doc | (ดอค) n. ดูdoctor, คำสั้น ๆ ที่ใช้เรียกนายแพทย์ ทันตแพทย์ หรือสัตวแพทย์ abbr. II-deoxycorticosterone ด็อก <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า document มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลหรือ แฟ้มเอกสาร (.doc) ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ |
drive | (ไดรฟว) { drove, driving, drives } vt. ขับ, ขับไล่, ไล่, ผลัก, ไส, ผลักดัน, ขับขี่, ต้อน (สัตว์เลี้ยง) , ลอย (ซุง) vi. แล่น, พุ่ง, ขับรถ, ตี (ลูกกอล์ฟ, ตะปู) , มุ่งหมาย n. การขับ, การขับขี่, ทางรถ, สัตว์ที่ไล่ตาม, สัตว์ (ที่ต้อน) , การรุกทางทหาร, พลังงาน, แรงกระตุ้น, กลไกในการขับ, หน่วยขับหน่วยบันทึกไดร์ฟ <คำอ่าน>อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่อ่านและบันทึกข้อมูล เช่น หน่วยขับแถบบันทึก (tape drive) หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) |
drum | (ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum |
elite | (อีลีท', เอลีท') n. ชั้นยอด, หัวกะทิ, บุคคลที่ยอดเยี่ยม, สิ่งที่ได้เลือกสรรแล้ว, กลุ่มอิทธิพล adj. ชั้นยอด, หัวกะทิ, เป็นส่วนที่ดีที่สุด, Syn. gentry อีลีต <คำอ่าน>เป็นศัพท์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ดีดมาก่อน หมายถึงขนาดความกว้างของตัวอักษรที่พิมพ์ได้ 12 ตัว ต่อ 1 นิ้ว บางทียังนำมาใช้เป็นคำสั่งให้เลือกบนเครื่องพิมพ์ว่าต้องการ ให้เป็นอีลีตหรือไพกา pica ซึ่งหมายถึงอักษรขนาด 10 ตัวต่อนิ้ว ดู pica ประกอบ |
hd | abbr. hearingdistance, hodgkin's disease, heart disease, hemodialysis <คำย่อ>เอชดี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า high density แปลว่า ความหนาแน่นสูง ใช้บอกคุณสมบัติจานบันทึก (diskette) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด HD จะมีความจุถึง 1.2 เมกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู DD เปรียบเทียบ |
julian | (จูล'เยิน) adj. เกี่ยวกับหรือมีลักษณะของจูเลียส ซีซาร์ จูเลียน <คำอ่าน>เป็นวิธีคิดคำนวณวันที่อย่างง่าย ๆ วิธีหนึ่ง ระบบจูเลียนนี้กำหนดให้ทุก ๆ วันมีหมายเลขเฉพาะ เช่น วัน 1 แทนวันที่ 1 มกราคม เมื่อ 4713 ปีก่อนคริสตศักราช วัน 2448299 ก็แทนวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1991 เป็นต้น |
led | (เลด) v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ lead <คำย่อ>แอลอีดี <คำอ่าน>ย่อมาจาก light emitting diode (แปลว่า ไดโอดเปล่งแสง) เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ให้แสงสว่างได้เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่าน เช่น หลอดไฟฟ้า หรือ นาฬิกาที่แสดงตัวเลขบอกเวลาเป็นไฟฟ้า |
mat | (แมท) n. พรมเช็ดเท้า, เสื่อ, ที่รองจานอาหาร (หรือตะเกียง แจกันหรืออื่น ๆ) , พรมปูพื้น. vt. ปูพรม, ปูเสื่อ, ทำเป็นเสื่อหรือพรม. vi. พัวพัน, ยุ่งเกี่ยว- adj. ด้าน, ไม่เป็นเงา, n. ผิวหน้าที่ด้าน เอ็มเอที <คำอ่าน>ย่อมาจาก machine aided translation (การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ |
midi | (มิด'ดิ) n. =midiskirt มิดอี <คำอ่าน>ย่อมาจาก musical instrument digital interface หมายถึง มาตรฐานสำหรับการใส่รหัสเสียงเพลงให้อยู่ในรูปของตัวเลข ความแตกต่างของเสียง (sound) และเสียง เพลง (musical voice) ก็สามารถวัดและนำไปเก็บได้โดยใช้มาตราฐานมิดอีนี้ |
mis | (o) - Pref."เกลียด" เอ็มไอเอส <คำอ่าน>ย่อมาจาก management information system เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น |
nibble | (นิบ'เบิล) { nibbled, nibbling, nibbles } vi., vt. แทะ, ตอด, กินหรือตัดออกเป็นชิ้น เล็ก ๆ n. ชิ้นเล็กชิ้นน้อย, การแทะ, การตอด., See also: nibbler n. นิบเบิล <คำอ่าน>หมายถึง ครึ่งหนึ่งของหนึ่งไบต์หรือเท่ากับสี่บิต เพราะ 8 บิตเท่ากับ 1 ไบต์ ดู byte ประกอบ |
ole | (โอเล') n. การตะโกน, เปล่งเสียงที่แสดงถึงการเห็นด้วย โอเล <คำอ่าน>ย่อมาจาก object linking and embedding (แปลว่า การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุ) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือภาพหรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสาร ที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถเชื่อมโยงหรือยึดโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
paddle | (แพค'เดิล) n., vt., vi. พาย, แกว่ง, กวน, แกว่งน้ำ, เดินเตาะแตะ, เขี่ยด้วยมือ แพดเดิล <คำอ่าน>หมายถึง อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลอีกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับก้านควบคุม (joystick) ผิดกันแต่ว่า ที่จับของแพดเดิลนี้จะมีลักษณะเป็นปุ่มกลม ๆ แทนที่จะเป็นแท่งยาวแบบก้านควบคุม ปุ่มดังกล่าว จะใช้มือบิดหมุนไปในทิศทางต่าง ๆ ได้ มักใช้ในการเล่นเกมส์เท่านั้น, See also: paddler n. |
pal | (แพล) n. เพื่อน, เกลอ, พีเอแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก programmable array logic (แปลว่า แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมความจุสูงมาก (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
peek | (พีค) vi., n. แอบมอง, มองตามช่อง, มองแวบหนึ่ง, Syn. spy, peep, glance, peer พีก <คำอ่าน>เป็นคำสั่งหนึ่งของภาษาเบสิก BASIC ที่จะสั่งให้แสดงที่อยู่ที่แน่นอนของข้อมูลในหน่วยความจำ ส่วนมากจะใช้ เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงค่าที่เก็บอยู่ในนั้น ดู BASIC ประกอบ |
poke | (โพค) v. แหย่, กระทุ้ง, กระแทก, ปัก, เสียบ, ดัน, กระตุ้น, ค้นหา., See also: poke fun at หัวเราะ. n. การผลัก, การดัน, Syn. prod, โพก <คำอ่าน>เป็นคำสั่งหนึ่งในภาษาเบสิก BASIC ที่สั่งกำหนดให้เก็บค่าใดค่าหนึ่งในเลขที่อยู่ address ที่แน่นอนในหน่วยความจำได้ |
polymorphism | (พอลลีมอร'ฟิสซึม) n. ภาวะที่มีหลายรูปแบบ, See also: polymorphistic adj. โพลิมอฟิซึม <คำอ่าน>ในโปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming หมายถึง การใช้ชื่อเหมือนกันให้หมายถึงกระบวนการคนละอันในเนื้อหาที่ไม่เหมือนกัน เป็นต้นว่า คำว่า "แสดงผล" display อาจใช้หมายถึงการแสดงเป็นตัวหนังสือ เป็นกราฟ เป็นภาพ เป็นตารางจัดการ เป็นภาพเคลื่อนไหว เป็นเสียง ฯ รวมทั้งการแสดงบนจอภาพ บนกระดาษ วิธีการเช่นนี้ ใช้กันในเรื่องของโปรแกรมเชิงวัตถุ |
post | (โพสทฺ) n. เสา, หลัก, ตำแหน่ง, หน้าที่, ที่มั่น, การไปรษณีย์, ไปรษณียภัณฑ์, เที่ยวเมล์, ที่ทำการไปรษณีย์, vt. ปิดประกาศ, ประกาศ, ประจาน, จัดกำลัง, แต่งตั้งให้ประจำตำแหน่ง vt. ใส่จดหมายลงในตู้ไปรษณีย์, ส่งจดหมาย, ย้าย, แจ้ง. vi. ขี่ม้าเร็ว, เดินทางอย่างรวดเร็ว. adv. รีบเร่ง, โดยทางไปรษณีย์, โพสต์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก power-on self-test เป็นแบตเตอรี่ตัวหนึ่งในพีซี ที่จะทำหน้าที่ทันทีที่เมื่อมีการเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำการตรวจสอบขั้นต้นให้ว่า อุปกรณ์ ทุกชิ้นทำงานได้ตามปกติหรือไม่ หากมีส่วนใดไม่ปกติ ก็จะแสดงข้อความระบุความ ผิดพลาด (error message) ให้บนจอภาพ และจะรอจนกว่าจะมีการสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมีการแก้ไข เสร็จแล้วจึงจะทำงานต่อ |
postscript | (โพสทฺ'สคริพทฺ) n. ปัจฉิมลิขิต, ภาคผนวก, ภาพเสริมท้าย, คำเสริม ท้าย, โพสต์สคริปต์ <คำอ่าน>เป็นชื่อภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าของระบบอะโดบี (Adobe system) ใช้กับเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) หรือหน่วยแสดงผลที่มีความละเอียดสูงมาก ๆ การที่จะใช้ภาษาโพสต์สคริปต์ได้ จำเป็นต้องมีชอฟต์แวร์ตัวนี้ (PostScript printer driver) ใน โปรแกรมที่ใช้ หรือในระบบปฏิบัติการ ข้อดีอย่างยิ่งก็คือ สามารถทำงานจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop publishing) ได้ อันที่จริง การสร้างหรือออกแบบงานพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นงานแผ่นพับ รายงานประจำสัปดาห์ ใบปลิว ใบโฆษณา ฯ เราสามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ธรรมดาออกแบบก่อนได้ แล้วส่งไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์ชั้นดี ซึ่งจะทำให้ผลงานออกมาสวย และมีความคมชัดเหมือนกับเครื่องพิมพ์ใหญ่ ๆ |
prolog | (ue) (โพร'ลอก) n. บทนำ, คำนำ, อารัมภบท, การเปิดฉาก, เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน, การเริ่มต้น vt. นำ, เปิดฉาก , โปรลอก <คำอ่าน>ย่อมาจาก programming in logic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เหมาะกับงานวิจัย งานด้านการคำนวณต่าง ๆ หรืองานด้านปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence), Syn. introduction |
ql | คิวแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก query language เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาธรรมดามักใช้ในการสั่งเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหรือคลังข้อมูล (database) มาดูบนจอภาพหรือสั่งให้พิมพ์ออกมา |
quaddra | ควอดดรา <คำอ่าน>เป็นชื่อของคอมพิวเตอร์แมคอินทอชรุ่นหนึ่ง ใช้ตัวประมวลผลรุ่น 68040 ปฏิบัติงานได้เร็วมาก ราคาค่อนข้างแพง |
quicksort | ควิกซอร์ต <คำอ่าน>เป็นขั้นตอนวิธีแบบหนึ่งที่ใช้ในการเรียงข้อมูล C.A.R. Hoare เป็นผู้คิดขึ้น และพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1962 |
raster | แรสเตอร์ <คำอ่าน>หมายถึง การที่ลำแสงอิเล็กตรอนผ่านวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วส่งเข้าสู่จอภาพเช่นเดียวกับที่ใช้ในการกราดภาพ (scan) คือการยิงลำแสงอิเล็กตรอนให้ผ่านภาพไปอย่างต่อเนื่องทีละเส้น แล้วส่งขึ้นบนจอภาพ ตั้งแต่บรรทัดบนสุดจนถึงล่างสุด เราจะมองเห็นเส้นใหม่ก่อนที่เส้นเก่าจะหายไป เส้นที่มองเห็นนี้จะรวมกันเป็นภาพที่เราต้องการ เรียกว่าภาพ "แรสเตอร์" |
res edit | เรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู |
rf | อาร์เอฟ <คำอ่าน>ย่อมาจาก radio frequency หมายถึง คลื่นความถี่วิทยุ |
rfi | อาร์เอฟไอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก radio frequency interference หมายถึง การรบกวนของคลื่นวิทยุในหลาย ๆ ความถี่ |
rgb | อาร์จีบี <คำอ่าน>ย่อมาจาก red, green, blue คือ กระบวนการผสมสีจากแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน การใช้สัดส่วนของสี 3 สี นี้ต่างกัน จะทำให้เกิดเป็นสีต่าง ๆ ได้อีกมากมายหลายร้อยสีดู cmyk ประกอบ |
risc | ริสก์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก reduced instruction set computer (แปลว่า คอมพิวเตอร์ลดทอนคำสั่ง) เป็นคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งซึ่งปฏิบัติการได้เร็วมาก ๆ เพราะกำหนดให้ตัวประมวลผลแบบจุลภาค (microprocessor) แต่ละตัวทำงานจำกัดเฉพาะบางอย่าง |
rom bios | รอมไบออส <คำอ่าน>ย่อมาจาก read only memory basic input/ output system หมายถึงไบออสที่อยู่ในรอม ซึ่งจะทำหน้าที่ทันทีที่เปิดไฟที่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการทดสอบฮาร์ดแวร์ส่วนกลาง ตรวจสอบหน่วยความจำ หน่วยบันทึก ตรวจหาโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ต้องใช้ในการเริ่มเครื่องใหม่จนพบโปรแกรม autoexec.bat จึงจะถือว่าหมดหน้าที่ ถ้าไม่พบ ก็จะแสดงคำสั่ง date และ time เมื่อตอบคำถามเรียบร้อย ก็จะปรากฏเครื่องหมาย > (prompt) อยู่หลังชื่อหน่วยบันทึก จึงถือว่าหมดหน้าที่ หน่วยความจำส่วนนี้ จะเก็บคำสั่งทั้งหมดไว้ได้แม้ว่าจะปิดสวิตซ์ที่คอมพิวเตอร์ดู BIOS ประกอบ |
rpg | อาร์พีจี <คำอ่าน>ย่อมาจาก report program generator เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เหมาะกับงานด้านธุรกิจ คล้ายกับภาษาโคบอล (COBOL) โดยเฉพาะการออกแบบรายงานต่าง ๆ |
rpm | อาร์พีเอ็ม <คำอ่าน>ย่อมาจาก revolutions per minute หมายถึงจำนวนครั้งที่หมุนรอบตัวเองต่อนาที ใช้เป็นหน่วยวัดความเร็วของการหมุนของอุปกรณ์บางอย่าง เป็นต้นว่า จานบันทึก |
rtf | อาร์ทีเอฟ <คำอ่าน>ย่อมาจาก rich text format เป็นรูปแบบของการเก็บข้อมูลที่เป็นเอกสาร (text) ในรหัสแอสกี (ASCII) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หลายโปรแกรมจะเรียกข้อมูลที่เก็บในรูปแบบนี้มาอ่านได้ใช้การได้ แต่ต้องกำหนดแบบตัวอักษรให้ก่อน มักใช้นามสกุล (file name) ว่า .RTF |
s-100 | เอส-ร้อย <คำอ่าน>หมายถึง แผ่นวงจรขยายแบบหนึ่งซึ่งใช้กับโปรแกรมระบบซีพีเอ็ม (CP/M) ปัจจุบันกลายเป็นของล้าสมัยไปแล้วดู CP/M ประกอบ |
saa | เอสเอเอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก system application architecture เป็นมาตรฐานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ที่บริษัท ไอบีเอ็มเป็นผู้กำหนดไว้ หลายบริษัทเริ่มต้นด้วยการยึดแนวทางนี้ และก็ได้พัฒนาตนเองจนก้าวออกไปได้ไกลกว่ามาตรฐานเดิมมาก |
sam | แซม <คำอ่าน>ย่อมาจาก sequential access method แปลว่า วิธีเข้าถึงโดยลำดับ เป็นวิธีเก็บข้อมูลและดึงข้อมูลมาใช้วิธีหนึ่ง หมายถึง การเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลหรือสื่อบางชนิด เช่น แถบแม่เหล็ก (tape) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้โดยเรียงไปตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลาย กว่าจะเข้าถึงข้อมูล ก็ย่อมจะเสียเวลานาน |
sans serif | แซนเซอริฟ <คำอ่าน>เป็นแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่งที่ไม่มีส่วนงอนโค้งของส่วนปลายสุดของตัวอักขระ ส่วนงอนโค้งนี้ในภาษาอังกฤษ เรียกกันว่า serif ฉะนั้น sans serif ก็หมายความว่าปราศจากส่วนนี้ (sans เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่า ปราศจาก) แบบอักษรชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นตัวตรง ๆ เหมาะสำหรับใช้พิมพ์ชื่อเรื่อง พาดหัวตัวโต ๆ ว่ากันว่าให้อ่านง่าย ในระบบวินโดว์ของพีซี กรอบสนทนาทั้งหมดใช้แบบอักษรนี้ ฉะนั้น ต้องระวังอย่าลบแบบอักษรนี้ออกจากหน่วยความจำโดยเด็ดขาด ดู serif เปรียบเทียบ |
scsi | เอสซีเอสไอ <คำอ่าน>สกัสซี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า small computer system interface (แปลว่า ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก) หมายถึงสายที่เชื่อมต่อระหว่างบริภัณฑ์รอบข้าง (peripherals) เช่น ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) เครื่องจับภาพ (scanner) หน่วยบันทึก (disk drive) กับ ตัวซีพียู (CPU) |
simm | ซิม <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า single in-line memory module หมายถึงแผงวงจรขนาดเล็ก ที่บรรจุชิปจำนวนมากมายไว้ใช้เป็นหน่วยความจำได้ เหมาะที่จะใช้เมื่อต้องการเพิ่มหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพราะเพียงนำแผ่นวงจรซิมนี้มาเสียบเข้าไปในช่องเสียบ (slot) ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นดู SIP เปรียบเทียบ |
sip | (ซิพ) vt., vi. จิบ, ดื่มทีละนิด, ดื่มจิบ n.. การจิบ, การดื่มทีละนิด, การดื่มจิบ, ปริมาณเล็กน้อยของการจิบ , ซิป <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า single in-line processor หมายถึง แผ่นวงจรขยายหน่วยความจำคล้าย ๆ กับ SIMM ผิดกันแต่ว่า SIP นั้นประกอบด้วยเข็มเล็ก ๆ เรียงกันเหมือนหวี ซึ่งมาต่อเอาเองไม่ได้ ต้องติดตั้งมาจากโรงงานเลยดู SIMM เปรียบเทียบ, Syn. tipple, nip, imbibe |
ss/dd | เอส-เอส/ดี-ดี <คำอ่าน>ย่อมาจาก single sided / double density เป็นจานบันทึกข้อมูลรุ่นเก่าซึ่งไม่เป็นที่นิยมใช้กันแล้วในปัจจุบัน จานแบบนี้จะบันทึกข้อมูลลงได้เพียงด้านเดียว (single sided) แม้จะอัดให้แน่นได้ถึงสองเท่าตัวของความอัดแน่นอย่างปรกติก็ตาม (double density) จานบันทึกขนาด 51/4 นิ้ว จุได้เพียง 180 เค (180, 000 ตัวอักขระ) ปัจจุบันจานบันทึกที่ใช้ทั่วไป จะเป็นประเภท DS/DD (double sided/double density) หรือ HD (high density) เพราะมีความจุมากกว่ามาก |
ss/sd | เอสเอส/เอสดี <คำอ่าน>ย่อมาจาก single sided / single density เป็นจานบันทึกข้อมุลรุ่นเก่าที่ล้าสมัยยิ่ง เพราะนอกจากจะบรรจุข้อมูลได้เพียงหน้าเดียวแล้ว ยังจุข้อมูลได้เพียงเท่าเดียวคือ 90 K (90, 000 ตัวอักขระ) เท่านั้น |
super vga | ซุเปอร์วีจีเอ <คำอ่าน>มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า SVGA (อ่านว่า เอสวีจีเอ) จอชนิดนี้ทำงานเร็วกว่าจอวีจีเอ (VGA) ธรรมดา ดีกว่าจออีจีเอ (EGA) และซีจีเอ (CGA) มาก สีสวย คมชัด ดู CGA, EGA, VGA ประกอบ |
tcp/ip | ทีซีพี/ไอพี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า transmission control protocol / internet protocol แปลว่า กฏเกณฑ์การควบคุมการส่งผ่านตามมาตรฐานอินเตอร์เน็ต หมายถึง มาตรฐานที่สร้างขึ้นในเรื่องของการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างเครื่องปลายทาง (terminal) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือตัวเลียนแบบ |
times new roman | ไทมส์นิวโรมัน <คำอ่าน>เป็นชื่อแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง เป็นที่นิยมใช้กันมาก เพราะสวย และอ่านง่าย เป็นแบบหนึ่งที่ให้มาพร้อมกับระบบวินโดว์ |
topology | โทโพโลจี <คำอ่าน>คำว่า topol ในแวดวงของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นหมายถึง แบบโครงสร้างของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (local area network) พูดง่าย ๆ ก็คือ หมายถึงแบบของโครงสร้างนั่นเอง เช่น เป็นแบบรวมศูนย์ (centralized) หรือแบบแยกศูนย์ (decentralized) ส่วนรูปแบบการจัดเครือข่าย เป็น แบบวงแหวน (ring) หรือแบบดาว (star) ฯ |
track ball | แทร็คบอลล์ <คำอ่าน>ลูกกลมควบคุมหมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้นำเข้าข้อมูล ใช้ปฏิบัติงานได้ในทำนองเดียว กับเมาส์ นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (notebook) อยู่ใกล้ ๆ กับแป้นพิมพ์ ช่วยทำให้โน้ตบุ๊กมีขนาดกระทัดรัดขึ้น มีลักษณะเป็นลูก กลม ๆ หมุนรอบตัวได้เหมือนลูกกลมที่อยู่ใต้เมาส์นั่นเอง |
tron | ตรอน <คำอ่าน>ย่อมาจาก the real time operating system nucleus หมายถึงระบบปฏิบัติการ ที่เน้นการทำงานแบบทันที (real time) มีผู้นำมาใช้ในการพัฒนาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ กล่าวคือ นำเอาประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบมารวมกัน |
true basic | ทรูเบสิก <คำอ่าน>เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เป็นภาษาโครงสร้างของภาษาเบสิก ได้รับการพัฒนามาจากภาษาเบสิกเมื่อ ค.ศ.1983 ไม่ต้องมีเลขหมายประจำบรรทัด (line number) |
tsr | ทีเอสอาร์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก terminate and stay resident program แปลว่า โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ หมายถึง โปรแกรมชนิดพิเศษที่จะอยู่ในแรม (RAM) เสมอ สามารถเรียกหาได้โดยการกดแป้นคำสั่งที่กำหนดไว้เป็นพิเศษ การเรียกโปรแกรมประเภทนี้ จะเรียกได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะกำลังทำโปรแกรมอะไรอยู่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน เรามีระบบวินโดว์ ซึ่งทำให้เราเรียกโปรแกรมมาใช้พร้อม ๆ กันหลายโปรแกรมได้อยู่แล้ว โปรแกรมประเภท TSR จึงไม่เป็นที่รู้จักอีกต่อไป |