|
| กลาโหม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ | สรรพสามิต | (สับพะ-, สันพะ–) น. อากรที่เก็บจากสิ่งประดิษฐ์และผลิตขึ้นภายในประเทศ เรียกว่า อากรสรรพสามิต. | หัวใน | ว. ที่มีความคิดแบบไทย, ที่นิยมของที่ผลิตภายในประเทศ. |
| | Irradiated food | อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์] | Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] | Domestic terrorism | การก่อการร้ายภายในประเทศ [TU Subject Heading] | Economic assistance, Domestic | ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจภายในประเทศ [TU Subject Heading] | Internally displaced persons | ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ [TU Subject Heading] | Local service airlines | สายการบินภายในประเทศ [TU Subject Heading] | Migration, Internal | การย้ายถิ่นภายในประเทศ [TU Subject Heading] | Gross Domestic Product (GDP) | ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ, Example: การวัดผลิตผลของชาติที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลา 1 ปี เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (ดู GNP) แต่ที่แตกต่างกันคือ การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) จะพิจารณาเฉพาะผลิตผลที่ได้มีการผลิตขึ้นภายในประเทศเท่านั้น ไม่ว่าผลิตผลนั้นจะเกิดจากคนในประเทศหนือชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาประกอบการในประเทศนั้น [สิ่งแวดล้อม] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | National Missile Defence | โครงการต่อต้านขีปนาวุธพิสัยกลางและไกล " เป็นโครงการพัฒนาขีปนาวุธต่อต้านขีปนาวุธพิสัยกลางและไกล เพื่อป้องกันขีปนาวุธจากภายนอกประเทศของสหรัฐอเมริกา NMD จัดตั้งภายในประเทศ ส่วน Theatre Missile Defence (TMD) เป็นระบบขีปนาวุธในยุทธบริเวณนอกประเทศ อาทิ พื้นที่ที่สหรัฐอเมริกามีฐานทัพ อยู่ เป็นต้น " [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] | rule of origin | กฎแหล่งกำเนิดสินค้า เป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาว่า สินค้ามีแหล่งกำเนิดจากประเทศใด เนื่องจากการผลิตอาจมิได้ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเท่านั้น แต่มีการนำเข้าวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนจากนอกประเทศมาใช้ในการผลิต [การทูต] | Technical Cooperation among Developing Countries | ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการภายใต้กรอบขององค์การสหประชา ชาติ โดยเป็นการแลกเปลี่ยนคณะเจ้าหน้าที่เพื่อการดูงาน/ฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน โดยประเทศที่ขอหรือส่งเจ้าหน้าที่จะรับผิดชอบ ค่าเดินทางระหว่างประเทศ ในขณะที่ประเทศเจ้าภาพจะรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายภายในประเทศ อาทิ ค่ากินอยู่ ค่าฝึกอบรม/ดูงาน " [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] | irradiated food | อาหารฉายรังสี, คือ อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใดจึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศ จะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต ผู้ฉายรังสีและวันเดือนปีที่ฉายรังสี [พลังงาน] | Comparisons, Intranational | การเปรียบเทียบภายในประเทศ [การแพทย์] | Migration, Internal | การย้ายถิ่นภายในประเทศ, การย้ายถิ่นภายใน [การแพทย์] |
| Instability in the country mark presidential pre-campaign. | ความไม่ปลอดภัยภายในประเทศเกิดขึ้น ระหว่างการหาเสียงเลือกปธ. Frontier(s) (2007) | I guess everyone needs someone to talk to, Someone to help them know that they're not alone. | นั่นเลยทำให้ผมเข้าร่วมกับ กระทรวงความมั่นคงภายในประเทศ Harold (2008) | Although this is a joint task force, You're all reporting to the department of homeland security. | นี่เป็นทีมรวมการเฉพาะกิจ\ ต่อไปนี้พวกคุณขึ้นตรงกับ\ สนง.ความมั่นคงภายในประเทศ Pilot (2008) | That's why I joined the department of Homeland Security. | นั่นเลยทำให้ผมเข้าร่วมกับ กระทรวงความมั่นคงภายในประเทศ Harold & Kumar Escape from Guantanamo Bay (2008) | Domestic Affairs, Foreign Policy, and Nixon the Man. | ิกิจการภายในประเทศ/Nนโยบายต่างประเทศ และนิกสันชายคนนั้น Frost/Nixon (2008) | The organs of state security are not allowed to function within the borders of your country. | ผมเป็นเจ้าหน้าที่กระทรวงวัฒนธรรม อวัยวะของรัฐที่ไม่ได้รับอนุญาต ให้มีบทบาทภายในประเทศคุณ Burn After Reading (2008) | Of military policy, domestic and global. | นโยบายทางทหาร, ภายในประเทศ และของโลก Day 7: 1:00 a.m.-2:00 a.m. (2009) | "of the system of justice in this country. " | กำลังทำให้ระบบยุติธรรมภายในประเทศนี้เป็นที่ขบขัน Public Enemies (2009) | Yeah I'll say. I put up pretty pedestrian numbers. 60 thou a year, domestic. | ฉันคิดว่าฉันมีแต้มสะสมมากแล้วนะ 60, 000 ไมล์ต่อปี ภายในประเทศ Up in the Air (2009) | - On a domestic flight - regional, actually. | - เที่ยวบินภายในประเทศ ที่จริงแล้วเป็นเที่ยวบินข้ามฝั่งประเทศ Up in the Air (2009) | A home-grown terrorist. Morgan: | ผู้ก่อการร้ายภายในประเทศ Amplification (2009) | These home-grown terrorists are myopic zealots, | เขาอาจจะเป็นหนึ่งในพวกเรา ผู้ก่อการร้ายภายในประเทศคนนี้มีวิสัยทัศน์แคบ คลั่งอุดมการณ์ Amplification (2009) | and domestic. | และภายในประเทศ X-Men Origins: Wolverine (2009) | And flew domestic. | เขาบินภายในประเทศ A Matter of Life and Death (2010) | The domestic intelligence apparatus of this country has one priority-- that is to find Sophia and the man we know as Thomas. | กลไกการสืบราชการลับภายในประเทศ มีหนึ่งสิทธิพิเศษ... นี่เพื่อการตามหาโซเฟีย For the Good of Our Country (2010) | My name is Dennis French with the Department of Homeland Security. | ผมชื่อ เดนนิส เฟรนช์ จากหน่วยความมั่นคงภายในประเทศ Contagion (2011) | Imported or domestic? | นำเขาหรือภายในประเทศ On Guard (2011) | I'm thinking domestic contacts. | ฉันคิดว่าเป็นสายภายในประเทศนะ It Takes a Village (2011) | Two columns-- domestic and imports. | ภายในประเทศและการนำเข้า It Takes a Village (2011) | Right. So domestic contacts. | ใช่ งั๊นก็สายภายในประเทศ It Takes a Village (2011) | We're expanding domestic offices. | เรากำลังขยายสำนักงานภายในประเทศ World Leader Pretend (2011) | He had a history of truancy, petty theft, domestic disturbances, all of which landed him in the juvenile hall for some stints during high school, as you can imagine. | เขามีประวัติของการละทิ้งหน้าที่ ขโมย การรบกวนภายในประเทศ ทั้งหมดที่ว่ามา ทำให้เขาเข้าสถานกักกันเยาวชน ระหว่างที่อยู่ม.ปลาย คุณคงพอนึกภาพออก Epilogue (2011) | She was infiltrating a domestic terror group. | เธอกำลังแทรกซึม กลุ่มก่อการร้ายภายในประเทศ True Believer (2012) | I'm gonna take my chances with domestic terrorism. | ผมขอใช้โอกาสของผม จัดการก่อการร้ายภายในประเทศดีกว่า The Future in the Past (2012) | My action this day is against such domestic enemies. | การกระทำของผม เป็นการต่อต้านศัตรูภายในประเทศ State of Independence (2012) | The author claims that Mr. Huggins has more than 10, 000 firearms and teaches his followers to build car bombs in case of domestic insurgence. | ผู้เขียนอ้างว่า คุณฮัดกิ้นมี อาวุธปืนมากกว่า10, 000กระบอก และยังสอนผู้ติดตาม ให้สร้างคาร์บอม ในกรณีที่เกิดจราจลภายในประเทศ Til Death (2012) | By population or gross domestic product? | เรียงตามจำนวนประชากรหรือผลผลิตภายในประเทศล่ะ Mona-Mania (2013) | Rest assured, justice will be served. | ทั้งการพิจารณาคดี และภายในประเทศ จะได้รับการล้างแค้น คุณสามารถมั่นใจได้ ว่าจะได้รับความยุติธรรม Power (2013) | - Well, that's not a domestic disease. | ซึ่งมันไม่ใช่เชื้อโรคภายในประเทศ The Corpse on the Canopy (2013) | The government framed Cole as a domestic terrorist. | รัฐบาลได้ใส่ร้ายเขาว่า เป็นผู้ก่อการร้ายภายในประเทศ Trojan Horse (2013) | Or inside the country, for that matter. | หรือภายในประเทศ สำหรับเรื่องนั้น Black-Winged Redbird (2013) | The Supreme Leader will grant a one-hour interview to Mr. Skylark from inside North Korea. | ท่านผู้นำสูงสุดของเรา จะยินยอมให้สัมภาษณ์เพียง 1 ชั่งโมง กับ คุณ สกายลาร์ก ภายในประเทศเกาหลีเหนือเท่านั้น The Interview (2014) |
| การบริโภคภายในประเทศ | [kān børiphōk phāinai prathēt] (n, exp) EN: local consumption ; domestic consumption FR: consommation intérieure [ f ] | การค้าภายในประเทศ | [kānkhā phāinai prathēt] (n, exp) EN: domestic trade | นโยบายภายในประเทศ | [nayōbāi phāinai prathēt] (n, exp) EN: domestic policy FR: politique intérieure [ f ] | ภายในประเทศ | [phāinai prathēt] (adj) EN: domestic ; in-house ; within the country ; local FR: intérieur ; national ; domestique | ผู้บริโภคภายในประเทศ | [phūbøriphōk phāinai prathēt] (n, exp) EN: local consumers | เศรษฐกิจภายในประเทศ | [sētthakit phāinai prathēt] (n, exp) EN: domestic economy | ตลาดภายในประเทศ | [talāt phāinai prathēt] (n, exp) EN: home market ; domestic market FR: marché intérieur [ m ] | ท่าอากาศยานภายในประเทศ | [thā-ākātsayān phāinai prathēt] (n, exp) EN: local airport FR: aéroport régional [ m ] | อุปสงค์ภายในประเทศ | [uppasong phāinai prathēt] (n, exp) EN: internal demand ; domestic demand FR: demande intérieure [ f ] |
| GDP | (n, abbrev) ย่อมาจาก Gross Domestic Product ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ |
| domestic | (adj) ภายในประเทศ, See also: เกี่ยวกับท้องถิ่น, พื้นบ้าน, Syn. native, not foreign, indigenous, Ant. foreign, imported | excise | (n) ภาษีสำหรับสินค้าในประเทศ, See also: ภาษาสินค้าภายในประเทศ, Syn. tax | inland | (adj) ซึ่งอยู่ภายในประเทศ, See also: ห่างจากชายฝั่ง, Syn. interior, domestic, onshore, Ant. coastal, border, frontier, seaward | inland | (n) บริเวณภายในประเทศ, See also: พื้นที่ภายในของประเทศ, Syn. midland, interiority |
| domestic | (ดะเมส'ทิค) adj. เกี่ยวกับบ้าน, เกี่ยวกับครอบครัว ในบ้าน, เชื่อง, เกี่ยวกับประเทศของตน, ซึ่งพบในหรือผลิตภายในประเทศ, Syn. domesticated, family, endemic, indigenous | inland | (อิน'เลินดฺ) adj. ภายในประเทศ, ภายในดินแดน, ท้องถิ่น. adv. ภายในประเทศ, เข้าไปในประเทศ. n. (อิน'แลนดฺ) บริเวณภายในประเทศ, Syn. domestic, internal | inlander | (อิน'เลินเดอะ) n. ผู้อยู่ภายในประเทศ | interior | (อินเทีย'เรีย) adj. ภายใน, ข้างใน, ธาตุแท้, ส่วนลึก, ภายในประเทศ, ส่วนตัว, ลี้ลับ. n. ส่วนใน, เรื่องภายใน, ส่วนในของประเทศ, ลักษณะภายใน., See also: interiority n. ., Syn. inside | intestine | (อินเทส'ทิน) n. ลำไส้. adj. ภายในประเทศ, เกี่ยวกับเรื่องภายใน, Syn. internal | inward | (อิน'เวิร์ด) adv., adj. สู่ภายใน, ภายในใจ, ภายใน, ข้างใน, อยู่ภายใน, ภายในประเทศ. n. ส่วนใน | protection | (พระเทค'เชิน) n. การป้องกัน, การคุ้มครอง, การพิทักษ์, การอารักขา, ระบบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูง, เอกสารคุ้มครอง, หนังสือเดินทาง, ค่าคุ้มครอง, ค่าอารักขา, Syn. security, defense | protectionism | (พระเทค'เชินนิสซึม) n. ระ-บบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูงสำหรับสินค้าที่เป็นคู่แข่ง., See also: protectionist n. | upcountry | (อัพ'คันทรี) adj. บนเนิน, บนแผ่นดิน, ภายในประเทศ, ชนบท, ต่างจังหวัด, ขึ้นไกลเข้าไปจากฝั่ง, หัวเมือง. n. หัวเมือง, ต่างจังหวัด, บริเวณภายในประเทศ. adv. ไปยังบริเวณภายในประเทศ |
| domestic | (adj) เกี่ยวกับครอบครัว, เกี่ยวกับบ้าน, ภายในประเทศ, ในบ้าน, เชื่อง | inland | (adj) ภายในประเทศ, ไกลทะเล, ท้องถิ่น | inland | (adv) ภายในประเทศ, เข้าไปในประเทศ, ภายในท้องถิ่น | inland | (n) บริเวณภายในประเทศ, ที่ดอน |
| 内地 | [ないち, naichi] (n) ภายในประเทศ, Ant. 外地 | 国内 | [こくない, kokunai] (n) ภายในประเทศ |
| innerhalb | (präp) |+ etw. (D)| ภายใน(สิ่งใดสิ่งหนึ่ง) เช่น innerhalb des Systems ภายในระบบนี้, innerhalb des Landes ภายในประเทศ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |