packing list | เอกสารแสดงรายการบรรจุหีบห่อที่ผู้ขายจัดทำให้ผู้ซื้อ คล้ายกับ บัญชีราคาสินค้าของผู้ขาย (Commercial Invoice) เพียงแต่ไม่มีราคาสินค้าแสดงไว้ มีแต่รายการของปริมาณ น้ำหนักเฉพาะสินค้า และน้ำหนักรวมของแต่ละหีบห่อกำกับไว้ |
|
| | นิธาน | น. การฝังไว้, การบรรจุไว้ | บุคลากร | (บุกคะลากอน) น. ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล เช่น ในการบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนขั้น เลื่อนเงินเดือน เป็นต้น |
| placement | ๑. การวางตำแหน่ง, การบรรจุเข้าทำงาน๒. การนำหลักทรัพย์ออกวางตลาด (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | packaging | การบรรจุ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | placement | ๑. การบรรจุเข้าทำงาน๒. การวางตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | packing density | ความหนาแน่นการบรรจุ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | replacement | ๑. การปรับให้คืนสภาพเดิม (ก. แพ่ง)๒. การเข้าสวมตำแหน่งแทน (ก. ปกครอง)๓. การบรรจุกำลังพลทดแทน (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | IPL (initial program load) | ไอพีแอล (การบรรจุโปรแกรมเริ่มต้น) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | initial program load (IPL) | การบรรจุโปรแกรมเริ่มต้น (ไอพีแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
| Packing | การบรรจุหีบห่อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Packaging | การบรรจุหีบห่อ [เศรษฐศาสตร์] | Conditioning waste | การปรับสภาพกากกัมมันตรังสี, กระบวนการปรับสภาพกากกัมมันตรังสีที่อยู่ภายในภาชนะบรรจุ ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมสำหรับการดำเนินการต่อไป เช่น การขนส่ง การเก็บพัก และ/หรือ การขจัดกากกัมมันตรังสี การปรับสภาพกากกัมมันตรังสี ได้แก่ การทำให้อยู่ในสภาพของแข็ง การหีบห่อ และการบรรจุในภาชนะหลายชั้น [นิวเคลียร์] | Waste conditioning | การปรับสภาพกากกัมมันตรังสี, กระบวนการปรับสภาพกากกัมมันตรังสีที่อยู่ภายในภาชนะบรรจุ ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมสำหรับการดำเนินการต่อไป เช่น การขนส่ง การเก็บพัก และ/หรือ การขจัดกากกัมมันตรังสี การปรับสภาพกากกัมมันตรังสี ได้แก่ การทำให้อยู่ในสภาพของแข็ง การหีบห่อ และการบรรจุในภาชนะหลายชั้น [นิวเคลียร์] | Unsealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เช่น วัสดุกัมมันตรังสีไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะหรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจาย หกเปรอะเปื้อน ซึมรั่ว ออกจากภาชนะที่บรรจุได้ [นิวเคลียร์] | Nuclear device | นิวเคลียร์ดีไวซ์, วัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใช้ในทางสันติ การทดสอบ หรือ การทดลอง คำนี้ใช้เพื่อให้แตกต่างจากอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งมีการบรรจุพร้อมสำหรับการขนส่งหรือใช้ในการทหาร <br>(ดู nuclear weapon ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Chip scale packaging | การบรรจุชิปวงจรรวม [TU Subject Heading] | Downloading | การบรรจุลง [TU Subject Heading] | Downloading of data | การบรรจุลงข้อมูล [TU Subject Heading] | Electronic packaging | การบรรจุทางอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading] | Food packaging machinery industry | อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการบรรจุภัณฑ์อาหาร [TU Subject Heading] | Packaging | การบรรจุภัณฑ์ [TU Subject Heading] | Packaging machinery | เครื่องจักรกลการบรรจุภัณฑ์ [TU Subject Heading] | Packing for shipment ; Packing | การบรรจุหีบห่อ [TU Subject Heading] | Pakaging machinery industry | อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลการบรรจุภัณฑ์ [TU Subject Heading] | Conditioning, waste | การปรับสภาพกากกัมมันตรังสี, กระบวนการปรับสภาพกากกัมมันตรังสีที่อยู่ภายในภาชนะบรรจุ ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมสำหรับการดำเนินการต่อไป เช่น การขนส่ง การเก็บพัก และ/หรือ การขจัดกากกัมมันตรังสี การปรับสภาพกากกัมมันตรังสี ได้แก่ การทำให้อยู่ในสภาพของแข็ง การหีบห่อ และการบรรจุในภาชนะหลายชั้น [นิวเคลียร์] | unsealed source | ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก ได้แก่ วัสดุกัมมันตรังสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะ หรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจายหกเปรอะเปื้อน ซึมรั่วออกจากภาชนะบรรจุได้ [พลังงาน] | Bottling | การบรรจุ [การแพทย์] | Drug Packaging | ยา, การบรรจุหีบห่อ [การแพทย์] | Filling | การบรรจุ [การแพทย์] | Filling Line | สายการบรรจุ, สายบรรจุ [การแพทย์] | Filling, Gravity | การบรรจุแบบอาศัยแรงดึงดูดของโลก [การแพทย์] | Filling, Pressure | การบรรจุแบบใช้แรงดัน [การแพทย์] | food preservation | การถนอมอาหาร, การเก็บรักษาอาหารโดยยังคงรักษาสมบัติของอาหารนั้นไว้ให้ได้มากที่สุด เช่น การแช่แข็ง การตากแห้ง การบรรจุกระป๋อง การอาบรังสี เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | | boxing | (n) การบรรจุกล่อง, See also: การใส่กล่อง, การบรรจุลงกล่อง | excelsior | (n) ไม้ที่ใช้ในการบรรจุหีบห่อเพื่อกันไม่ให้ของแตกหัก | impletion | (n) การเติม, See also: การใส่, การบรรจุ | interment | (n) การฝังศพ (คำทางการ), See also: การฝัง, การบรรจุศพ, Syn. burial, entombment, Ant. disinterment | packing | (n) การห่อ, See also: การบรรจุหีบห่อ, สิ่งที่ใช้ห่อสินค้า, การห่อสินค้า, กระบวนการบรรจุหีบห่อสินค้า, Syn. aggregation, collection, containing | stowage | (n) การบรรจุ, See also: การใส่, Syn. loading, packing |
| allocation | (แอลโลเค' เชิน) n. การจัดสรร, การแบ่งสรร, การบรรจุ, ภาวะที่ถูกจัดสรรหรือแบ่งสรร, ส่วนแบ่ง, การลงบัญชี, Syn. allotment | bagging | n. วัตถุที่ใช้ทำถุง, การบรรจุลงถุง | bootstrap | n. รูเชือกผูกรองเท้า ปลุกเครื่องเรียกย่อ ๆ ว่า boot1. หมายถึงการเปิดเครื่องด้วยการบรรจุซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) เข้าไปในหน่วยความจำหลัก (main memory) 2. อาจหมายถึงเทคนิควิธีในการบรรจุโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง (program) ทั้งปวงที่มีอยู่ ลงไปในหน่วยความจำหลัก | boxing | (บอค'ซิง) n. วัตถุที่ใช้ทำกล่องหีบหรือลัง, การบรรจุกล่อง, หีบหรือลัง , การต่อยมวย, การชกมวย | cam | (แคม) 1. n. ลูกเบี้ยว, ล้อนูน 2. ย่อมาจาก computer-aided manufacturing (การผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงานแต่ละส่วน เช่น การนับและการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM | canning | (แคน'นิง) n. การบรรจุลงกระป๋อง | computer aided manufactur | การผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAM (อ่านว่า แคม) มักใช้คู่กับแคด หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงาน แต่ละส่วน เช่น การนับ และการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM | containment | (คันเทน'เมินทฺ) n. การบรรจุ, การใส่, การจำกัด, การยับยั้ง, Syn. restraint | earom | (อีรอม) ย่อมาจาก electrically alterable read - only memory แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดแก้ไขได้) เป็นรอม (ROM) ชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้ายออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่า อีพรอม (EPROM) มากดู ROM และ EPROM ประกอบ | eerom | ย่อมาจาก electrically erasable read only memory (แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้า) เป็นรอมชนิดหนึ่งซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้าย ออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่า อีพรอม (EPROM) มาก มีความหมายเหมือน EAROMดู ROM และ EPROM ประกอบ | eighty column card | บัตร 80 คอลัมน์บัตรทำด้วยกระดาษ มีไว้ใช้สำหรับบรรจุข้อมูล โดยปกติจะต้องมีรูปร่างและขนาดตามมาตรฐานที่กำหนด (71/8 นิ้ว +31/4 นิ้ว) จะต้องทำด้วยกระดาษชนิดพิเศษที่มีความต้านทานความชื้นสูง และมีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในอากาศ ในการบรรจุข้อมูลนั้น ใช้วิธีเจาะรูตามคอลัมน์ของบัตรซึ่งจะมี 80 คอลัมน์ (จึงเรียกกันว่า บัตร 80 คอลัมน์) แต่ละคอลัมน์มี 12 แถว ในการเจาะนั้นรูหนึ่งรูในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวเลข (0-9) และรูสองรูหรือมากกว่าในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร (A-Z) หรือ อักขรพิเศษอื่น ๆ เมื่อใส่บัตรเข้าเครื่อง รูเหล่านี้จะถูกแปรงไฟฟ้าปัดผ่าน ทำให้เครื่อง สามารถอ่านข้อมูลเข้าไปได้ บัตรคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กันมากคือ บัตรที่ ดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Hermann Hollerith) แห่งบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) เป็นผู้คิดขึ้น บางทีจึงนิยมเรียกกันว่า บัตรไอบีเอ็ม (IBM card) หรือ บัตรฮอลเลอริท (Hollerith card) ดู card ประกอบ | electrically alterable re | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดแก้ไขได้ใช้ตัวย่อว่า EAROM (อ่านว่าอีรอม) เป็นรอม (ROM) ชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้ายออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่าอีพรอม (EPROM) มากดู ROM และ EPROM ประกอบ | ibg | (ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ | impletion | (อิมพลี' เชิน) n. การใส่, การบรรจุ, ความอุดมสมบูรณ์ | interblock gap | ช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ | interrecord gap | ช่องว่างระหว่างระเบียนใช้ตัวย่อว่า IRG ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ | irg | (ไออาร์จี) ย่อมาจาก interrecord gap ที่แปลว่า ช่องว่างระหว่างระเบียน ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ | stowage | (สโท'อิจฺ) n. การเก็บ, การเก็บรักษา, การบรรจุ, การใส่, สิ่งที่เก็บใส่, สิ่งที่บรรจุ, ค่าบรรจุ, ค่าคลังสินค้า, ค่าโกดัง, สถานที่บรรจุ | stuffing | (สทัฟ'ฟิง) n. การยัด, การอัด, การบรรจุ, การทำให้เต็ม, การทำให้อม, การยัดไส้, สิ่งยัดไส้, สิ่งที่ใช้ยัดไส้, สัตว์ตายที่ถูกยัดไส้ (สตัฟ) ไว้ดูเล่น, เครื่องอัดกันน้ำหรือของเหลวรั่ว, Syn. internal parts | tpi | ร่องต่อนิ้วย่อมาจากคำว่า tracks per inch จำนวนร่องต่อนิ้ว ใช้เป็นหน่วยวัดการบรรจุข้อมูลบนจานบันทึก ดู track ประกอบ | word wrap | ยกคำไปขึ้นบรรทัดใหม่หมายถึง การบรรจุข้อความลงในขอบเขตหนึ่ง ๆ เมื่อถึงจุดสิ้นสุดเขตที่กำหนด ข้อความก็จะไหลลงมาขึ้นบรรทัดใหม่โดยอัตโนมัติ กล่าวคือ ไม่จำเป็นต้องกดแป้น <RETURN> เมื่อสิ้นสุดบรรทัดหนึ่ง ๆ เหมือนการใช้พิมพ์ดีดโดยจะไหลมาลงบรรทัดล่างเป็นคำ (ลงมาทั้งคำ) การทำเช่นนี้ จะทำให้ข้อความที่อยู่ในบรรทัดล่างไหลกลับขึ้นไปบรรทัดบนได้เอง ถ้ามีที่ว่าง (เช่น มีการลบข้อความบางตอนในบรรทัดบนออก) |
| interment | (n) การฝังศพ, การบรรจุอัฐิ | load | (n) ของบรรทุก, เครื่องบรรทุก, ภาระ, การบรรจุกระสุนปืน, น้ำหนักบรรทุก | placement | (n) การวาง, การบรรจุ, การให้ตำแหน่ง, การกำหนด | stuffing | (n) การอัด, การยัด, การบรรจุ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |