Search result for

*ศักย์ไฟฟ้า*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ศักย์ไฟฟ้า, -ศักย์ไฟฟ้า-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ขั้วบวกน. ขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอีกขั้วหนึ่ง.
ขั้วลบน. ขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าตํ่ากว่าอีกขั้วหนึ่ง.
สายดินน. สายตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้าให้เชื่อมกับพื้นโลก โดยประสงค์ให้จุดนั้น ๆ มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าของโลก.
เหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าน. ปรากฏการณ์ซึ่งมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเนื่องจากอำนาจแม่เหล็ก, เรียกกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอำนาจแม่เหล็ก ว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ, เรียกเครื่องมือสำเร็จที่ใช้สำหรับเปลี่ยนศักย์ไฟฟ้าให้มีค่าสูงขึ้นมาก ๆ โดยอาศัยอำนาจแม่เหล็ก ว่า ขดลวดเหนี่ยวนำ.
โอห์มน. หน่วยวัดความต้านทาน ใช้สัญลักษณ์ Ω ความต้านทาน ๑ โอห์ม คือ ความต้านทานระหว่างจุด ๒ จุดบนตัวนำ ซึ่งเมื่อจุดคู่นี้มีความต่างศักย์ไฟฟ้า ๑ โวลต์แล้ว จะทำให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ๑ แอมแปร์.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Electron voltอิเล็กตรอนโวลต์, หน่วยหนึ่งของพลังงานหรืองาน 1 อิเล็กตรอนโวลต์ คือ พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้าขนาด 1 โวลต์ มีค่าเท่ากับ 1.603 x 10<sup>-12</sup> เอิร์ก [นิวเคลียร์]
Van de Graaff generatorเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474, Example: [นิวเคลียร์]
Van de Graaff acceleratorเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474 [นิวเคลียร์]
Action Potential Periodระยะเวลาที่เกิดศักย์ไฟฟ้า [การแพทย์]
Action Potentialsศักย์ขณะทำงาน, ศักย์ไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้าขณะทำงาน, ศักย์ในการทำงาน, กระแสไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้าขณะกำลังทำงาน, ศักย์ไฟฟ้าขณะทำงาน [การแพทย์]
Action Potentials, Compoundศักย์ไฟฟ้าขณะทำงานผสม [การแพทย์]
Bioelectric Potentialsศักย์ไฟฟ้า2ขั้ว [การแพทย์]
Depolarization, Localการเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้าเฉพาะที่ [การแพทย์]
Electrical Potentialsศักย์ทางไฟฟ้า, ความต่างศักย์ไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้า, ความแตกต่างในศักย์ไฟฟ้า [การแพทย์]
Electrochemical Potentialsศักยภาพทางเคมีไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้าเคมี [การแพทย์]
Electrode Potentialsศักย์ไฟฟ้าอีเล็คโตรด [การแพทย์]
standard electrode [ reference electrode ]ขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่กำหนดขึ้นให้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ต่าง ๆ บางครั้งเรียกว่าขั้วไฟฟ้าอ้างอิง  เช่น ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ขั้วไฟฟ้าคาโลเมลอิ่มตัว เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
standard hydrogen electrodeขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์อื่น ๆ โดยกำหนดค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์นี้ให้เท่ากับศูนย์โวลต์ ขั้วไฟฟ้านี้ประกอบ ด้วยแผ่นแพลทินัมบาง ๆ ที่เคลือบด้วยแพลทินัมแบลก จุ่มอยู่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1  mol/d [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
half-cell potential [ electrode potential ]ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์, ความต่างศักย์ที่อ่านได้เมื่อนำครึ่งเซลล์หนึ่งต่อกับอีกครึ่งเซลล์หนึ่งที่ถือว่าศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
standard half cell potentialศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน, ความต่างศักย์ที่ได้จากการนำครึ่งเซลล์หนึ่ง ๆ ซึ่งมีความเข้มข้นของไอออนในสารละลาย 1 mol/dm3 อุณหภูมิ 25oC และถ้าเป็นแก๊สให้มีความดัน 1 atm  มาต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ซึ่งใช้เป็นครึ่งเซลล์มาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบใช้สัญลักษณ์ Eo [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
induction coilขดลวดเหนี่ยวนำ, อุปกรณ์ที่ใช้เพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้สูงขึ้นโดยอาศัยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของขดลวดไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
positive electrodeขั้วไฟฟ้าบวก, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าลบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
capacitanceความจุ, สมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้าของตัวนำหรือตัวเก็บประจุ มีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างจำนวนประจุไฟฟ้าบนตัวนำหรือตัวเก็บประจุกับความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวนำหรือตัวเก็บประจุนั้น  ใช้สัญลักษณ์ C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
potential differenceความต่างศักย์, โดยทั่วไปหมายถึงความต่างศักย์ไฟฟ้า  (ดู electric potential difference) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
electric potential differenceความต่างศักย์ไฟฟ้า, ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในสนามไฟฟ้าหรือในวงจรไฟฟ้า เป็นงานที่ทำในการเคลื่อนประจุบวก 1 หน่วยจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
stopping potential differenceความต่างศักย์หยุดยั้ง, ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่พอดีทำให้โฟโตอิเล็กตรอนในหลอดสุญญากาศหยุดเคลื่อนที่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
thermocoupleคู่ควบความร้อน, คู่ควบความร้อน อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ โดยใช้หลักความแตกต่างของอุณหภูมิที่ปลายซึ่งต่อกันทั้ง 2 ข้างของโลหะตัวนำ 2 ชนิด ทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
potential dividerตัวแบ่งศักย์, ความต้านทานที่ถูกต่อในวงจรไฟฟ้าเพื่อแบ่งความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรนั้นออกเป็นความต่างศักย์ย่อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ballastบัลลาสต์, อุปกรณ์ในวงจรหลอดฟลูออเรสเซนซ์ ทำหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าเพื่อจุดหลอดฟลูออเรสเซนซ์ ประกอบด้วยขดลวดตัวนำหุ้มฉนวนพันอยู่บนแกนเหล็ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
sparkประกายไฟฟ้า, ปรากฏการณ์ที่ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง เช่น อากาศหรือฉนวนไฟฟ้า ระหว่างจุด 2 จุดที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง เกิดจากการเสื่อมสภาพเป็นฉนวนอย่างฉับพลันของตัวกลางนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Electrical energyพลังงานไฟฟ้า, พลังงานรูปหนึ่งที่สัมพันธ์กับตำแหน่งของประจุไฟฟ้าที่อยู่ในสนามไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า Q วางอยู่ ณ จุดหนึ่ง มีศักย์ไฟฟ้า V จะมีพลังงานไฟฟ้า QV [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
faradฟารัด, หน่วยของความจุไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ F โดยกำหนดว่าความจุไฟฟ้า 1 ฟารัด คือค่าความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ ซึ่งถ้ามีการถ่ายโอนประจุระหว่างแผ่นตัวนำทั้งสองในตัวเก็บประจุปริมาณ 1 คูลอมบ์ จะทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
electromotive force [ e.m.f. ]แรงเคลื่อนไฟฟ้า (ร.ค.ฟ.), พลังงานที่แหล่งกำเนิดไฟฟ้าให้ต่อหนึ่งหน่วยประจุไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ผ่านแหล่งกำเนิดนั้น โดยทั่วไปแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าใกล้เคียงความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้า หรือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขณะที่วงจรเปิด ใช้ตัวย่อว่า e.m.f. แทนด้วยสัญลักษณ์ E  มีหน่ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Vโวลต์, สัญลักษณ์ของหน่วยความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า  ดู volt [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
voltโวลต์, หน่วยของความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ V โดยกำหนดว่า 1 โวลต์ คือ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง 2 จุด บนตัวนำที่มีกระแสขนาด 1 แอมแปร์ผ่าน ทำให้เกิดกำลัง 1 วัตต์ระหว่าง 2 จุดนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
voltmeterโวลต์มิเตอร์, อุปกรณ์ที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดในวงจร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
electric potentialศักย์ไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใด หมายถึงงานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าบวก 1 หน่วย  ผ่านสนามไฟฟ้าจากระยะอนันต์หรือจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์มายังจุดนั้น ศักย์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
equipotential lineเส้นสมศักย์, เส้นที่ต่อจุดต่าง ๆ ที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันในสนามไฟฟ้า เส้นสมศักย์ตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้าเสมอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
anodeแอโนด, 1. ขั้วไฟฟ้าที่มีปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าลบในเซลล์กัลวานิก หรือเป็นขั้วไฟฟ้าบวกในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. ขั้วไฟฟ้าซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นภายในระบบ เช่น หลอดวิทยุชนิดไดโอดเป็นขั้วซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าบวกเมื่อเทียบกับแคโทด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ohmโอห์ม, หน่วยวัดความต้านทานไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์   W  โดยกำหนดว่าความต้านทานไฟฟ้า 1 โอห์ม คือความต้านทานของตัวนำซึ่งมีปลายทั้งสองต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์ แล้วมีกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนำนั้น 1 แอมแปร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
earth [ ground ]สายดิน, การต่อสายไฟฟ้าลงดิน ตำแหน่งที่ต่อสายไฟฟ้าลงดินในวงจรไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
negative electrodeขั้วไฟฟ้าลบ, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าบวก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
electric resistanceความต้านทานไฟฟ้า, สมบัติอย่างหนึ่งของตัวนำที่จะต้านกระแสไฟฟ้า ถ้าตัวนำนั้นยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้ดีเรียกว่าตัวนำนั้นมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย หรือเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำมีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของตัวนำกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Generator Potentialsศักย์ไฟฟ้าของตัวรับ [การแพทย์]
Generators, High Tensionหน่วยสร้างศักย์ไฟฟ้าแรงสูง [การแพทย์]
Local Potentialsศักย์ไฟฟ้าเฉพาะที่ [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ความต่างศักย์ไฟฟ้า[khwām tāng sak faifā] (n, exp) EN: electrical potential differenc
ศักย์ไฟฟ้า[sak faifā] (n, exp) EN: electric potential

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
potential difference(n) ความแตกต่างของขั้วไฟฟ้า, See also: ศักย์ไฟฟ้า, Syn. voltage

German-Thai: Longdo Dictionary
Spannungsmesser(n) |der, pl. Spannungsmesser| เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า, Syn. Voltmeter

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top