商量 | [shāng liang, ㄕㄤ ㄌㄧㄤ˙, 商 量] (vi) ปรึกษา หารือ คุย ระวังเสียงคำอ่านที่ถูกต้องของพยางค์หลัง คือ เสียงเบา จะเป็น shang1 liang ไม่ใช่ shang1 liang2 |
|
| กระซิบ | ก. พูดเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระซุบ เป็น กระซุบกระซิบ. | กระซิบกระซาบ | ก. บอกความหรือคุยกันด้วยเสียงเบา ๆ เพื่อให้ได้ยินเฉพาะผู้ที่พูดด้วย. | คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. | บังคับลหุ | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงเบา คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น ละ ติ ลุ. | เบา | ค่อย, ค่อย ๆ, เช่น เสียงเบา เดินเบา ๆ, ทุเลา เช่น ไข้เบาลง, ชะลอกำลังเร็วให้ช้าลง เช่น เบารถ เบาฝีจักร | แผ่ว, แผ่ว ๆ | ว. เบา ๆ เช่น เสียงแผ่ว คือเสียงเบาเกือบไม่ได้ยิน หายใจแผ่ว คือหายใจเบาจนเกือบไม่รู้สึกว่าหายใจ วาดแผ่ว ๆ คือวาดเบา ๆ พอให้เห็น ปัดแผ่ว ๆ คือปัดเบา ๆ พอให้หมดฝุ่นละออง. | ระนาดเอก | น. ระนาดที่มีเสียงแกร่งกว่าระนาดทุ้ม ลูกระนาดโดยมากทำด้วยไม้ไผ่บง ไม้ชิงชัน หรือไม้มะหาด ฝานหัวท้ายและท้องตอนกลาง โดยปรกติมี ๒๑ ลูก รางระนาดมีรูปทรงคล้ายเปลญวน หัวตัดท้ายตัด มีเท้ารูปสี่เหลี่ยมคล้ายเชิงขันรับอยู่ใต้รางสำหรับตั้ง ไม้ตีมี ๒ อย่าง คือ ไม้แข็งใช้เมื่อต้องการเสียงแกร่งกร้าว และไม้นวมเมื่อต้องการเสียงเบาและนุ่มนวล. | ลหุ | ใช้ในตำราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น จะ มิ ดุ, ใช้เครื่องหมาย ุ แทน, คู่กับ ครุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย ั แทน. | สิถิล | ว. เบา, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเบา ว่า พยัญชนะสิถิล ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑ และ ๓ ของวรรค. | หูไว | ว. ตื่นง่าย เช่น เขาเป็นคนหูไว พอได้ยินเสียงแว่ว ๆ ก็ตื่นทันที, มีประสาทหูไว เช่น เขาเป็นคนหูไว ใครพูดเสียงเบา ๆ ยังได้ยิน |
| | | พูดเสียงเบา | [phūt sīeng bao] (v, exp) EN: speak in a soft voice FR: parler à voix basse |
| anapaest | (n) การออกเสียงในภาษาอังกฤษที่สองพยางค์แรกเน้นเสียงเบาตามด้วยหนึ่งพยางค์ที่เน้นเสียงหนัก | low | (adv) เสียงต่ำ, See also: เสียงแผ่ว, เสียงเบา, Syn. softly, quietly | secondary accent | (n) พยางค์ที่ลงน้ำหนักเสียงเบากว่า, See also: เครื่องหมายแสดงเสียงที่เบากว่า, Syn. secondary stress | sotto voce | (adv) เสียงค่อย, See also: เสียงเบา | thin | (adj) แผ่วเบา, See also: ที่มีเสียงเบา, Syn. weak, Ant. thick | undertone | (n) เสียงเบา, See also: เสียงต่ำ, เสียงเล็ก, เสียงกระซิบ, Syn. hint, quietly, undercurrent, whisper | whisper | (vt) กระซิบ, See also: กระซิบกระซาบ, ส่งเสียงเบาๆ, พูดเบาๆ, Syn. mumble, murmur, mutter, Ant. articulate, enunciate | whisper | (vi) กระซิบ, See also: กระซิบกระซาบ, ส่งเสียงเบาๆ, พูดเบาๆ, Syn. mumble, murmur, mutter, Ant. articulate, enunciate | whisper | (n) การกระซิบ, See also: การส่งเสียงเบาๆ, การส่งเสียงพูดแผ่วเบา |
| touch | (ทัชฺ) vt., vi., n. (การ) สัมผัส, แตะ, ต้อง, แตะต้อง, จับ, ถูก, ถู, ใช้, บริโภค, เกี่ยวข้อง, จัดการ, มีผล, บรรลุ, ถึง, ประทับใจ, ละเมิด, ล่วงเกิน, ทำให้เกิดเสียงเบา ๆ , ขอ, ขอยืม, -Phr. (touch down (เครื่องบิน) ลงแตะพื้นดิน) -Phr. (touch off ทำให้ติดไฟ, ทำให้ระเบิด) | una corda | (อูนะคอร์'ดะ) (ดนตรี) (เปียโน) โดยเหยียบแผ่นเหยียบเป็นเสียงเบา | undertone | (อัน'เดอะโทน) n. เสียงเบา, เสียงต่ำ, เสียงเล็ก, สิ่งที่แฝงอยู่, ความหมายที่แฝงอยู่, กระแสข้างล่าง, สีอ่อน, สีจาง, Syn. subdued tone | whisper | (วิส'เพอะ) vi. vt., n. (การ) กระซิบ, พูดเสียงแผ่วเบา ๆ , พูดเบา ๆ และเป็นการส่วนตัว, ส่งเสียงเบา ๆ , ส่งเสียงซู่ซ่า, เรื่องกระซิบ, ข่าวเล่าลือ, เสียงซู่ซ่า, เสียงลมพัดเบา ๆ, Syn. hint, inkling |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |