|
| คุ้มครอง | ก. ป้องกันรักษา, ระวังรักษา, ปกป้องรักษา. | ดู | ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี | ทะนุถนอม, ทะนุกถนอม | ก. คอยระวังรักษา, คอยประคับประคอง. | ปกครอง | ก. ดูแล, คุ้มครอง, ระวังรักษา | รักษาศีล | ก. ระวังรักษาตนไม่ให้ประพฤติผิดศีล. | แวดล้อม | ก. เฝ้าระวังรักษาอยู่โดยรอบ เช่น ตำรวจแวดล้อมบุคคลสำคัญ ผู้มีอำนาจไปไหนก็มีมือปืนแวดล้อม | ห้อม ๑ | ระวังรักษา เช่น คนผู้ดังนี้ คือว่าพระราชภักดีจักช่อยห้อมบ้านห้อมเมือง (จารึกหลักที่ ๓๘ ประชุมพงศ. ภาค ๓). | อนุบาล | ก. ตามเลี้ยงดู, ตามระวังรักษา. | อนุบาล | ว. ที่คอยตามเลี้ยงดู, ที่คอยตามระวังรักษา, เรียกโรงเรียนที่สอนเด็กที่มีอายุระหว่าง ๓ ขวบครึ่ง ถึง ๗ ขวบ ว่า โรงเรียนอนุบาล, เรียกครูที่สอนโรงเรียนอนุบาล ว่า ครูอนุบาล, เรียกนักเรียนโรงเรียนอนุบาล ว่า นักเรียนอนุบาล |
| Preservation | การระวังรักษาทรัพยากรห้องสมุด, Example: Preservation หมายถึง การระวังรักษาทรัพยากรห้องสมุด ได้แก่ วัสดุสิ่งพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ ให้ปลอดภัยจากศัตรู เช่น ปลวก แมลง การทำลายของสภาพแวดล้อม ตลอดจนการใช้ของมนุษย์ที่เป็นสาเหตุให้หนังสือชำรุด โดยการดูแลรักษาและการทำให้ทรัพยากรห้องสมุดอยู่ในสภาพเรียบร้อย แข็งแรง ทนทาน สามารถใช้งานได้นาน และไม่ชำรุดก่อนถึงเวลาอันควร <p> ในด้านทรัพยากรห้องสมุดประเภทวัสดุสิ่งพิมพ์ เนื่องจากหนังสือเป็นวัสดุสารนิเทศสำคัญยิ่งของห้องสมุด ดังนั้น ห้องสมุดจำเป็นต้องรักษาหนังสือให้อยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ที่สุด โดยทั่วไปหนังสือมักจะเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา และเมื่อมีการให้บริการหนังสือ การชำรุดเสียหายก็ย่อมเกิดขึ้นก่อนเวลาอันสมควร ดังนั้น การระวังรักษาหนังสือจึงเป็นหน้าที่ของบรรณารักษ์ที่จะต้องให้ความสำคัญดูแลแก้ไข ตลอดจนศึกษาหาความรู้ในเรื่องดังกล่าว เพื่อหาวิธีป้องกัน และสามารถซ่อมแซมสิ่งพิมพ์ที่ชำรุดได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้สามารถใช้หนังสือไปได้ยาวนาน การระวังรักษาหนังสือ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้ <p> 1. การป้องกัน อาจทำได้ดังนี้ <p> 1.1 แนะนำการใช้หนังสืออย่างถูกวิธีแก่ผู้ใช้ <p> 1.2 เลือกหนังสือที่ผลิตจากวัสดุที่มีคุณภาพ และเข้าเล่มแข็งแรง ทนทาน <p> 1.3 หนังสือจัดหามาใหม่ควรเสริมให้แข็งแรงก่อนนำออกบริการด้วยการเย็บสัน หุ้มสัน หุ้มปกพลาสติก หนังสือปกอ่อนควรทำปกแข็ง โดยเฉพาะหนังสืออ้างอิง หรือหนังสือที่มีคุณค่า ราคาแพง <p> 2. การซ่อมแซม เป็นการซ่อมแซมหนังสือที่ชำรุดให้อยู่ในสภาพที่เรียบร้อย สามารถนำออกบริการได้อีก หนังสือที่ชำรุดเล็กน้อยควรรีบซ่อมก่อนให้บริการ <p> การระวังรักษาวัสดุไม่ตีพิมพ์ ห้องสมุดต้องมีวิธีบำรุงรักษาด้วยการจัดเก็บและจัดระบบบริการให้เหมาะสมสำหรับวัสดุแต่ละชนิด เพื่อให้มีความปลอดภัย คงทน ถาวร อาจทำได้ดังนี้ <p> 1. วัสดุไม่ตีพิมพ์จำเป็นต้องจัดเก็บในที่ที่มีอุณหภูมิและความชื้นเหมาะสม <p> 2. ควรจัดเก็บวัสดุไม่ตีพิมพ์ให้ห่างจากแสงแดดและแหล่งกำเนิดความร้อน เช่น เครื่องเสียง <p> 3. ควรอ่านคู่มือการใช้ หรือศึกษาวิธีการใช้วัสดุไม่ตีพิมพ์แต่ละประเภทให้เข้าใจก่อนการใช้ทุกครั้ง เพื่อให้สามารถใช้ได้อย่างถูกต้อง และถนอมรักษาวัสดุนั้นๆ ให้มีอายุการใช้งานยืนยาวต่อไป <p> 4. ควรใช้วัสดุทุกประเภทด้วยความระมัดระวัง และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด เช่น ไม่จับต้องส่วนที่บันทึกข้อมูล เพื่อป้องกันการเสียหาย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Balances, Protecting | การระวังรักษาเครื่องชั่ง [การแพทย์] | Humidity (Preservation) | ความชื้น (การระวังรักษาหนังสือ), Example: ความชื้น (Humidity) หมายถึง จำนวนของไอน้ำที่มีในอากาศ ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity) คือน้ำหนัก (มวล) ของไอน้ำในอากาศในปริมาณที่กำหนดมักจะแสดงเป็นกรัมของน้ำต่อลูกบาศก์เมตรของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative humidity) เป็นอัตราส่วนของปริมาณน้ำในปัจจุบันไอในปริมาณของอากาศที่กำหนดกับปริมาณที่ต้องการเพื่อเข้าถึงความอิ่มตัว (ควบแน่นเป็นหยดน้ำ) ที่อุณหภูมิเดียวกันโดยแสดงเป็นเปอร์เซ็นต์ ความชื้นสัมพัทธ์จะแตกต่างกับอุณหภูมิและความดันอากาศ ความชื้นเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการมีอายุยืนยาวของกระดาษ ทั้งนี้การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับ หนังสือและรายการวัสดุสารนิเทศอื่น ๆ ที่ทำจากกระดาษควรคำนึงถึงความชื้นด้วย ถ้าอากาศมีความชื้นสูงจะเป็นตัวเร่งให้กระดาษเสื่อมสภาพเร็วขึ้น และนำไปสู่การเกิดตัวแมลงและแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ แต่ถ้าอากาศมีความชื้นต่ำเกินไปจะทำให้กระดาษแห้งกรอบ จากการศึกษาพบว่าหนังสือส่วนมากจะอยู่ได้นานที่สุด ถ้าจัดเก็บในสถานที่ที่มีอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 40 – 50 สำหรับหนังสือที่หุ้มด้วยปกหนังต้องการอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ที่มากกว่านี้ คือ ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 45 – 55 แต่ถ้ามีความจำเป็นอาจจัดเก็บในที่ที่มีอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ใกล้เคียงกับร้อยละ 50 ก็ได้ เชื้อราจะกลายเป็นปัญหาที่ร้ายแรงเมื่ออากาศมีความชื้นสัมพัทธ์เกินร้อยละ 70 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | care | (n) การดูแล, ความระมัดระวัง, การเอาใจใส่, ความกังวล, การระวังรักษา | care | (vi) เป็นห่วง, ดูแล, เอาใจใส่, ระวังรักษา, กังวล, รัก, ชอบ | careful | (adj) ระมัดระวัง, ระวังรักษา, ดูแล, เอาใจใส่ | carefulness | (n) ความระมัดระวัง, การระวังรักษา, การดูแล, ความเอาใจใส่ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |