“Demure” : The word redefines elegance and confidence in 2024 (เรียนภาษาอังกฤษ in English) “Demure” เป็นคำศัพท์ที่ได้รับความสนใจจากโซเชียลมีเดียโดยเฉพาะ Tiktok ซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หันมาให้ความสำคัญกับความเรียบง่าย ความมั่นใจ และความใส่ใจในรายละเอียดทั้งในรูปลักษณ์และพฤติกรรม โดยคำนี้ได้รับการนิยามใหม่จากความหมายดั้งเดิมที่เกี่ยวกับความสุภาพถ่อมตัวและความสงวนท่าที ให้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความสง่างามที่มาพร้อมความมั่นใจอย่างมีชั้นเชิงในโลกที่เต็มไปด้วยความโดดเด่นฉูดฉาด การเปลี่ยนแปลงนี้ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างมากจากเทรนด์ในโซเชียลมีเดียและทัศนคติของสังคมที่พัฒนาไป ชี้ให้เห็นถึงการยอมรับในรูปแบบการแสดงตัวตนที่แฝงด้วยความลึกซึ้งและงดงามในปัจจุบัน The word “demure” was selected as Dictionary.com’s 2024 Word of...
Search result for

-ท ๒-

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ท ๒-, *ท ๒*
(Few results found for -ท ๒- automatically try *ท ๒*)
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ท ๒ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์.
ท ๒น. ผู้เป็นใหญ่ เช่น ท้าวไท.
ท ๒, บท- ๒(บด, บดทะ-) น. เท้า, รอยเท้า, เช่น จตุบท, ในบทกลอนใช้ประสมกับคำอื่น ๆ หมายความว่า เท้า คือ บทบงกช บทบงสุ์ บทมาลย์ บทรัช บทเรศ บทวเรศ บทวลัญช์ บทวาร บทศรี บทามพุช, (ดูคำแปลที่คำนั้น ๆ ).
บาท ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ.
บาท ๒เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ หมายความว่า ๓ บาท
บาท ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงิน ทอง หรือนากหนัก ๑๕ กรัม.
ประสาท ๒, ประสาท- ๒(ปฺระสาทะ-) น. ความเลื่อมใส.
สารท ๒, สารทฤดู(สาด, สาระทะรึดู) น. ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน.
กระอึกก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
จัตวาทัณฑีน. ชื่อโคลง ๔ ชนิดหนึ่ง ซึ่งบาท ๒ ใช้พยางค์ที่ ๔ สัมผัส เช่น
(ชุมนุมตำรากลอน).
ตีนกา ๒, ตีนครุ(-คฺรุ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ + สําหรับบอกจํานวนเงิน ปลายเส้นดิ่งข้างบนเป็นหลักชั่ง มุมบนด้านซ้ายเป็นหลักตําลึง มุมบนด้านขวาเป็นหลักบาท มุมล่างด้านขวาเป็นหลักสลึง มุมล่างด้านซ้ายเป็นหลักเฟื้อง ปลายเส้นดิ่งข้างล่างเป็นหลักไพ เช่น อ่านว่า ๕ ชั่ง ๔ ตําลึง ๓ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ๒ ไพ, เฉพาะ จํานวนตําลึง บาท สลึง เฟื้อง อาจเขียนย่อแต่เพียงมุมใดมุมหนึ่งที่ต้องการก็ได้ เช่น = ๔ ตําลึง = ๓ บาท = ๒ สลึง = ๑ เฟื้อง, ปัจจุบัน แพทย์แผนโบราณยังใช้เครื่องหมายตีนกาหรือตีนครุเป็นมาตราชั่งเฉพาะที่เกี่ยวกับเครื่องยาเท่านั้น.
ธนบัตรย่อยน. ธนบัตรที่ราคาต่ำกว่าฉบับราคาสูง เช่น ธนบัตรราคา ๕๐ บาท ๒๐ บาท เป็นธนบัตรย่อยของธนบัตรราคา ๑๐๐ บาท.
บทามพุชดู บท ๒, บท- ๒.
องค-, องค์ในราชาศัพท์ใช้เป็นลักษณนามเรียกอวัยวะ สิ่งของ หรือคำพูด เป็นต้น ของกษัตริย์หรือเจ้านาย เช่น พระทนต์ ๑ องค์ (ฟัน ๑ ซี่) พระสุพรรณภาชน์ ๑ องค์ พระศรี ๑ องค์ (หมาก ๑ คำ) พระที่นั่ง ๑ องค์ พระบรมราโชวาท ๒ องค์

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ท ๒ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์.
ท ๒น. ผู้เป็นใหญ่ เช่น ท้าวไท.
ท ๒, บท- ๒(บด, บดทะ-) น. เท้า, รอยเท้า, เช่น จตุบท, ในบทกลอนใช้ประสมกับคำอื่น ๆ หมายความว่า เท้า คือ บทบงกช บทบงสุ์ บทมาลย์ บทรัช บทเรศ บทวเรศ บทวลัญช์ บทวาร บทศรี บทามพุช, (ดูคำแปลที่คำนั้น ๆ ).
บาท ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ.
บาท ๒เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ หมายความว่า ๓ บาท
บาท ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงิน ทอง หรือนากหนัก ๑๕ กรัม.
ประสาท ๒, ประสาท- ๒(ปฺระสาทะ-) น. ความเลื่อมใส.
สารท ๒, สารทฤดู(สาด, สาระทะรึดู) น. ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน.
กระอึกก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
จัตวาทัณฑีน. ชื่อโคลง ๔ ชนิดหนึ่ง ซึ่งบาท ๒ ใช้พยางค์ที่ ๔ สัมผัส เช่น
(ชุมนุมตำรากลอน).
ตีนกา ๒, ตีนครุ(-คฺรุ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ + สําหรับบอกจํานวนเงิน ปลายเส้นดิ่งข้างบนเป็นหลักชั่ง มุมบนด้านซ้ายเป็นหลักตําลึง มุมบนด้านขวาเป็นหลักบาท มุมล่างด้านขวาเป็นหลักสลึง มุมล่างด้านซ้ายเป็นหลักเฟื้อง ปลายเส้นดิ่งข้างล่างเป็นหลักไพ เช่น อ่านว่า ๕ ชั่ง ๔ ตําลึง ๓ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ๒ ไพ, เฉพาะ จํานวนตําลึง บาท สลึง เฟื้อง อาจเขียนย่อแต่เพียงมุมใดมุมหนึ่งที่ต้องการก็ได้ เช่น = ๔ ตําลึง = ๓ บาท = ๒ สลึง = ๑ เฟื้อง, ปัจจุบัน แพทย์แผนโบราณยังใช้เครื่องหมายตีนกาหรือตีนครุเป็นมาตราชั่งเฉพาะที่เกี่ยวกับเครื่องยาเท่านั้น.
ธนบัตรย่อยน. ธนบัตรที่ราคาต่ำกว่าฉบับราคาสูง เช่น ธนบัตรราคา ๕๐ บาท ๒๐ บาท เป็นธนบัตรย่อยของธนบัตรราคา ๑๐๐ บาท.
บทามพุชดู บท ๒, บท- ๒.
องค-, องค์ในราชาศัพท์ใช้เป็นลักษณนามเรียกอวัยวะ สิ่งของ หรือคำพูด เป็นต้น ของกษัตริย์หรือเจ้านาย เช่น พระทนต์ ๑ องค์ (ฟัน ๑ ซี่) พระสุพรรณภาชน์ ๑ องค์ พระศรี ๑ องค์ (หมาก ๑ คำ) พระที่นั่ง ๑ องค์ พระบรมราโชวาท ๒ องค์

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top