรงเรียนสูง The Shawshank Redemption (1994) | Andy built a library. | แอนดี้สร้างห้องสมุด The Shawshank Redemption (1994) | But outside, all you need is the Yellow Pages. | แต่อยู่นอกทั้งหมดที่คุณต้องการคือสมุดหน้าเหลือง The Shawshank Redemption (1994) | Leave the bank book and the car keys... in the kitchen on your way out! | จะเอายังไง ทิ้งสมุดเช็คกับกุญแจรถ ตอนเธอออกไปด้วย จะไปมั้ย Heat (1995) | It was the library. | ที่นี่คือห้องสมุด The Great Dictator (1940) | - Ready in the library, sir. | - เตรียมไว้เเล้วที่ห้องสมุดครับท่าน Rebecca (1940) | I beg pardon, madam. I'm afraid the fire is not usually lit in the library until the afternoon. | ขออภัยด้วยครับ เเต่ปกติห้องสมุด จะไม่จุดไฟจนกว่าจะช่วงบ่าย Rebecca (1940) | Robert found these sketches in the library, madam. | โรเบิร์ตเจอภาพวาดพวกนี้ที่ห้องสมุดค่ะ Rebecca (1940) | I can look it up in my engagement diary if you like. | ผมไปดูในสมุดนัดให้ก็ได้ครับถ้าคุณต้องการ Rebecca (1940) | Save it for the library. | บันทึกไว้สำหรับห้องสมุด The Godfather (1972) | We've just come from the library. | เราออกมาจากห้องสมุด Clue (1985) | In the library. | ในห้องสมุดก่อนได้ไหม Clue (1985) | And I introduced myself to you as a butler, and I made across the hall to the library. | และผมแนะนำตัวเอง ว่าผมเป็นพ่อบ้าน และผมก็ผ่านห้องโถงไปยังห้องสมุด Clue (1985) | We locked him in the library. | เราล็อคเขาไว้ในห้องสมุด Clue (1985) | Then, in the dark, you got the lead pipe, and the rope, strangled Yvette, ran to the library, killed the cop, picked up the gun where Yvette dropped it, opened the front door, | จากนั้นท่ามกลางความมืดคุณหยิบท่อน้ำขึ้นมา และเอาเชือกรัดคออีเว็ตต์ วิ่งไปที่ห้องสมุดฆ่าตำรวจ หยิบปืนที่อีเว็ตต์ทิ้งไว้ Clue (1985) | Ran to the library, hit the cop on the head with the lead pipe. | วิ่งไปที่ห้องสมุด ตีหัวตำรวจด้วยท่อน้ำ Clue (1985) | Then, coming out of the library, the doorbell rang. It was a singing telegram. | จากนั้นออกจากห้องสมุด เสียงกริ่งประตูดังขึ้น เป็นคนร้องเพลงโทรเลข Clue (1985) | Miss Scarlet seized the opportunity and under cover of darkness, crossed to the library, where she hit the cop, whom she'd been bribing, on the head with a lead pipe. | คุณสการ์เล็ตฉวยโอกาสและ อยู่ในตอนที่มืดอยู่ เธอไปที่ห้องสมุด และตีตำรวจซึ่งเธอเคยติดสินบนอยู่ บนหัวด้วยท่อน้ำ Clue (1985) | Hiroshi, look. He still carries his scetchbook. | ฮิโรชิ นั่น เขาถือสมุดสเก็ตภาพ Ginî piggu: Manhôru no naka no ningyo (1988) | He used to go out everyday with his scetchbook. | เขาออกไปข้างนอกทุกวัน กับสมุดสเก็ตภาพ Ginî piggu: Manhôru no naka no ningyo (1988) | Even if you're under 15, if you get more than 50 penalty points on your record, you're sent to the regular courts! | ถึงแม้ว่าแกจะต่ำกว่า 15 ปี ถ้าสมุด ระเบียนมีการโทษมากกว่า 50 ครั้ง แกจะถูกส่งไปที่ศาลเด็ก Akira (1988) | ¶ In your book of memories | ในสมุดบันทึกของคุณ Punchline (1988) | So my brother would be down in the library studying and I would be upstairs in the attic | พี่ผมอ่านหนังสือในห้องสมุด... ...ส่วนผมจะอยู่ในห้องเพดาน... Punchline (1988) | Seventy percent of all archaeology is done in the library. | 70% ของโบราณคดี จากโบราณคดีที่สำรวจแล้ว อยู่ในห้องสมุด Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | I left your father working in the library. | ฉันปล่อยให้ พ่อของคุณอยู่ทำงานต่อในห้องสมุด Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The last time I saw your father, we were in the library. | ครั้งสุดท้ายที่ฉันเห็นพ่อของคุณ, เราอยู่ที่ห้องสมุด. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | Here is the library. | ที่นี่คือห้องสมุด. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | That doesn't look much like a library. | นั่น ดูไม่เหมือนห้องสมุด สักเท่าไหร่ Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The library's closing in a few moments. | ห้องสมุดจะปิดในอีกไม่กี่นาที Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | Dad wasn't looking for a book about the knight's tomb, he was looking for the tomb itself. | พ่อ.. ไม่ได้ตามหาสมุด ที่เกี่ยวกับ หลุมศพของอัศวิน, เขากำลังตามหา ตัวหลุมศพของอัศวิน... Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The tomb is somewhere in the library. | หลุมศพอยู่ตรงไหนสักแห่ง ในห้องสมุดนี้ Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | Through the library? | ผ่านทางห้องสมุด? Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | I will take the book now. | ตอนนี้, ฉันจะมาเอาสมุดแล้ว. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | What book? | สมุดอะไร? Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | This book contained a map, a map with no names, precise directions from the unknown city to the secret Canyon of the Crescent Moon. | สมุดนี่บรรจุแผนที่, แผนที่ที่ไม่ม่ชื่อ, บอกทิศทางของเมืองที่สูญหาย อย่างระเอียด ไปที่แคนยอนลึกลับ รูปพระจันทร์เสี้ยว Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | You came back for the book? | คุณกลับมาเพื่อสมุด? Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | What is in this book? | อะไรอยู่ในสมุด? Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The book is useless. | สมุดนั่น ไม่มีประโยขน์ Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | And yet you come all the way back to Berlin to get it. | และใช่ แกกลับไปเบอร์ลินเพื่อจะเอาสมุด Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | - What you talking about? - I saw her name in the register. | เธอพูดถึงอะไรเนี่ย ฉันเห็นชื่อมันในสมุดลงทะเบียน Goodfellas (1990) | Not in the phonebook. | ไม่ได้อยู่ในสมุดโทรศัพท์ The Young Indiana Jones Chronicles (1992) |
| บัตรห้องสมุด | [bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket FR: carte de lecteur [ m ] | ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] | ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] | ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] | หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] | หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] | หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] | เขียนลงในสมุด | [khīen long nai samut] (v, exp) FR: noter dans un cahier ; prendre des notes | สำนักหอสมุดกลาง | [samnak høsamut klāng] (n, exp) EN: central library | สมุด | [samut] (n) EN: book ; workbook ; notebook ; exercise book ; booklet FR: cahier [ m ] ; carnet [ m ] ; livret [ m ] | สมุดบัญชี | [samut banchī] (n, exp) EN: account book ; books of acount FR: livre comptable [ m ] ; livre de comptabilité [ m ] | สมุดบัญชีเงินสด | [samut banchī ngoensot] (n, exp) EN: cashbook | สมุดบันทึก | [samut bantheuk] (n, exp) EN: diary ; record book ; notebook FR: journal [ m ] ; agenda [ m ] ; carnet [ m ] | สมุดบันทึกสุขภาพ | [samut bantheuk sukkhaphāp] (n, exp) FR: carnet médical [ m ] | สมุดเช็ค | [samut chek] (n, exp) EN: chequebook ; checkbook FR: chéquier [ m ] ; carnet de chèques [ m ] | สมุดจด | [samut jot] (n, exp) FR: calepin [ m ] ; bloc-notes [ m ] | สมุดจดบันทึก | [samut jot bantheuk] (n) EN: notebook FR: cahier [ m ] | สมุดจดที่อยู่ | [samut jot thīyū] (n, exp) EN: address book FR: carnet d'adresses [ m ] | สมุดเก็บภาพ | [samut kep phāp] (n, exp) EN: album FR: album [ m ] | สมุดงาน | [samut ngān] (n, exp) EN: workbook | สมุดเงินฝาก | [samut ngoenfāk] (n, exp) EN: account book FR: livret d'épargne [ m ] | สมุดเงินสด | [samut ngoen sot] (n, exp) EN: cash book FR: livre des recettes [ m ] | สมุดโน้ต | [samut nōt] (n) EN: notebook FR: cahier [ m ] | สมุดภาพ | [samut phāp] (n, exp) EN: picture album ; photograph album ; picture book FR: album [ m ] ; album de photos [ m ] | สมุดพก | [samutphok] (n, exp) EN: school report ; report card ; school children's report book ; notebook FR: journal de classe [ m ] ; agenda [ m ] | สมุดรายวัน | [samut rāiwan] (n, exp) EN: journal | สมุดที่อยู่ | [samut thīyū] (n, exp) EN: address book FR: carnet d'adresses [ m ] | สมุดโทรศัพท์ | [samut thōrasap] (n, exp) EN: telephone book FR: annuaire téléphonique [ m ] ; bottin [ m ] | สมุดวาดเขียน | [samut wāt khīen] (n, exp) EN: drawing book ; drawing pad FR: cahier de dessin [ m ] | สมุดเยี่ยม | [samut yīem] (n, exp) EN: visitors book | ยืมหนังสือจากห้องสมุด | [yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library FR: emprunter un livre à la bibliothèque |
| album | (n) สมุดเปล่า (สำหรับใส่รูป, แสตมป์หรือสิ่งอื่นๆ), See also: อัลบั้ม, Syn. collection | almanac | (n) ปฏิทินโหราศาสตร์, See also: ปฏิทินร้อยปี, สมุดปฏิทินโหร, Syn. calendar, yearbook | atlas | (n) หนังสือแผนที่, See also: สมุดแผนที่, Syn. book of maps | bankbook | (n) สมุดเงินฝากของธนาคาร, Syn. passbook | bookmobile | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่, Syn. mobile library | brochure | (n) แผ่นพับสำหรับโฆษณา, See also: สมุดหรือหนังสือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า มีภาพประกอบ, Syn. booklet | call number | (n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด | cashbook | (n) สมุดบัญชีเงินสด | catalog | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, Syn. catalogue | catalogue | (n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, See also: แค็ตตาล็อก, Syn. catalog | charge | (vt) ยืม (หนังสือ), See also: ยืมหนังสือจากห้องสมุด, Syn. borrow | charge | (vt) ลงบันทึกการยืม, See also: ลงบันทึกการยืมหนังสือ จากห้องสมุด | delivery room | (n) ห้องยืมคืนหนังสือ (ในห้องสมุด) | diary | (n) สมุดบันทึก, See also: ไดอารี่, บันทึกประจำวัน, Syn. memoir, biography, daybook | directory | (n) สมุดรายนาม, See also: สมุดรายชื่อ, Syn. list, catalogue, file, register | lib | (abbr) ห้องสมุด (คำย่อของ library) | library | (n) ห้องสมุด, See also: หอสมุด, หอเก็บหนังสือ | Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในรัฐวอชิงตัน | mobile library | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ | notebook | (n) สมุด, See also: สมุดบันทึก, Syn. note pad, memorandum book | pad | (n) สมุดฉีก, Syn. note paper, memorandum | passbook | (n) สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร, Syn. bankbook, account book | phone book | (n) สมุดโทรศัพท์ | planner | (n) สมุดจดบันทึกตารางเวลา | register | (n) สมุดลงทะเบียน, Syn. account book, cartulary | rogues' gallery | (n) สมุดรวบรวมรูปภาพของอาชญากร | swindle sheet | (sl) สมุดบัญชี | scrapbook | (n) สมุดติดรูปหรือข่าวที่ตัดมาจากสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ, See also: สมุดเก็บภาพหรือรูป, อัลบั้มรูป, Syn. memorabilia, notebook, portfolio | scratch pad | (n) สมุดฉีก | scratch paper | (n) กระดาษจดบันทึกเล็กๆ น้อยๆ, See also: สมุดฉีก | sketchbook | (n) สมุดหรือกระดาษที่ใช้ทำโครงร่าง, Syn. sketchpad | sketchpad | (n) สมุดหรือกระดาษที่ใช้ทำโครงร่าง, Syn. sketchbook | stack | (n) หิ้วหนังสือในห้องสมุด, Syn. bookshelf | tablet | (n) สมุดฉีก, Syn. folder, pad, sheets | telephone directory | (n) สมุดโทรศัพท์, See also: telephone book | white paper | (n) เอกสารหรือรายงานทางราชการ, See also: สมุดปกขาว |
| album | (แอล' บัม) n. สมุดหน้าเปล่าสำหรับเก็บภาพแสตมป์หรืออื่น ๆ , แผ่นเสียงขนาดใหญ่, ชุดแผ่นเสียง, สมุดลงนามของผู้มาเยี่ยม | athenaeum | (แอธธินี'อัม) n. สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้, ห้องสมุด., Syn. atheneum | atlas | (แอท'เลิส) n., (pl. atlases, atlantes) สมุดแผนที่, ชุดรวมแผนภาพและตาราง, กระดูกสันหลังส่วนคอที่ค้ำศีรษะ, ชื่อเทพเจ้ากรีกที่ค้ำฟ้าอยู่, คนที่แบกภาระหนักมาก, ชื่อขีปนาวุธขนาดยักษ์ของอเมริกา (book of maps) | bank book | n. สมุดเงินฝากธนาคาร | black book | n. สมุดรายชื่อคนที่ต้องได้รับโทษ, สมุดรายชื่อคนที่มีความผิด | blank book | n. สมุดที่ว่างเปล่า | boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช | bookplate | n. ป้ายชื่อเจ้าของหนังสือหรือห้องสมุดที่ติดกับหนังสือ | carrel | n. โต๊ะอ่อนหนังสือเล็ก ๆ ที่เป็นเอกเทศในห้องสมุด | carrell | n. โต๊ะอ่อนหนังสือเล็ก ๆ ที่เป็นเอกเทศในห้องสมุด | cartulary | n. สมุดเอกสารสัญญา, หนังสือบันทึกสัญญา | cashbook | n. สมุดบันทึกการจ่ายเงินและการนับเงิน, บัญชีเงินสด | cd-rom | (ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง | checkbook | n. สมุดเช็ค | compact disk | ใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง | copybook | (คอพ'พีบุค) n. สมุดสำหรับลอกแบบ | da | 1. abbr. dopamine 2. (ดีเอ) ย่อมาจาก desk accessory (แปลว่า เครื่องใช้อำนวยความสะดวก) มีอยู่ในเครื่องแมคอินทอช หมายถึง โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ เช่น เครื่องคิดเลข สมุดโน้ต นาฬิกา โปรแกรมเหล่านี้สามารถเรียกมาใช้ได้ แม้ในขณะที่ทำโปรแกรมอื่นอยู่ ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์ ก็มีกลุ่มโปรแกรมที่ชื่อ Accessories ซึ่งมีโปรแกรมอรรถประโยชน์ในลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น มีเครื่องคิดเลข นาฬิกา สมุดโน้ต ปฎิทิน มีโปรแกรมที่จำเป็น เช่น ประมวลผลคำ (word processing) และ โปรแกรมวาดภาพ ฯลฯ | diarise | vt. บันทึก (ลงในสมุดบันทึกประจำวัน) | diarize | vt. บันทึก (ลงในสมุดบันทึกประจำวัน) | laptop | ขนาดวางตัก <คำแปล>แล็ปทอป <คำแปล>ใช้บอกขนาดของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ที่มีขนาดเล็กจนวางบนตักได้ในขณะใช้ ปัจจุบัน นิยมเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนี้ว่า ขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) เพราะสามารถนำติดตัวไปไหนมาไหนได้เหมือนสมุดบันทึก มีน้ำหนักน้อย และทำได้บางลงมาก | library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ | library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด | library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน | magnetic ink | หมึกแม่เหล็กเป็นหมึกพิเศษชนิดหนึ่ง มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยหมึกชนิดนี้ได้ และจะแยกได้ว่ามีข้อความใดบ้าง โดยใช้คุณสมบัติของแม่เหล็ก หมึกแม่เหล็กชนิดนี้ มักใช้พิมพ์ในกิจการธนาคาร เช่น เลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค หรือแบบฟอร์มเบิกเงิน เป็นต้น | magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น | manual | (แมน'นวล) adj. เกี่ยวกับมือ, ด้วยมือ, ทำด้วยมือ, เกี่ยวกับหัตถกรรม, เกี่ยวกับคู่มือ. n. สมุดคู่มือ, See also: manually adv. | micr | (เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น | notebook | (โนทฺ'บุค) n. สมุดบันทึก | notebook computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโล กรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notepad computer | notepad | สมุดพกเป็นโปรแกรมหนึ่งในประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ในระบบวินโดว์ (ในแมคอินทอชก็มี) เป็นโปรแกรมที่ทำให้สามารถบันทึกโน้ตย่อ หรือ เรื่องราวสั้น ๆ เก็บไว้ และจะเรียกมาดูได้ตลอดเวลา แม้ว่าในขณะนั้นจะใช้โปรแกรมอื่นอยู่ (เหมือนกระดาษทด) | notepad computer | คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดพกโน้ตแพดคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก บางทีเรียกขนาดสมุดโน้ต หรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี น้ำหนักไม่ถึง 1 กิโลกรัม ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมมากมีความหมายเหมือน notebook computer | palmtop computer | คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพียงเท่าฝ่ามือ เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) หรือ ขนาดสมุดโน้ต (notebook) แต่ก็มีลักษณะของคอมพิวเตอร์ครบถ้วนกล่าวคือ มีทั้งหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ และหน่วยแสดงผล | passbook | (พาส'บุค) n. สมุดฝากและถอนเงินของธนาคาร | patent rolls | n. สมุดจดทะเบียนสิทธิบัตร | pc | พีซีส่วนบุคคลย่อมาจากคำว่า personal computer (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป ดู microcomputer ประกอบ | personal computer | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใช้ตัวย่อว่า PC (อ่านว่า พีซี) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป แต่ในบางครั้งนำมาใช้หมายถึงเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม หรือประเภทเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เพื่อให้เห็นแตกต่างระบบแมคอินทอช | prayer book | n. หนังสือสวดมนต์, สมุดทำวัตร | register | (เรจ'จิสเทอะ) n. การลงทะเบียน, ทะเบียน, สมุดทะเบียน, เจ้าหน้าที่ทะเบียน, บันทึก, เครื่องบันทึก, เครื่องรับจ่ายเงินสดโดยอัตโนมัติ (หรือcash register) , การทาบกันของกระบวนการพิมพ์สอดสี vt. บันทึก, See also: registrable adj. registerable adj. | registration | (เรจจิสเทร'เชิน) n. การจดทะเบียน, การลงทะเบียน, สมุดจดทะเบียน, วิธีการพิมพ์สอดสีให้เข้ากัน, See also: registrational adj. | registry | (เรจ'จิสทรี) n. การลงทะเบียน, การจดทะเบียน, การขึ้นทะเบียน, สำนักงานทะเบียน, สำนักงานจดทะเบียน, สัญชาติเรือสินค้าที่จดทะเบียนไว้, สมุดจดทะเบียน, รายละเอียดของทะเบียนที่จดไว้ | roll | (โรล) vi., vt. ม้วน, มวน, กลิ้ง, กลอก, บด, หมุน, คลึง, ผ่านพ้นไป, หัน, พเนจร, ออกเดินทาง, เริ่มปฏิบัติการ, ดำเนินการ, ทำให้หมุน, ห่อ, พับ, ใส่หมึกเข้าที่ลูกกลิ้ง, ปล้น, ชิงทรัพย์ n. เอกสารที่ม้วน, มวนบุหรี่, สมุดรายชื่อ, บัญชีหางว่าว, ทะเบียน, ลูกโม่, ลูกรอก, เพลากลิ้ง, เครื่องลูกกลิ้ง | scrapbook | (สแครพ'บุค) n. สมุดติดรูป, ข่าวที่ตัดมาจากหน้าหนังสือพิมพ์และอื่น ๆ | scratch paper | n. เศษกระดาษสำหรับจดบัน-ทึกเล็ก ๆ น้อย ๆ , สมุดฉีก | scroll | (สโครล) n. ม้วนกระดาษหรือหนัง (โดยเฉพาะที่มีคำจารึก) , รายกาย, สมุดรายชื่อ, บัญชีหางว่าว, สิ่งที่เป็นรูปขดม้วน, ส่วนที่เป็นปลายขดม้วน, หัวรูปขดม้วน, ลายขดม้วน | sketchbook | n. สมุดร่างภาพ, สมุดสำหรับเขียนหวัด ๆ , สมุดบทความสั้น ๆ | tablet | (แทบ'ลิท) n. ยาเม็ดแบน, ป้าย, แผ่นหนังสือ, แผ่นจารึก, สมุดฉีก, สมุดบันทึก, แผ่นเล็ก, ก้อนแบน, Syn. pad, wafer | tickler | (ทิค'เคลอะ) n. ผู้ทำให้ (จั๊กจี้, คัน, ขัน) , ผู้ยั่ว, ผู้ยั่วเย้า, สิ่งที่ทำให้ (จั๊กจี้, คัน, ขัน) , บัน-ทึกความทรงจำ, สมุดบันทึก, ปัญหายุ่งยาก, ขดลวดเพิ่มกำลังรับสัญญาณของขั้วจอหรือวิทยุ | workbook | (เวิร์ค'บุค) n. หนังสือคู่มือการทำงาน, สมุดบันทึกการทำงาน, สมุดบันทึก | yellow pages | n. สมุดโทรศัพท์ฉบับโฆษณาสินค้า |
| album | (n) อัลบั้มรูป, สมุดใส่รูป | annals | (n) สมุดบันทึกเหตุการณ์ประจำปี, หนังสือประจำปี | atlas | (n) สมุดแผนที่ | bibliotheca | (n) ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ | blotter | (n) กระดาษซับหมึก, สมุดบันทึกเหตุการณ์ | book | (n) หนังสือ, ตำรา, สมุด, คัมภีร์ | bookmobile | (n) ห้องสมุดเคลื่อนที่ | catalog | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า | catalogue | (n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า | copybook | (n) สมุดลอกแบบ, สมุดคัดลายมือ | diary | (n) อนุทิน, สมุดบันทึกประจำวัน, สมุดไดอารี | journal | (n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร | library | (n) หอสมุด, ห้องสมุด | notebook | (n) สมุดบันทึกข้อความ | scrapbook | (n) สมุดปิดภาพ | scroll | (n) บัญชีหางว่าว, ม้วนกระดาษ, สมุดรายชื่อ, รายการ | sketchbook | (n) สมุดโครงเรื่อง, สมุดร่าง | tablet | (n) แผ่นจารึก, ยาเม็ด, ป้าย, สมุดฉีก, สมุดแฟ้ม, สมุดบันทึก | terrier | (n) สุนัขล่าเนื้อชนิดหนึ่ง, สมุดทะเบียนที่ดิน | tome | (n) หนังสือเล่มโต, สมุด |
| diptych | งานศิลปะแบบหนึ่งที่ประกอบด้วยแผ่นแกะสลักสองแผ่นซึ่งสามารถพับได้, กระดานเขียนโบราณ มีสองแผ่น สามารถพับได้, สมุดที่หน้าหนึ่งจารึกชื่อคนตาย อีกหน้าคือนักบวชและผู้มีพระคุณในโบสถ์ที่ล่วงลับไปแล้ว | interlibrary loan | ระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด | Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในเขตที่ตั้งรัฐบาลวอชิงตัน ดี.ซี. | logbook | สมุดปูมเรือ เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ และรายละเอียดต่าง ๆ ในการเดินเรือไว้ ตามลำดับเวลา | passbook | สมุดคู่ฝาก |
| 記帳 | [きちょう, kichou] (n) การจดลงสมุดบันทึก, การลงบันทึกเอาไว้, See also: R. きろく | ノート | [のうと, nouto, nouto , nouto] (n) สมุด, สมุดบันทึก | 手帳 | [てちょう, techou, techou , techou] (n) สมุดพก(ติดตัว) | 図書館 | [としかん, toshokan, toshikan , toshokan] (n) ห้องสมุด | 仕訳帳 | [しわけちょう, shiwakechou] สมุดรายวันขั้นต้น | 元帳 | [もとちょう, motochou] สมุดบัญชีแยกประเภท |
| ノート | [のーと, no-to] TH: สมุดบันทึก บันทึก EN: notebook | ノート | [のーと, no-to] TH: สมุดแบบฝึกหัด EN: exercise book | 家計簿 | [かけいぼ, kakeibo] TH: สมุดบัญชีบันทึกค่าใช้จ่ายในครอบครัว EN: household account book |
| jedenfalls | อย่างน้อยที่สุด เช่น Die Stadtbücherei ist sehr gut. Jedenfalls bin ich seit ca. 5 Jahren ihr Mitglied. ห้องสมุดประจำเมืองดีมากเลย อย่างน้อยที่สุดฉันเป็นสมาชิกมาเกือบห้าปีแล้ว, See also: zumindest, Syn. wenigsten | einschreiben | (vi) |schrieb ein, hat eingeschrieben| เขียนลง (ในสมุด), See also: eintragen | Sparbuch | (n) |das, pl. Sparbücher| สมุดบัญชีออมทรัพย์ | Telefonbuch | (n) |das, pl. Telefonbücher| สมุดโทรศัพท์ |
| bibliothèque | (n) |f| ห้องสมุด เช่น La bibliothèque de l’école dispose d’une collection d’environ 350, 000 volumes. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |