Heavy Oil | น้ำมันดิบที่มีความหนาแน่นสูง, Example: มีค่า API น้อยกว่า 25 องศา จะมีความหนืดสูงถึง 10, 000 cp มีสีดำ มีแอสฟัลและกำมะถันปนอยู่ในปริมาณสูง ในการผลิต heavy oil จะต้องใช้วิธีการใช้ความร้อนช่วยการผลิต (thermal recovery method) เช่น การอัดน้ำร้อน (steam flood) เพื่อให้น้ำมันหลอมละลายจะได้เคลื่อนที่ได้ง่าย [ปิโตรเลี่ยม] |
Light Oil | น้ำมันดิบที่มีความหนาแน่นน้อยและมีค่า API อยู่ระหว่าง 35-45 องศา , น้ำมันดิบที่มีความหนาแน่นน้อยและมีค่า API อยู่ระหว่าง 35-45 องศา ภายใต้แสงอัลตราไวโอเลต (ultraviolet light) จะเป็นสีขาว [ปิโตรเลี่ยม] |
Ionospheric electron density | ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในไอโอโนสเฟียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nuclear gauge | เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์, นิวเคลียร์เกจ, เครื่องวัดและควบคุมการผลิตในอุตสาหกรรม ทำงานโดยการให้รังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึกผ่านออกมาทางช่องผ่านไปยังวัสดุที่ต้องการวัด และมีหัววัดรังสีทำหน้าที่ตรวจวัดความเข้มของรังสี หรือจำแนกชนิดและขนาดพลังงานของรังสีซึ่งเป็นผลจากอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุนั้น ค่าที่วัดได้จะถูกใช้เป็นตัวแปรในอุปกรณ์ควบคุมกระบวนการผลิต เช่น ใช้ควบคุมความหนาแน่นของวัสดุในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เหล็ก ซีเมนต์ ควบคุมความหนาของแผ่นวัสดุในอุตสาหกรรมกระดาษ พลาสติก ควบคุมความชื้นของวัสดุในอุตสาหกรรมถ่านหิน เหล็ก แก้ว และควบคุมระดับของเหลวในอุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron density | ความหนาแน่นนิวตรอน, จำนวนของนิวตรอนต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรภายในแกนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ <br>(ดู neutron flux ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
ICRU sphere | ทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์] |
Bone density | ความหนาแน่นของกระดูก [TU Subject Heading] |
Traffic density | ความหนาแน่นในการจราจร [TU Subject Heading] |
Bulk Density | ความหนาแน่นทั้งก้อน, Example: ความหนาแน่นของสาร วัดในรูปของสัดส่วนระหว่างมวลต่อปริมาตร รวมทั้งช่องว่าง [สิ่งแวดล้อม] |
Bulk Density | ความหนาแน่นรวม, Example: อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักแห้งของดิน กับปริมาตรรวม (bulk volume) ในดิน [สิ่งแวดล้อม] |
Grain Density ; Particle Density | ความหนาแน่นอนุภาค, Example: อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของอนุภาคดินแห้ง กับปริมาตรของอนุภาคนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
Density Index | ดัชนีความหนาแน่น, Example: เป็นดัชนีที่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรกับพื้นที่ที่ประชากรอาศัยอยู่ คำนวณได้จากจำนวน ประชากรทั้งหมดหารด้วยจำนวนพื้นที่ที่ประชากรนั้นอาศัยอยู่ [สิ่งแวดล้อม] |
Comparative Density Index | ดัชนีความหนาแน่นเปรียบเทียบ, Example: เป็นดัชนีที่ใช้ในการเปรียบเทียบแบบแผนการ ตั้งถิ่นฐานของประชากรหลายกลุ่ม ดัชนีนี้มีหลายตัว เช่น ความหนาแน่นของ ประชากรต่อหน่วยพื้นที่ที่สามารถเพาะปลูกได้ (density of population per unit of cultivable area) ความหนาแน่นของเกษตรกรต่อพื้นที่ที่สามารถ เพาะปลูกได้ (Density of agricultural popultion per cultivable area) [สิ่งแวดล้อม] |
Sludge Density Index | ดัชนีความหนาแน่นสลัดจ์, Example: ส่วนกลับของดัชนีปริมาตรสลัดจ์ (SVI) คูณด้วย 100 [สิ่งแวดล้อม] |
Field or Fresh latex | น้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง] |
Specific gravity | ความถ่วงจำเพาะ สามารถคำนวนได้จากอัตราส่วนของความหนาแน่นของสารหรือวัสดุหารด้วยความหนา แน่นของน้ำ ปกติจะเท่ากับความหนาแน่นของสารนั้น แต่ไม่มีหน่วย (เนื่องจากสมมติฐานที่ว่าน้ำมีความหนาแน่นเท่ากับ 1.00 g/mL) [เทคโนโลยียาง] |
Cell Density | การวัดความหนาแน่นของเชื้อ [การแพทย์] |
Cellularity | ความหนาแน่นของเซลล์ [การแพทย์] |
Densitometry | ความหนาแน่น, การวัด [การแพทย์] |
Density | ทึบ, ความหนาแน่น, เงาทึบ, ความแน่น, เดนซิตี, ความทึบ [การแพทย์] |
Density Gradient | ความหนาแน่นต่างกัน, ความหนาแน่นของสาร [การแพทย์] |
Density Method | วิธีหาความหนาแน่น [การแพทย์] |
Density, Bulk | ค่าความหนาแน่นปรากฏ, บัลคเดนซิตี้ [การแพทย์] |
Density, Buoyant | ความหนาแน่นในการลอยตัว, ความหนาแน่นสำหรับการลอยตัว [การแพทย์] |
Density, Charge | ความหนาแน่นของประจุ [การแพทย์] |
Density, Optical | ความทึบแสง, ความหนาแน่นออพติคาล [การแพทย์] |
Density, Optical | ความหนาแน่นออพติคอล, ความทึบแสง [การแพทย์] |
Density, Optical | ความหนาแน่นทัศนะ [การแพทย์] |
Density, Probability | ความหนาแน่นแห่งความน่าจะเป็น [การแพทย์] |
Density, Relative | ความหนาแน่นสัมพัทธ์ [การแพทย์] |
Density, True | ค่าความหนาแน่นที่แท้จริง [การแพทย์] |
Electron Cloud | เมฆอิเลกตรอน, ความหนาแน่นของอิเลกตรอน, อีเล็คตรอนคลาวด์, หมอกอีเลคตรอน [การแพทย์] |
Electron Density | ความหนาแน่นของอิเลกตรอน [การแพทย์] |
Electron Density, Lowest | ค่าความหนาแน่นอีเลคตรอนต่ำสุด [การแพทย์] |
Frequency Density | ความหนาแน่นของความถี่ [การแพทย์] |
Bulk density of soil | ความหนาแน่นรวมของ ดิน [อุตุนิยมวิทยา] |
Actual density of soil | ความหนาแน่นของเนื้อ ดิน [อุตุนิยมวิทยา] |
drainage density | drainage density, ความหนาแน่นการระบายน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
cropping intensity | cropping intensity, ความหนาแน่นของการปลูกพืช [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
dry density | dry density, ความหนาแน่นแห้ง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
population density | ความหนาแน่นของประชากร, จำนวนประชากรต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุชนิดหนึ่ง เลขอะตอม 1 สัญลักษณ์คือ H เป็นแก๊สที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด ติดไฟได้ดี จุดหลอมเหลว -259.14oC จุดเดือด -252.7oC ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โพรเทียม ดิวเทอเรียม และทริเทียม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
helium | ฮีเลียม, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 2 สัญลักษณ์ He เป็นแก๊สเฉื่อยไม่มีสีและกลิ่น ไม่ติดไฟ มีความหนาแน่นน้อย จุดเดือด -268.94oC ใช้บรรจุในลูกบัลลูน และผสมกับออกซิเจนในเครื่องช่วยหายใจของนักประดาน้ำ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
compression | การอัด, ส่วนอัด, 1.การอัด: การทำให้โมเลกุลของอากาศอัดตัวเข้าชิดกัน 2.ส่วนอัด: บริเวณหนึ่งของตัวกลางซึ่งมีความหนาแน่นของโมเลกุลมากกว่าบริเวณใกล้เคียงในขณะที่มีคลื่นเคลื่อนที่อยู่ในตัวกลางนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
specific gravity | ความถ่วงจำเพาะ, ความถ่วงจำเพาะของสารใด ๆ คืออัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสารนั้นต่อความหนาแน่นของน้ำ ณ อุณหภูมิหนึ่ง (ตามปกติเป็นอุณหภูมิ 20°C) ความถ่วงจำเพาะมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ความหนาแน่นสัมพัทธ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
magnetic flux density | ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก, ปริมาณเส้นแรงแม่เหล็กต่อหน่วย พื้นที่ที่เส้นแรงแม่เหล็กผ่านตั้งได้ฉาก ณ ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง มีหน่วยเป็นเวเบอร์ต่อตารางเมตร หรือเทสลา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
tesla | เทสลา, หน่วยของความหนาแน่นฟลักซ์ แม่เหล็ก ใช้สัญลักษณ์ T [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
weber | เวเบอร์, หน่วยของฟลักซ์แม่เหล็ก ใช้สัญลักษณ์ Wb สนามแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก 1 เทสลา จะมีจำนวนฟลักซ์แม่เหล็ก 1 เวเบอร์ต่อตารางเมตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
rarefaction | ส่วนขยาย, บริเวณหนึ่งของตัวกลางซึ่งมีความหนาแน่นของโมเลกุลน้อยกว่าบริเวณใกล้เคียงในขณะที่มีคลื่นตามยาวเคลื่อนที่อยู่ในตัวกลางนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
atmosphere | บรรยากาศ, 1.อากาศที่ห่อหุ้มโลก ประกอบด้วยออกซิเจน 1 ใน 5 ส่วน ไนโตรเจน 4 ใน 5 ส่วนนอกจากนั้นยังมีแก๊สอื่น ๆ อีกเป็นจำนวนเล็กน้อย เช่น คาร์บอนไดออกไซด์อาร์กอน ซีนอน เป็นต้น บรรยากาศมีอยู่สูงขึ้นไปประมาณ 1, 500 กิโลเมตร ซึ่งจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง ตามลำดับ และมีอุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |