| เกษียรสมุทร | น. ทะเลนํ้านม, ที่ประทับของพระนารายณ์. | คันธกุฎี | น. ชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระคันธกุฎี. | ตัดหน้าฉาน | ก. ผ่านหน้าที่ประทับในระยะใกล้. | ตำรวจหลวง | น. ข้าราชการในพระองค์ แต่งเครื่องแบบ สวมเสื้อนอก คอปิด กระดุม ๕ เม็ด นุ่งผ้าม่วงสีน้ำเงิน (หากแต่งเครื่องเต็มยศนุ่งผ้าม่วงเชิงมีลายดิ้นเงิน สวมเสื้อนอกคอตั้งสีม่วงเทา) สะพายกระบี่ สวมหมวกทรงประพาส มีหน้าที่รักษาพระองค์พระมหากษัตริย์และพระราชินี ณ ที่ประทับ และนำเสด็จเป็นชุดตามพระเกียรติยศในงานพระราชพิธีและพิธีด้วย เดิมเรียกว่า พระตำรวจหลวง. | ตำหนัก | น. ที่ประทับของเจ้านาย เช่น ตำหนักปลายเนิน หรือของสมเด็จพระสังฆราช เช่น ตำหนักเพชร, ถ้าเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรียกว่า พระตำหนัก เช่น พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระตำหนักวาสุกรี. | ติดสนม | ก. ถูกกักบริเวณในเขตพระราชฐาน ใช้แก่พระราชวงศ์ฝ่ายในและข้าราชการฝ่ายใน โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของโขลน, ถูกกักบริเวณในวังที่ประทับ โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนมพลเรือน ใช้แก่ผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่. | ทวย ๒ | วัตถุอย่างหนึ่งเป็นคันสำหรับรองส่งเครื่องราชูปโภค เช่นขันใส่เงินทรงโปรยหรือพระสุพรรณศรีถวายพระมหากษัตริย์จากเบื้องตํ่าสู่ที่ประทับ เรียกว่า พระทวย. | ท้องตรา | น. หนังสือราชการที่ประทับตราของเจ้ากระทรวง มีไปยังเจ้าเมืองตามหัวเมือง, เดิมเรียกว่า สารตรา. | เทวสถาน | น. สถานที่ซึ่งถือว่าเป็นที่ประทับหรือสิงสถิตของเทพเจ้าหรือเทวดา, ที่ประดิษฐานเทวรูป. | แท่น | น. ที่นั่งที่นอน มีลักษณะเหมือนมีฐานที่ทึบทั้ง ๔ ด้าน ไม่มีขารองรับ, ยกพื้น เช่น แท่นรับความเคารพ, ที่รองซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น แท่นที่บูชา, (ราชา) เรียกที่ประทับหรือที่บรรทมของพระมหากษัตริย์ว่า พระแท่น เช่น พระแท่นราชบัลลังก์ พระแท่นราชบรรจถรณ์. | บัลลังก์ | น. พระแท่นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ภายใต้พระมหาเศวตฉัตร เรียกว่า พระแท่นราชบัลลังก์ | บุษบก | (บุดสะบก) น. เรือนยอดแบบหนึ่งมีขนาดต่าง ๆ กัน เป็นอย่างเรือนโกง เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรูปเป็นต้น. | ปราสาท | (ปฺรา-) น. เรือนยอดซ้อนกันเป็นชั้น ๆ สำหรับเป็นที่ประทับเฉพาะพระมหากษัตริย์หรือเป็นที่ประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์. | แปรพระราชฐาน | (-พฺระราดชะถาน) ก. เปลี่ยนสถานที่ประทับไปอยู่ที่อื่นเป็นการชั่วคราว ใช้แก่พระมหากษัตริย์. | พระที่นั่ง | น. อาคารที่ประทับของพระมหากษัตริย์ซึ่งตามปรกติอยู่ในพระราชวัง เช่น พระที่นั่งบรมพิมาน พระที่นั่งอัมพรสถาน, อาคารที่เสด็จออกมหาสมาคม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งวโรภาษพิมาน, ที่ประทับซ้อนบนพระแท่นราชบัลลังก์ภายใต้นพปฎลเศวตฉัตร เช่น พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์, ยานที่ประทับในการเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนแห่ทางบก เช่น พระที่นั่งพุดตานทอง พระที่นั่งราเชนทรยาน | พลับพลา ๑ | (-พฺลา) น. ที่ประทับชั่วครั้งคราวสำหรับรับรองพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมราชวงศ์ชั้นสูง. | พิมาน | น. ที่อยู่หรือที่ประทับของเทวดา. | มนเทียร | (มนเทียน) น. เรือนหลวงซึ่งใช้เป็นที่ประทับประจำของพระมหากษัตริย์ ใช้ว่า พระราชมนเทียร, โบราณใช้ว่า พระราชมณเฑียร. | ราชฐาน | น. อาณาบริเวณที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ใช้ว่า พระราชฐาน เช่น เขตพระราชฐาน แปรพระราชฐาน. | เรือพระประเทียบ | น. เรือหลวงจัดเป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายในหรือพระราชทานเป็นยานพาหนะของสมเด็จพระสังฆราช. | ล้อมวง | อารักขาเขตพระราชฐานหรือบริเวณรอบสถานที่ที่ประทับนอกพระนคร ทั้งการเสด็จโดยสถลมารคและชลมารค, รักษาความสงบเรียบร้อยระหว่างพระเจ้าแผ่นดินทรงพระประชวร หรือพระรัชทายาทก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ โดยจัดเจ้าหน้าที่ล้อมที่ประทับเป็นชั้น ๆ. | วังหน้า | น. วังที่ประทับของพระมหาอุปราช มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เรียกในราชการว่า พระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งอยู่ด้านหน้าพระราชวังหลวงหรือพระบรมมหาราชวัง, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบวรราชวัง, ปัจจุบันเรียกพระราชวงศ์ฝ่ายนี้ ว่า ฝ่ายวังหน้า. | วังหลวง | น. วังที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ในสมัยอยุธยาเรียกว่า พระราชวังหลวง, ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง. | วังหลัง | น. วังที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ในสมัยอยุธยามักตั้งอยู่ทางด้านหลังของพระราชวังหลวง. | วิมาน | น. ที่อยู่หรือที่ประทับของเทวดา | ไวกูณฐ์ | น. ที่ประทับพระนารายณ์ เช่น ผู้สิง ณ ไวกูณฐ์ (มัทนะ). (ส.) | ศิวาลัย | น. ที่ประทับของพระศิวะ | สิงหาสน์ | น. ราชอาสน์หรือที่ประทับ ทำเป็นแท่นเท้าสิงห์. | สิวาลัย | น. ศิวาลัย, ที่ประทับของพระศิวะ | สุจหนี่ | (สุดจะหฺนี่) น. เครื่องปูลาดชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทำด้วยผ้าเยียรบับไหมทอง สำหรับทอดถวายพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศ์ที่ทรงพระเศวตฉัตร ๗ ชั้น เป็นที่ประทับหรือทรงยืน เรียกว่า พระสุจหนี่. |
|
| | บุษบก | ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรูป เป็นต้น มณฑปขนาดเล็กแต่ด้านข้างโปร่ง [ศัพท์พระราชพิธี] | พระที่นั่งทรงธรรม | อาคารโถง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระเมรุ ใช้เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่่จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงบำเพ็ญพระราชกุศล และเป็นที่สำหรับพระสงฆ์สดับปกรณ์ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ [ศัพท์พระราชพิธี] | Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] |
| burn into | (phrv) ประทับตราบนตัวสัตว์ด้วยที่ประทับตราซึ่งเผาไหม้ให้ร้อน | impressible | (adj) ที่ซาบซึ้งใจ, See also: ที่ประทับใจ, Syn. moved, susceptible, touched | phenomena | (n) สิ่งที่ประทับใจ (คำนามพหูพจน์ของ phenomenon) | throne | (n) บัลลังก์, See also: ที่ประทับ, แท่น, ราชบัลลังก์, พระที่นั่ง, Syn. divan, gaddi, guddee, masnad | Vatican | (n) สำนักวาติกันซึ่งเป็นที่ประทับพระสันตะปาปา, See also: รัฐบาลของสันตะปาปา, Syn. Rome, papal palace | visa | (n) วีซ่า, See also: เอกสารอนุมัติที่ประทับตราบนหนังสือเดินทาง |
| impression | (อิมเพรซ' เชิน) n. รอยประทับ, รอยกด, รอยพิมพ์, รอยฝังใจ, สิ่งที่ประทับใจ, การประทับใจ., See also: impressional adj. impressionally adv., Syn. imprint, mark, print, effect, influence | phenomenon | (ฟินอม'มะนอน) n. ปรากฎการณ์, ข้อเท็จจริง, สิ่งที่ประทับใจ, บุคคลที่ประทับใจ, คนที่ยอดเยี่ยม pl. phenomena, Syn. fact | speciality | (สเพชชิแอล'ที) n. ความชำนาญพิเศษ, สิ่งที่ชำนาญเป็นพิเศษ, ลักษณะเฉพาะ, ลักษณะเฉพาะสาขา, เรื่องที่ทำได้ดีเป็นพิเศษ, เรื่องใหม่, สิ่งใหม่, เรื่องเฉพาะกิจ, นิติกรรม, สัญญาที่ประทับตรา, ข้อปลีกย่อย. adj. แสดงลักษณะเฉพาะ, เอกเทศ, Syn. specialty | vatican city | n. กรุงวาติกันในกรุงโรมเป็นที่ประทับขององค์สันตะปาปารวมทั้งโบสถ์St. Peterและสำนักวาติกัน | visa | (วี'ซะ) n. วีซ่า, เอกสารอนุมัติที่ประทับตราบนหนังสือเดินทาง (passport) สำหรับบุคคลประเทศหนึ่งไปยังหรือผ่านอีกประเทศหนึ่ง. vt. ประทับตราดังกล่าว, ให้เอกสารดังกล่าว |
| phenomenon | (n) ปรากฏการณ์, สิ่งที่ประทับใจ, ข้อเท็จจริง, ความประหลาด |
| 皇居 | [こうきょ, koukyo] (n) พระราชวังที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดิ (ในข่าวมักจะใช้ว่า พระราชวังอิมพีเรียล) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |