ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ประชด, -ประชด- |
ประชด | (v) be sarcastic, See also: speak sarcastically, ridicule, ridicule with sarcasm, use insulting language, use sarcasm, Syn. แดกดัน, กระทบกระแทก, ประชดประชัน, กระแหนะกระแหน, Example: ผมจับหางเสียงไม่ถนัดว่าเขาประชดหรือเพียงแต่ล้อเล่น | ประชดประชัน | (v) be sarcastic, See also: speak sarcastically, ridicule, ridicule with sarcasm, use insulting language, use sarcasm, Syn. แดกดัน, กระทบกระแทก, กระแหนะกระแหน, Example: น้ำเสียงของเขาราบเรียบจนจับไม่ได้ว่าพูดจริงหรือประชดประชัน |
| ตายประชดป่าช้า | ก. แกล้งทำหรือพูดแดกดันประชดอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ตัวเองกลับเป็นฝ่ายเสียหายจากการทำหรือพูดนั้น. | ประชด | ก. แกล้งทำให้เกินควรหรือพูดแดกดันเพราะความไม่พอใจ เช่น หุงข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว พูดประชด, ประชดประชัน ก็ว่า, ในกลอนใช้ว่า ประทยด หรือ ประเทียด ก็มี. | ประชดประชัน | ก. พูดหรือทำเป็นเชิงกระทบกระแทกแดกดัน. | ปิ้งปลาประชดแมว | ก. ทำประชดหรือแดกดัน ซึ่งรังแต่จะเสียประโยชน์, มักพูดเข้าคู่กับ หุงข้าวประชดหมา ว่า หุงข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว. | หุงข้าวประชดหมา | ก. ทำประชดหรือแดกดัน ซึ่งรังแต่จะเสียประโยชน์, มักพูดเข้าคู่กับ ปิ้งปลาประชดแมว ว่า หุงข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว. | กระแทกแดกดัน | ว. อาการที่กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดเพราะความไม่พอใจ. | ขับ ๑ | ประชดอย่างล้อ, พูดล้อเพื่อสนุก. | ขี้เกียจ | เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน), ใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้เกียจจะ เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้เกียจจะรีบทำเสียอีก, ขี้คร้าน หรือ ขี้คร้านจะ ก็ว่า. | ขี้ข้า | คำประชดเชิงเปรียบเทียบที่บ่งบอกฐานะต่ำต้อย, คำดูถูกเหยียดหยามว่าเป็นผู้มีฐานะต่ำต้อย (ใช้เป็นคำด่า). | ขี้คร้าน | ก. เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน) เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้คร้านรีบทำเสียอีก, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้คร้านจะ เช่น พอยอเข้าหน่อย ขี้คร้านจะทำให้ทุกอย่าง, ขี้เกียจจะ ก็ว่า. | ขึ้นเขาลงห้วย | ไป (ใช้ในความประชด) เช่น จะขึ้นเขาลงห้วยที่ไหนก็ไป ฉันไม่สนใจแล้ว. | ขึ้นแท่น | โดยปริยายหมายความว่า ได้รับการยกย่องหรือได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งที่สูง (ใช้ในความประชด) เช่น เขาขึ้นแท่นไปเป็นอธิบดีแล้วเลยเข้าพบยาก. | เข้า ๑ | ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายเร่งรัด เช่น เร็วเข้า คิดเข้า, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายมากขึ้น เช่น หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงสภาพหรือความรู้สึกที่เกิดมีขึ้น เช่น พอสวยเข้าก็มีหนุ่ม ๆ มารุมจีบ พอเหนื่อยเข้าก็อยากจะเลิกทำ, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายว่าหนุนให้ทำ (มักใช้ในความประชดประชัน) เช่น เอาเข้าไป ว่าแล้วยังไม่ยอมหยุด. | งามหน้า | ว. น่าขายหน้า, ใช้เป็นคำประชด เช่น เขาทำงามหน้าละคราวนี้. | ดก | โดยปริยายใช้เป็นคำพูดประชด เช่น พูดว่า คงได้ดกละ หมายความว่า ไม่มีหวังที่จะได้, มีดกละ หมายความว่า ไม่มี. | ดีละ, ดีแล้ว | คำแสดงความไม่พอใจเป็นเชิงประชดหรือแดกดัน. | แดก ๑ | กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดให้เจ็บใจ, แดกดัน ก็ว่า. | แดกดัน | ก. กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดให้เจ็บใจ เช่น ในบทละครนอกเรื่องสังข์ทอง นางรจนาพูดแดกดันพี่สาวทั้ง ๖ ว่า ผัวพี่ไปหาปลากับบ่าวไพร่ น้อยฤๅช่างได้มาอักโข ผัวข้าหาปลาประสาโซ แต่จมูกไม่โหว่เหมือนผู้ดี, แดก ก็ว่า. | โดนดี | คำพูดเชิงประชด มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ข้อความแวดล้อม (ใช้ในทางไม่ดี) เช่น ระวังเถอะเดี๋ยวจะโดนดี. | ตัวดี | น. ตัวสำคัญ, ตัวต้นเหตุ, (มักใช้ในเชิงประชด). | นอนกินบ้านกินเมือง | ก. นอนตื่นสายด้วยความเกียจคร้าน (ใช้เป็นคำประชด). | บุญหนักศักดิ์ใหญ่ | ว. มีฐานันดรศักดิ์สูงและอำนาจวาสนายิ่งใหญ่ (มักใช้ในความประชด) เช่น ถึงเป็นพี่น้องกัน แต่ฉันก็ไม่กล้าไปรบกวนเขา เพราะเขาบุญหนักศักดิ์ใหญ่เหลือเกิน. | ประเทียด | ก. ประชด, ว่าร้ายในเชิงเปรียบเทียบ, เขียนเป็น ปรทยด หรือ ประทยด ก็มี เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด, จึงจะรุมโรมโซรมประทยด สยดตัดพ้อ (ม. คำหลวง ชูชก). | พ่อเจ้าประคุณ | คำเรียกแสดงความรักใคร่หรือประชดประชัน แล้วแต่น้ำเสียง (ใช้แก่ผู้ชาย) เช่น โถ ! พ่อเจ้าประคุณของย่า เจ็บไหม ทำไมไม่นอนที่โรงละครเลยล่ะพ่อเจ้าประคุณ. | แม่เจ้าประคุณ | คำเรียกแสดงความรักใคร่หรือประชดประชัน แล้วแต่น้ำเสียง (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น แม่เจ้าประคุณของยายสบายดีหรือ ดึกแล้วแม่เจ้าประคุณยังไม่กลับบ้านเลย. | ย่างเยื้อง | ก. เดินอย่างมีลีลา, เดินอย่างมีท่างาม, ใช้ในความประชดก็มี, เยื้องย่าง ก็ว่า. | เยื้องย่าง | ก. เดินอย่างมีลีลา, เดินอย่างมีท่างาม, ใช้ในความประชดก็มี, ย่างเยื้อง ก็ว่า. | ศักดินา | คำประชดเรียกชนชั้นสูงหรือผู้ดีมีเงินว่าพวกศักดินา. | สาแก่ใจ | ว. หนำใจ, สะใจ, (มักใช้ในความประชดหรือแดกดัน) เช่น บอกแล้วว่าอย่าไปยุ่งกับเขา โดนเขาด่ามา สาแก่ใจไหมล่ะ วันนี้เงินเดือนออก ต้องจ่ายให้สาแก่ใจ. | แหกตา | ก. ใช้มือถ่างเปลือกตาออก, โดยปริยายหมายความว่า ลืมตา (ใช้ในเชิงประชด) เช่น แหกตาดูเสียบ้างซิ, หลอก เช่น ถูกแม่ค้าแหกตา. | เอื้อนวาจา, เอื้อนโอฐ ๑ | ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้ในความหมายเชิงประชดประชัน เช่น กว่าจะเอื้อนโอฐออกมาได้เหมือนกลัวดอกพิกุลจะร่วง. |
| sarcasm | คำประชดเหน็บแนม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Irony | คำประชด [TU Subject Heading] |
| ประชด | [prachot] (v) EN: be sarcastic ; speak sarcastically ; ridicule ; satire ; use insulting language FR: être sarcastique | ประชด | [prachot] (adv) EN: with a vengeance |
| biting | (adj) กระทบกระเทียบ, See also: ประชดประชัน, Syn. sarcastic, mordant | pay someone a left-handed compliment | (idm) หลอกด่า, See also: ประชด | innuendo | (n) การประชด, See also: การเสียดสี, การแดกดัน, Syn. insinuation, irony | insult | (n) การดูถูก, See also: การประชดประชัน, การสบประมาท, การเย้ยหยัน, Syn. abuse, affront, insolence, offense | quibble | (vi) พูดคลุมเครือ, See also: พูดประชดประชัน, Syn. dodge, complain, evade | quibbler | (n) ผู้พูดคลุมเครือ, See also: ผู้พูดประชด, Syn. critic | squib | (n) คำพูดหรือบทความล้อเลียน, See also: คำพูดหรือบทความประชดประชัน, Syn. pasquinade, satire | squib | (vt) พูดหรือเขียนเรื่องล้อเลียน, See also: พูดหรือเขียนเรื่องเยาะเย้ย, พูดหรือเขียนเรื่องประชดประชัน, Syn. pasquinade, satirize | thank | (vt) รับผิดชอบ (การใช้แบบประชด), Ant. neglect | wisecrack | (n) คำคมหรือคำตลกแบบประชดประชัน (คำไม่เป็นทางการ) | wisecrack | (vi) พูดคำคมหรือคำตลกแบบประชดประชัน (คำไม่เป็นทางการ) |
| ironic | (ไอรอน'นิค, -เคิล) adj. เหน็บแนม, ประชด, เย้ยหยัน, เยาะเย้ย, ถากถาง., See also: ironically adv. ironicalness n. | ironical | (ไอรอน'นิค, -เคิล) adj. เหน็บแนม, ประชด, เย้ยหยัน, เยาะเย้ย, ถากถาง., See also: ironically adv. ironicalness n. |
| irony | (n) การพูดอย่างใจอย่าง, คำประชดประชัน |
| smarty-pants | (n) [ ไม่เป็นทางการ ] พ่อคนฉลาด! (ใช้ในทำนองประชดประชันบุคคลผู้ต้องการแสดงความฉลาดของตนให้ผู้อื่นเห็น) |
| なんちゃって | [なんちゃって, nanchatte] (adj, phrase) คำว่า なんちゃって มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า กำมะลอ, จอมปลอม, ปลอม หรือ ไม่ใช้ของแท้ มักนำเอาไปขยายหน้าคำนามได้เป็นความหมาย อะไรอะไรจอมปลอม (พูดโดยใส่ความรุ้สึกอารมณ์ประชดประชัน) | 皮肉 | [ひにく, hiniku] (n) ประชด |
| Es ist doch gut. | มันก็ดีออกนี่ หรือ แต่มันดีนะ(ดีจริง ไม่ประชด), doch ใช้เสริมเพื่อขัดกับประโยคหรือบทสนทนาก่อนหน้านั้น อาจแปลว่า แต่ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |