ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: นิมิต, -นิมิต- |
ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
| ทักนิมิต | (v) ask and answer in binding the boundary of a temple, See also: ask and answer during the tying of monastic boundary, Thai Definition: ถามตอบในการผูกพัทธสีมา | บุพนิมิต | (n) prognostication, See also: sign, omen, augury, presage, Example: ก่อนเกิดเหตุพระองค์พบบุพนิมิตเลือนลางในพระสุบิน, Thai Definition: ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน | ศุภนิมิต | (n) good omen, See also: good dream, auspicious time, propitious sign, auspice, dream foretelling fortune, good luc, Syn. นิมิตดี, ลางดี, Example: วันนี้ถือว่าเป็นศุภนิมิตที่ดีที่ทั้งรัฐบาลและเอกชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาไทย |
|
| ทักนิมิต | ก. ถามตอบในพิธีกรรมฝังลูกนิมิตผูกพัทธสีมา เพื่อให้รู้ว่าทิศใดมีสิ่งใดเป็นนิมิต. | ทุนนิมิต | (ทุนนิมิด) น. ลางร้าย | ทุนนิมิต | เครื่องหมายอันชั่วร้าย. | นิมิต ๑ | ก. นิรมิต, สร้าง, แปลง, ทำ. | นิมิต ๒ | น. เครื่องหมาย, ลาง, เหตุ, เค้ามูล | นิมิต ๒ | อวัยวะสืบพันธุ์ เช่น อิตถีนิมิต ปุริสนิมิต. | บุพนิมิต | น. ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน. | ปฏิภาคนิมิต | น. “อารมณ์เทียบเคียง” คือ เมื่อพบเห็นสิ่งใดจนติดตาหลับตาเห็นแล้วอาจนึกทายส่วนหรือแบ่งส่วนแห่งสิ่งนั้นให้สมรูปสมสัณฐาน เรียกว่า ปฏิภาคนิมิต. | ปริกรรมนิมิต | (ปะริกำมะนิมิด) น. “อารมณ์ในบริกรรม” คือ สิ่งที่ใช้เพ่งหรือนึกเป็นอารมณ์ในเวลาบริกรรม. | พรหมนิมิต | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือทั้งสองพนมมือระหว่างอก ลำตัวตั้งตรง หน้าตรง. | ลูกนิมิต | น. ลูกที่ทำกลม ๆ ประมาณเท่าบาตร มักทำด้วยหิน ใช้ฝังเป็นเครื่องหมายเขตอุโบสถ. | ศุภนิมิต | น. นิมิตดี, ลางดี. | อุคหนิมิต | น. “อารมณ์ที่เจนใจ” คือ เป็นวิธีแห่งผู้เพ่งกสิณชำนาญจนรูปที่ตนเพ่งอยู่นั้นติดตาถึงแม้หลับตาเสีย รูปนั้นก็ปรากฏเป็นเครื่องหมายอยู่ รูปที่ปรากฏนี้ เรียกว่า อุคหนิมิต. | กระเหม่น | (-เหฺม่น) ก. เขม่น คือ อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้ เช่น กระเหม่นตา | เขม่น | (ขะเหฺม่น) ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้, กระเหม่น ก็ว่า | คุยหฐาน, คุยหประเทศ | น. อวัยวะเพศชายหรือนิมิตชาย ใช้ว่า พระคุยหฐาน หรือ พระคุยหประเทศ. | เครื่องต้น | น. เครื่องทรงสำหรับพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี เช่น พระราชพิธีบรม-ราชาภิเษก, เรียกเต็มว่า ฉลองพระองค์เครื่องต้น, เครื่องทรงสำหรับพระพุทธรูป ซึ่งมีลักษณะอย่างเครื่องทรงพระเจ้าจักรพรรดิ เช่น พระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ วัดหน้าพระเมรุราชิการาม | เทพ ๒ | น. คำนำหน้าชื่อเพลงไทย เช่น เทพทอง เทพชาตรี เทพบรรทม เทพนิมิต เทพรัญจวน. | นวนิยาย | น. บันเทิงคดีร้อยแก้วขนาดยาวรูปแบบหนึ่ง มีตัวละคร โครงเรื่อง เหตุการณ์ในเรื่อง และสถานที่ ที่ทำให้เนื้อเรื่องมีความสมจริง เช่น เรื่องหญิงคนชั่ว ของ ก. สุรางคนางค์ เรื่องเรือมนุษย์ ของ กฤษณา อโศกสิน, ถ้ามีขนาดสั้น เรียกว่า นวนิยายขนาดสั้น เช่น เรื่องดรรชนีนาง ของ อิงอร เรื่องสร้อยทอง ของ นิมิต ภูมิถาวร. | นิรมิต | (-ระมิด) ก. นิมิต, เนรมิต, สร้าง, แปลง, ทำ, บันดาลให้เป็นขึ้นมีขึ้น. | เมฆฉาย | (เมก-) น. เงาเมฆ, เมฆที่ปรากฏให้เห็นเป็นรูปต่าง ๆ เนื่องจากการยกเมฆ เป็นนิมิตให้สามารถพยากรณ์ได้ว่าร้ายหรือดี เช่น ภาวนาเขม้นเห็นเมฆฉาย นิมิตเป็นรูปนารายณ์เรืองศรี (ขุนช้างขุนแผน) | ยกเมฆ | ก. เพ่งดูเมฆเมื่อเห็นเป็นรูปอะไรแล้ว ก็ถือเป็นนิมิตเพื่อทำนายว่าดีหรือร้าย เช่นในเวลาจะยกทัพ ถ้าเห็นเมฆเป็นรูปพระนารายณ์ ก็ถือว่าเป็นนิมิตที่ดี ควรยกทัพได้ เช่น ตรงเข้าไปในป่าแล้วปลุกตัว เป่าทั่วด้วยคาถาประกาศิต ขยับยืนยกเมฆดูนิมิต เห็นรูปนารายณ์เรืองฤทธิ์ติดอัมพร (ขุนช้างขุนแผน), ถ้าเห็นเมฆเป็นรูปคนหัวขาดหรือแขนขาดขาขาด เป็นนิมิตไม่ดี ไม่ควรยกทัพ แม้ผู้ทรงวิทยาคุณอาจบริกรรมต่อหัวหรือแขนขาให้สมบูรณ์ได้ ถึงกระนั้นก็ไม่ถือว่าเป็นนิมิตที่ดี ไม่ควรยกทัพ เช่น กอดอกยกเมฆดูนิมิต ก็วิปริตเป็นรูปคนหัวหาย จะยกต่อคอแขนไม่ติดกาย เถนสำคัญมั่นหมายไม่คืนมา (ขุนช้างขุนแผน) | ศิวลึงค์ | น. รูปนิมิตแทนองค์พระศิวะหรือพระอิศวร ทำเป็นรูปอวัยวะเพศชาย ถือว่าเป็นวัตถุบูชาอันศักดิ์สิทธิ์ของพวกไศวะ. | สลัก ๒ | (สะหฺลัก) ก. ทำให้เป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีใช้สิ่วสกัด ตัด ตอก ดุน เป็นต้น เช่น สลักไม้ สลักลูกนิมิต หรือใช้สิ่งอื่นขูด ขีด ให้เป็นตัวหนังสือเป็นต้น เช่น สลักชื่อบนหีบบุหรี่. |
| physical sign | อาการแสดง, อาการตรวจพบ, กายนิมิต [ มีความหมายเหมือนกับ sign ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sign | ๑. อาการแสดง [ มีความหมายเหมือนกับ sign, physical ]๒. สัญญาณ๓. เครื่องแสดง, สิ่งแสดง, ลาง, นิมิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sign, physical | อาการแสดง, อาการตรวจพบ, กายนิมิต [ มีความหมายเหมือนกับ sign ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sign, vital | ชีวสัญญาณ, อาการแสดงชีพ, ชีวนิมิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fantasy | จินตนิมิต [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | vital sign | ชีวสัญญาณ, อาการแสดงชีพ, ชีวนิมิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Omens | นิมิต [TU Subject Heading] |
| บุพนิมิต | [bupphanimit] (n) EN: prognostication |
| augury | (n) ลางสังหรณ์, See also: ลาง, นิมิต, Syn. omen, portent, indication | augur ill | (phrv) เป็นลางร้าย, See also: เป็นลางสังหรณ์ที่ไม่ดี, เป็นนิมิตร้าย, Syn. bode ill | augur well | (phrv) เป็นลางดี, See also: เป็นลางสังหรณ์ที่ดี, เป็นนิมิตดี, Syn. bode well | omen | (vt) มีลางบอกเหตุ, See also: เป็นลาง, เป็นนิมิต, Syn. portend, forbode | premonition | (n) การเตือนล่วงหน้า, See also: การแสดงให้เห็นล่วงหน้า, นิมิต, การสังหรณ์ใจ, Syn. omen, portent, forewarning | propitious | (adj) ที่แสดงถึงสถานการณ์ที่ดี, See also: ซึ่งเป็นนิมิตหมายอันดี, Syn. favorable, encouraging | propitiously | (adv) อย่างอำนวยให้, See also: อย่างเป็นนิมิตหมายอันดี | sign | (n) ลาง, See also: นิมิต, Syn. omen | signal | (n) ลาง, See also: นิมิต, Syn. omen |
| auspice | (ออ'สพิสฺ) n., (pl. auspices) ความอุปถัมภ์, สุภมงคลสมัย, ฤกษ์ดี, การทำนาย (ตามลักษณะการบินของนก) , นิมิตร (patronage) | betoken | (บิโท'เคิน) { betokened, betokening, betokens } vt. เป็นหลักฐาน, ล่อแสดง, แสดงถึง, เป็นลาง, เป็นนิมิต, บอกเหตุการณ์ล่วงหน้าว่า | bode | (โบด) { boded, boding, bodes } vt., vi. เป็นลาง, เป็นนิมิต, ทำนาย, กริยาช่อง 2 ของ bide, See also: bodement n. | foreboding | (ฟอร์โบ'ดิง) n. ลาง, นิมิต, สังหรณ์ adj. เป็นกลาง, ซึ่งบอกเหตุล่วงหน้า (มักเป็นเหตุร้าย), See also: forebodingly adv. forebodingness n., Syn. prediction | foreshadow | (ฟอร์แชด'โด) vt. เป็นลาง, ส่อให้เห็นล่วงหน้า, เป็นนิมิตบอกล่วงหน้า., See also: foreshadower n., Syn. signal, bode | foretoken | (ฟอร์'โทเคิน) n. การเตือนล่วงหน้า, ลาง, นิมิตร. vt. เป็นลางบอก | omen | (โอ'เมิน) n. ลาง, ลางสังหรณ์, ลางนิมิต vt. เป็นล่าง, เป็นนิมิต, มีลางบอกเหตุ, Syn. augury | prelude | (เพรล'ลูด) n. การแสดงเบิกโรง, ฉากโหมโรง, การบรรเลงนำ, การกระทำเบื้องต้น, สภาพหรือผลงานเบื้องต้น, อารัมภกถา, นิมิต, สิ่งบอกเหตุ, คำนำ vt., vi. นำ, โหมโรง, บรรเลงนำ, เขียนคำนำ., See also: preluder n. preludial adj. preludious, adj. | premonition | (พรีมะนิช'เชิน) n. การเตือนล่วงหน้า, การแสดงให้เห็นล่วงหน้า, นิมิต, การสังหรณ์ใจ, Syn. omen, portent, inkling | prognostic | (พรอกนอส'ทิค) n., adj. (เกี่ยวกับ) การทำนาย, การคาดคะเน, ลาง, นิมิต, สิ่งบอกเหตุการณ์ล่วงหน้า, เครื่องแสดง, Syn. predictive | propitious | (พระพิช'เชิส) adj. เอื้ออำนวย, นิมิตดี, เป็นมงคล, ราบรื่น., See also: propitiousness n., Syn. favourable | sign | (ไซน์) n. เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, ลาง, นิมิต, การบอกใบ้, อาการ, ร่องรอย, รอยเท้า, ราศี. vt., vi. ลงนาม, เซ็นชื่อ, เขียนเครื่องหมาย, เขียนสัญลักษณ์, ทำเครื่องหมายกางเขน, ติดต่อกันด้วยสัญญาณ, เขียนสัญลักษณ์, แสดงอากัปกิริยา, sign away เซ็นชื่อโอน, -Phr. (sign off หยุดกระจายเสียง | signal | (ซิก'เนิล) n., v. (เป็น) สัญญาณ, เครื่องแสดง, สัญญา, ลาง, นิมิต, สิ่งบอกใบ้, เครื่องบอกใบ้, อาการ, อากัปกิริยา, สัญญาณวิทยุ, สัญญาณคลื่น. adj. เป็นสัญญาณ, เป็นเครื่องแสดง, น่าสังเกต, ยอดเยี่ยม, เลิศ, เด่น. -v. ให้สัญญาณ, ทำเครื่องหมาย, ส่งสัญญาณ., See also: signale | signify | (ซิก'นิไฟ) vt. แสดงออก, มีความหมาย, ชี้บ่ง, บอกใบ้, บุ้ย, เป็นลาง, เป็นนิมิต, บอกให้รู้ล่วงหน้า vt. มีความสำคัญ., See also: signifiable adj. | vision | (วิช'เชน) n. สายตา, ความสามารถในการเห็นภาพ, อำนาจในการคาดคะเน, การคาดคะเน, ภาพ, ทรรศนะ, จินตนาการ, ความรู้สึกลวงตา, นิมิต, สิ่งที่มองเห็น, ภาพบุคคลหรืออื่น ๆ ที่มีความสวยงามมาก. vt. มองเห็น, เห็น, จินตนาการ, Syn. eyesight, sight, slance, optics |
| betoken | (vt) เป็นลาง, เป็นเครื่องแสดง, เป็นนิมิต, ส่อแสดง | bode | (vt) เป็นลาง, เป็นนิมิต, เป็นเครื่องหมาย | foreboding | (n) การทาย, การพยากรณ์, ลางสังหรณ์, นิมิต, ลาง | foreshadow | (vt) บอกล่วงหน้า, เป็นลาง, สังหรณ์, เป็นนิมิต, ส่อให้เห็น | omen | (n) นิมิต, ลางสังหรณ์, ลางบอกเหตุ | premonition | (n) คำเตือนล่วงหน้า, ลางสังหรณ์, ลาง, นิมิต | premonitory | (adj) ซึ่งเตือนล่วงหน้า, แสดงล่วงหน้า, เป็นลาง, เป็นนิมิต | prognostic | (n) ลาง, คำทำนาย, เครื่องแสดง, อาการ, นิมิต | prognostication | (n) การทาย, การทำนาย, การแสดงอาการ, ลาง, นิมิต | vision | (n) มโนภาพ, สายตา, การเห็น, ทัศนะ, นิมิต, การคาดคะเน |
| Patmose | [พัท มอส] (n) Patmos เป็นชื่อเกาะขนาดเล็กใน(เป็นภาษากริก) Aegean ทะเลและสามารถพบได้ระหว่างเกาะ Leros และ Ikaria. ... ประมงประวัติของพิพิธภัณฑ์เป็นนักท่องเที่ยว Philoproodos กล่าวกันว่านักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสเป็นคนคนเดียวกับ “นักบุญอัครสาวก” ... (ดูเพิ่ม นักบุญจอห์นเพรสไบเตอร์ (John the Presbyter) และ นักบุญจอห์นแห่งพัทโมส (John of Patmos) ...ได้เห็นนิมิตที่พระเจ้าททรงประทานให้พ่านทูตสวรรค์ และยอห์นเขียนขึ้นมาเป็นเล่มเรียกชื่อว่า "พระธรรมวิวรณ์" |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |