ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อภิ, -อภิ- |
อภิเชษฐ์ | [อะ-พิ-เชด] (n, vt) ความซาบซึ้ง, รู้สึกซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณเป้นอย่างยิ่ง, See also: S. appreciate |
|
| อภิบาล | (v) take care of, See also: guard, protect, look after, Syn. บำรุงรักษา, ปกครอง, Example: ข้าพเจ้าได้ท่านเจ้าคุณที่บ้าน คอยอภิบาลดูแลรักษาไม่ให้ตกไปในทางเสื่อมเสีย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อภิบาล | (v) take care of, See also: guard, protect, look after, Syn. บำรุงรักษา, ปกครอง, Example: ข้าพเจ้าได้ท่านเจ้าคุณที่บ้าน คอยอภิบาลดูแลรักษาไม่ให้ตกไปในทางเสื่อมเสีย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อภิธรรม | (n) excellent law, See also: higher doctrine, transcendental law, metaphysics, Example: การสวดหน้าศพมีการจัดตั้งเครื่องบูชา และจัดที่สำหรับพระสวดอภิธรรมในเวลากลางคืน, Thai Definition: ชื่อธรรมะชั้นสูง มี 7 คัมภีร์ นิยมใช้สวดในงานศพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อภิธรรม | (n) one book of the Tripitaka, See also: philosophic aspect of the Teaching of the Buddha, Syn. พระอภิธรรมปิฎก, Example: แนวความคิดดังกล่าวนี้อยู่ในแนวคำสอนชั้นสูงของพระพุทธเจ้า ที่เรียกกันว่า อภิธรรม, Thai Definition: ชื่อปิฎกหนึ่งในพระไตรปิฎก, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อภิปราย | (v) debate, See also: discuss, contend, Example: ถ้าครูห้ามเด็กคุยในห้องเรียน เด็กก็เลยไม่ตอบคำถามไม่อภิปรายในห้องเรียน, Thai Definition: พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น, Notes: (สันสกฤต) | อภินิหาร | (n) miracle, See also: marvel, Syn. อิทธิฤทธิ์, ปาฏิหาริย์, Example: พระพุทธรูปองค์นี้มีอภินิหารน่าอัศจรรย์เพราะเมื่อครั้งขุดพบกลับไม่ถูกยุบทำลายแม้แต่อย่างใด, Thai Definition: อำนาจแห่งบารมี, อำนาจบุญที่สร้างสมไว้, อำนาจเหนือปกติธรรมดา | อภิปรัชญา | (n) metaphysics, See also: super philosophy, Example: เรื่องลิลิตพระลอเป็นเรื่องที่แฝงอภิปรัชญาไว้, Thai Definition: สาขาหนึ่งของปรัชญา ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา | อภิสิทธิ์ | (n) privilege, See also: prerogative, Syn. สิทธิพิเศษ, Example: ในการค้า ทุกคนควรมีสิทธิ์เท่ากัน ไม่ควรมีใครได้อภิสิทธิ์, Thai Definition: สิทธินอกเหนือขอบเขต, สิทธิเหนือกฎหรือระเบียบที่วางไว้, สิทธิที่ได้รับนอกเหนือไปจากกฎหรือระเบียบที่วางไว้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ผู้อภิปราย | (n) debater, Example: การอภิปรายเรื่องภาวะเศรษฐกิจไทยมีผู้อภิปราย 5 คน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น, Notes: (สันสกฤต) | สวดอภิธรรม | (v) pray for funeral, Syn. สวดพระอภิธรรม, Example: ในพิธีศพ เมื่อพระให้ศีลจบแล้วก็จะเริ่มสวดอภิธรรม, Thai Definition: สวดในงานศพ โดยใช้ธรรมะชั้นสูงมี 7 คัมภีร์ | อภิมหาอำนาจ | (n) superpower, Example: อภิมหาอำนาจได้เข้ามามีส่วนกระทำการอย่างเลวร้ายในกิจการภายในประเทศของเรา, Thai Definition: ประเทศที่มีอำนาจทางด้านเศรษฐกิจและทางอาวุธสูงกว่าประเทศมหาอำนาจ | ผู้ร่วมอภิปราย | (n) panelist, Example: การอภิปรายเกี่ยวกับการปฎิรูปการศึกษามีผู้ร่วมอภิปราย 4 ท่าน, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้เข้าร่วมพูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น |
| การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. | ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. | พระอภิบาล | น. ผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้มีหน้าที่ดูแลพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้าลูกหลวง. | อภิ | คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ยิ่ง, วิเศษ, เหนือ, เช่น อภิรมย์ = ยินดียิ่ง, อภิญญาณ = ความรู้วิเศษ, อภิมนุษย์ = มนุษย์ที่เหนือมนุษย์ทั้งหลาย. | อภิฆาต | ก. เข่นฆ่า, ทำลายล้างให้หมดสิ้น. | อภิฆาต | น. การเข่นฆ่า, การทำลายล้างให้หมดสิ้น. | อภิจฉา | (อะพิดฉา) น. ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย. | อภิชฌา | (อะพิดชา) น. ความโลภ, ความอยากได้. | อภิชน, อภิชน- | (อะพิชน, อะพิชะนะ-) น. ชนผู้สืบมาจากตระกูลสูง. | อภิชนาธิปไตย | (-ทิปะไต, -ทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่มีอภิชนเป็นใหญ่. (ป. อภิ + ชน + อธิปเตยฺย). | อภิชนาธิปไตย | ดู อภิชน, อภิชน-. | อภิชัย | น. ความชนะ | อภิชัย | การปราบปราม. | อภิชาต, อภิชาต- | (อะพิชาด, อะพิชาดตะ-) ว. เกิดดี, มีตระกูล. | อภิชาตบุตร | น. บุตรที่มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา, อติชาตบุตร ก็ว่า. | อภิชิต | ว. มีชัย, ชนะแล้ว. | อภิญญา, อภิญญาณ | (อะพินยา, อะพินยาน) น. “ความรู้ยิ่ง” ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่าง คือ ๑. อิทธิวิธิ การแสดงฤทธิ์ได้ ๒. ทิพโสต หูทิพย์ ๓. เจโตขปริยญาณ ญาณรู้จักกำหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพ-เพนิวาสานุสติญาณ การระลึกชาติได้ ๕. ทิพจักขุ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ ญาณรู้จักทำอาสวะให้สิ้นไป. | อภิณห- | (อะพินหะ-) ว. เสมอ, ทุกวัน. | อภิธรรม | (อะพิทำ) น. ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. | อภิธรรมปิฎก | น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก, นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า พระอภิธรรม. | อภิธาน | น. หนังสืออธิบายศัพท์เฉพาะเรื่อง เช่น อภิธานประวัติศาสตร์ไทย. | อภิไธย | น. ชื่อ. | อภินันท-, อภินันท์ | น. ความยินดียิ่ง, ความดีใจยิ่ง. | อภินันทนาการ | น. ความยินดียิ่ง เช่น ด้วยอภินันทนาการ หมายถึง ให้ด้วยความยินดียิ่ง. | อภินัย | น. การแสดงละคร, การแสดงท่าทาง. | อภินิหาร | น. อำนาจแห่งบารมี, อำนาจบุญที่สร้างสมไว้, อำนาจเหนือปรกติธรรมดา. | อภิเนษกรมณ์ | (อะพิเนดสะกฺรม) น. การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่. | อภิบาล | ก. บำรุงรักษา, ปกครอง. | อภิปรัชญา | (อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. | อภิปราย | (อะพิปฺราย) ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น. | อภิมหาอำนาจ | ว. เรียกประเทศที่มีอำนาจทางด้านเศรษฐกิจและทางทหารสูงกว่าประเทศมหาอำนาจ ว่า ประเทศอภิมหาอำนาจ. | อภิมานะ | น. ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. | อภิมุข | น. หัวหน้า เช่น เสนาภิมุข = หัวหน้าทหาร. | อภิมุข | ว. หันหน้าตรงไป, ตรงหน้า. | อภิรดี, อภิรติ | (อะพิระ-) น. ความรื่นรมย์ยินดียิ่ง (มักใช้ในเรื่องรักใคร่). | อภิรมย์ | ก. รื่นเริงยิ่ง, ดีใจยิ่ง, ยินดียิ่ง | อภิรมย์ | พักผ่อน | อภิรมย์ | ใช้ว่า ภิรมย์ ก็มี. | อภิรักษ์ | ก. รักษา, ระวัง, ป้องกัน. | อภิรัฐมนตรี | น. ที่ปรึกษาชั้นสูงของพระมหากษัตริย์. | อภิราม | ว. น่ายินดียิ่ง, เป็นที่พอใจยิ่ง, งดงามยิ่ง. | อภิรุต | น. เสียง, เสียงร้อง. | อภิรุม | น. ฉัตรเครื่องสูงอย่างหนึ่ง ใช้ในกระบวนแห่ของหลวง หรือปักเป็นเครื่องประดับเกียรติยศ, โบราณเขียนเป็น อภิรม ก็มี. | อภิรูป | ว. รูปงาม. | อภิลักขิต, อภิลักขิต- | (อะพิลักขิด, อะพิลักขิดตะ-) ว. หมายไว้, กำหนดไว้. | อภิลักขิตกาล, อภิลักขิตสมัย | น. เวลาที่กำหนดไว้, วันกำหนด, (มักนิยมใช้แก่วันทำบุญคล้ายวันเกิดหรือวันทำพิธีประจำปี). | อภิเลปน์ | น. การลูบไล้ | อภิเลปน์ | เครื่องลูบไล้, ของหอม. | อภิวันท์ | ก. กราบไหว้. | อภิวาท, อภิวาทน์ | น. การกราบไหว้. |
| pro forma amendment | ญัตติขอให้เปิดอภิปรายต่อไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ๓. บัญชีรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ (ผู้พิพากษาหรือลูกขุน)๓. บัญชีรายชื่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | power elite | อภิชนผู้ทรงอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | recognition | ๑. การรับรอง (รัฐ, รัฐบาลใหม่)๒. การอนุญาตให้อภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rostrum | แท่นอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | RCU (unit, respiratory care) | อาร์ซียู (หน่วยอภิบาลการหายใจ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiratory care unit (RCU) | หน่วยอภิบาลการหายใจ (อาร์ซียู) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | superego | อภิอัตตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | super realism; hyper realism | อภิสัจนิยม [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | argument | ๑. สังเขปเรื่อง๒. บทอภิปราย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | Address, Debate on the | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | appetite | อภิจฉา, ความทะยานอยาก [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | argumentum ad | บทอภิปรายแบบอ้าง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | amendment, pro forma | ญัตติขอให้เปิดอภิปรายต่อไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | adjournment of the debate | การเลื่อนการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | aristocracy | อภิชนาธิปไตย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | aristocracy | อภิชนาธิปไตย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | aristocracy | อภิชนาธิปไตย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | metalanguage | อภิภาษา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | metaphysical painting | จิตรกรรมแนวอภิปรัชญา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Metaphysical poet | กวีแนวอภิปรัชญา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | metaphysics | อภิปรัชญา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | megalopolis | อภิมหานคร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | megalopolis | อภิมหานคร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | moderator | ผู้ดำเนินการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | moderator | ผู้ดำเนินการอภิปราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | metaethics | อภิจริยศาสตร์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | metalanguage | อภิภาษา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | metalogic | อภิตรรกศาสตร์, อภิตรรกวิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | metamathematics | อภิคณิตศาสตร์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | catching the Speaker's eye | สบตาประธานสภา (เพื่อขออภิปราย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | closure | การปิดอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | closure | การปิดอภิปราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | coronary care unit (CCU) | หน่วยอภิบาลโรคหัวใจ (ซีซียู) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | CCU (unit, coronary care) | ซีซียู (หน่วยอภิบาลโรคหัวใจ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | debate | การอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Debate on the Address | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | debate, adjournment of the | การเลื่อนการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | debate, general | การเปิดอภิปรายทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | guillotine | ๑. วิธีการจำกัดเวลาอภิปรายร่างกฎหมาย (ของสภาสามัญอังกฤษ)๒. เครื่องประหารชีวิต (ของฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | general debate | การเปิดอภิปรายทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | general debate | การเปิดอภิปรายทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | glossary | อภิธาน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | floor | ๑. สิทธิที่จะอภิปราย (ในสภา)๒. ที่อภิปราย (ในสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | filibuster | การอภิปรายประวิงเวลา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | elite | อติชน, อภิชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | elite theorism | ทฤษฎีนิยมอติชน, ทฤษฎีนิยมอภิชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | elitism | อติชนนิยม, อภิชนนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | intensive care unit (ICU) | หน่วยอภิบาล (ไอซียู) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Metalanguage | อภิภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Glossary | อภิธานศัพท์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Glossary | อภิธานศัพท์, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-glossary-1.jpg" Title="Cover" alt="Cover"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกหนังสือซึ่งมีอภิธานศัพท์ท้ายเล่ม <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-glossary-2.jpg" Title="Glossary" alt="Glossary"> <br>ภาพที่ 2 ตัวอย่างอภิธานท้ายเล่ม <p>คือ บัญชีคำศัพท์เฉพาะหรือศัพท์เทคนิคซึ่งนำเสนอในหนังสือส่วนเนื้อหา/เนื้อเรื่อง โดยได้รวบรวมและเรียงตามลำดับอักษร พร้อมให้ความหมาย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคำศัพท์และเนื้อหาภายในหนังสือ <p>อภิธานศัพท์นอกจากจะจัดพิมพ์ในส่วนอ้างอิงและเพิ่มเติมซึ่งอยู่ท้ายเล่มหนังสือแล้ว อาจมีการจัดพิมพ์เป็นตัวเล่ม ที่มีเฉพาะอภิธานในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ <p>ตัวอย่างหนังสืออภิธานศัพท์ <p>Hopkins, Jeanne. Glossary of astronomy and astrophysics. Chicago : Univ. of Chicago Press, [ c1976 ]. <p>The ALA glossary of library and information science. Chicago : American Library Association, 1983. <p>ศานิต รัตนภุมมะ. อภิธานศัพท์ทางกีฏวิทยา. เชียงใหม่ : ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2543. <p>จุลทัศน์ พยาฆรานนท์. อภิธานศัพท์เรือนไทยภาคกลาง. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ, [ 2537 ]. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Proceedings | เอกสารเสนอหรือแถลงในการประชุม รายงานสรุปผลการอภิปราย รายงานกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการประชุม, Example: <p>Proceedings คือ เอกสารหรือหนังสือที่รวบรวมบทความวิจัย บทคัดย่อ หรือเอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม <p>รายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่ม (Proceedings) ดำเนินการตีพิมพ์ผลงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่หลังการประชุม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) <p>2. การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | สังเค็ด | ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด [ศัพท์พระราชพิธี] | สดับปกรณ์ | เป็นทั้งคำกริยาและคำนามว่า สดับปกรณ์ (สะ-ดับ-ปะ-กอน) เป็นคำกริยา คือ บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย) ส่วนคำนามหมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุับันใช้เฉพาะเจ้านาย คำในภาษาบาลีเขียน สตฺตปฺปกรณ ส่วนภาษาสันสกฤตเขียน สปฺตปฺรกรณ หมายถึงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ [ศัพท์พระราชพิธี] | พระพิธีธรรม | พระพิธีธรรมไม่ใช่ชื่อของพิธีกรรม แต่เป็นชื่อตำแหน่งของพระสงฆ์ที่มาสวดพระอภิธรรมในพิธีหลวง [ศัพท์พระราชพิธี] | ทับเกษตร | อาคารที่ปลูกริมรั้วราชวัติ โดยสร้างเป็นอาคารโถงทรงไทยทับเกษตรนี้ใช้เป็นที่สำหรับข้าราชการที่มาในพระราชพิธีพักและฟังสวดพระอภิธรรม [ศัพท์พระราชพิธี] | ซ่าง หรือ สำซ่าง | สถานที่สำหรับพระสงฆ์สวดพระอภิธรรมในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพมีจำนวน ๔ หลัง อยู่ที่มุมติดกับรั้วราชวัติ ๒ หลัง และที่มุขด้านทิศเหนือและทิศใต้อย่างละ ๑ หลัง [ศัพท์พระราชพิธี] | Meta-analysis | การวิเคราะห์อภิมาน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Discussion | อภิปราย [TU Subject Heading] | Glossaries, vocabularies, etc. | อภิธานศัพท์ [TU Subject Heading] | Meta-analysis | การวิเคราะห์อภิมาน [TU Subject Heading] | Metaphysics | อภิปรัชญา [TU Subject Heading] | Metaphysics in literature | อภิปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | No confidence motions | อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล [TU Subject Heading] | Superman (Philosophical concept) | อภิมนุษย์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Tripitaka, Abhidharmapitaka | พระอภิธรรม [TU Subject Heading] | Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | intervention | 1. การเข้าแทรกแซง 2. การเข้าร่วมอภิปราย การเข้าร่วมกล่าวถ้อยแถลง (ใช้ในกรณีการประชุมพหุภาคี) [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | prerogatives | อำนาจพิเศษ อภิสิทธิ์ [การทูต] | Superpower | อภิมหาอำนาจ [การทูต] | Biasing the Discussion | ความลำเอียงในการอภิปราย [การแพทย์] | Cardiac Care Unit | หน่วยอภิบาลโรคหัวใจ [การแพทย์] | Case Discussion | การอภิปรายเกี่ยวกับรายตัวอย่าง [การแพทย์] | Coronary Care Units | หอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ, หน่วยดูแลโรคหัวใจ, หออภิบาล, หน่วยดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจโคโรนารี่ [การแพทย์] | Discussion | การอภิปราย, อภิปราย, วิจารณ์ผล, วิจารณ์ [การแพทย์] | Discussion, Lecture | การใช้วิธีอภิปราย [การแพทย์] | Discussion, Panel | การอภิปรายหมู่, การอภิปรายเป็นคณะ [การแพทย์] | Favorite Playing | อภิบาลพวกพ้อง [การแพทย์] | Glossary Terms | อภิธานศัพท์เทคนิค [การแพทย์] | Group Discussion | วิธิอภิปรายกลุ่ม, [การแพทย์] | Intensive Care Units | หน่วยดูแลผู้ป่วยหนัก, หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนัก, ห้องพักผู้ป่วย, ห้องผู้ป่วยฉุกเฉิน, ห้องไอซียู, ห้องผู้ป่วยอาการหนัก, ห้องบำบัดพิเศษ, หน่วยบำบัดพิเศษ, หออภิบาล, ห้องอภิบาลผู้ป่วย, หอผู้ป่วยหนัก, ห้องที่มีการดูแลเป็นพิเศษ, ห้องผู้ป่วยหนัก, [การแพทย์] | Intensive Care Units, Premature | หออภิบาลทารกเกิดก่อนกำหนด [การแพทย์] | Metaphysics | เมตาฟิสิกส์, อภิปรัชญา [การแพทย์] |
| The law says you... | กฎบอกกับเจ้าว่า... ...ต้องอภิเษกกับเจ้าชาย Aladdin (1992) | You idiot. You goddamn idiot! | ไอ้งั่งเอ๊ย ไอ้อภิมหางั่งเอ๊ย! The Lawnmower Man (1992) | Do you want to continue this theological discussion in a car... or in a jailhouse with the cops? | คุณต้องการที่จะดำเนินการต่อไปนี้การอภิปรายเทววิทยาในรถ ... หรือในเรือนจำกับตำรวจได้หรือไม่ Pulp Fiction (1994) | That's the one privilege I claim as the host. What will you be? Alice in Wonderland, with that ribbon around your hair? | เจ้าภาพก็มีอภิสิทธิ์แบบนี้ล่ะ แล้วคุณจะเป็นอะไร เป็นอลิซในแดนมหัศจรรย์มีโบว์ผูกผมดีมั้ย Rebecca (1940) | No more meetings, discussions, or Sollozzo tricks. | การประชุมไม่มีการอภิปรายหรือเทคนิค Sollozzo The Godfather (1972) | Why did you swing down to this sorry, sleazy swamp? | เธอมายังที่ที่ไม่น่าอภิรมย์แบบนี้ทำไม The Little Prince (1974) | There's nothing miraculous about good sleight of hand. | ไม่เอาน่า ไม่มีอภินิหารใดๆ หรอกคุณ Oh, God! (1977) | - Why, heavens, no. We seek a full meal and all the compliments of the house. | พวกเราค้นหาอาหารและอภินันทนาการทั้งหมดของบ้าน The Blues Brothers (1980) | This discussion isn't over yet! | การอภิปรายนี้ยังไม่จบ! Akira (1988) | Compliments of Mr. Caledon Hockley. | อภินันทนาการจากคุณเคลด้อน ฮ็อคลี่ย์ Titanic (1997) | I named her Icarus after you, my renegade pupil. | ฉันตั้งชื่อมันว่า ไอคารัส ตามเธอไง อภิชาตศิษย์ของฉัน Pi (1998) | We're a band called Blood Pollution a Steel Dragon tribute band, the best in Pittsburgh. | พวกเรามีชื่อวงว่า "บลัด โพลูชั่น" ..อภินันทนาการแด่วง "สตีล ดราก้อน" ดีที่สุดในพิตต์เบิร์ก Rock Star (2001) | There has been a fierce discussion between ruling party members... following the Prime Minister's off-color remarks... at a reception yesterday. | มีการอภิปรายอย่างดุเดือด ระหว่างสมาชิก... ติดตามนายกรัฐมนตรี กล่าววิพากษ์วิจารณ์... ถึงการต้อนรับเมื่อวานนี้. Visitor Q (2001) | If you are a billionaire would it be okay just to be a half a billionaire? | ถ้าคุณเป็นอภิมหาเศรษฐี จะเป็นไรไหมถ้ามีเงินแค่ครึ่งเดียวที่มีอยู่? The Corporation (2003) | And if you would be so kind... as to conceal the unhappy truth as long as possible. | และถ้าคุณจะเมตตา... ช่วยปกปิดความจริง ที่ไม่น่าอภิรมย์นี้ให้นานเท่าที่จะนานได้ Episode #1.5 (1995) | Months of debate finally reached a conclusion last week as 10 candidates were selected by the I.M.C representing a cross section of political and religious views. | ในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เดือนของการอภิปรายถึงที่สุด สรุปสัปดาห์ที่ผ่านมาถึง 10 Contact (1997) | No, I'm an extremely powerful fire demon named Calcifer! | ไม่ใช่ ข้าคืออภิมหาอำนาจราชาแห่งไฟผู้เกรียงไกร นามว่า คัลซิเฟอร์! Howl's Moving Castle (2004) | I appreciate you. | เค้าอภิเชษฐ์ตัวนะ The Longest Yard (2005) | - A policy is not up to debate! | - นโยบายไม่ใช่เรื่องต้องอภิปราย Æon Flux (2005) | I'm debating it. | ผมกำลังอภิปรายมัน Æon Flux (2005) | First scout's privilege. I got a few ideas. You know I'll come up with something good. | ให้อภิสิทธิ์แก่ลูกเสือคนแรกหน่อย ข้าเพิ่งได้ไอเดีย เอ็งรู้ไหม กลับขึ้นมาแล้วข้าจะเอาอะไรดีๆมาฝากให้ล่ะ The Cave (2005) | Try to at least pretend that you're interested in your daughter's wedding ball. | ลองแกล้งทำว่าอย่างน้อย คุณก็สนใจ ในพิธิอภิเษก ของลูกสาวเราหน่อยสิ Shrek 2 (2004) | And then the whole wedding ceremony will end here. | และพิธีการอภิเษกสมรสทั้งหมดจะเสร็จสิ้น Episode #1.3 (2006) | Be the best couple. Carry on the ways of our Ancestors. | จงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่ดีที่สุด สืบทอดทุกวีถีทางของบรรพบุรุษของเรา Episode #1.3 (2006) | Right now at the Eun-young palace the ceremony is taking place. | ที่พระราชวัง Eun-young ในขณะนี้ กำลังมีพิธีอภิเษก Episode #1.3 (2006) | Yes, she was very anxious about the wedding. | ใช่ค่ะ พระองค์ทรงกังวลใจเรื่องพิธีอภิเษกเป็นอย่างมาก Episode #1.3 (2006) | Your parents wedding is as if it just happened yesterday. | พิธีอภิเษกของท่านพ่อท่านแม่ของคุณก็เหมือนกันเพียงแต่เกิดขึ้นก่อน Episode #1.3 (2006) | No, we're not looking for an advantage. We just want her to compete. | ไม่ เราไม่ต้องการอภิสิทธิ์อะไร พวกเราแค่ต้องการให้เธอเข้าประกวด Little Miss Sunshine (2006) | Big Razor Sis! | ซือเจ๊อภิมหามีดโกน! Dasepo Naughty Girls (2006) | Yes, Big Razor Sis. | ใช่! ต้องเรียก ซือเจ้อภิมหามีดโกนนะฮ้า่ Dasepo Naughty Girls (2006) | By the way, Big Razor Sis, are you a transgender? | เดี๋ยวนะคะ ซือเจ๊อภิมหามีดโกน คุณแปลงเพศหรือยังคะ? Dasepo Naughty Girls (2006) | Girl, I said call me Big Razor Sis. | นี่หล่อน! ฉันให้หล่อนเรียกฉันว่า ซือเจ๊อภิมหามีดโกน Dasepo Naughty Girls (2006) | Big Razor Sis and I were dragged to this god-forsaken place, and were forced to dance all night to arouse erotic energy. | *ซือเจ้อภิมหามีดโกนและฉันถูกจับตัวมา *ที่สถานที่.. ที่พระเจ้าี้ถูกทอดทิ้ง *และถูกบังคับเพื่อเต้นทั้งคืน เพื่อปลุกพลังขับทางเพศของพวกเขา* Dasepo Naughty Girls (2006) | Big Razor Sis, long time no see! | ซือเจ๊อภิมหามีดโกน ไม่เจอกันนานเลยนะคะ Dasepo Naughty Girls (2006) | What is unusual is that I had the privilege to be shown it as a young man. | ส่วนสิ่งที่ไม่ปกติก็คือส่วนที่ผมมีอภิสิทธิ์ที่ได้บอกเล่ามัน แทนคนหนุ่มสาว An Inconvenient Truth (2006) | Before you send Ju-Mong to Chang'an, why don't you put on a ceremony of marriage for Ju-Mong and Yesoya? | ก่อนที่องค์ชายจะส่งจูมงไปฉางอัน ทำไมท่านจึงไม่จัดงานอภิเษกให้กับองค์ชายจูมงและเยโซหยาก่อน Episode #1.41 (2006) | If Prince Ju-Mong gets married, | ถ้าองค์ชายจูมงทรงอภิเษก Episode #1.41 (2006) | And, the guest list for your wedding will include all the neighboring countries' leaders and the chiefs of the various clans. | และ แขกที่จะมาร่วมในงานอภิเษกของเจ้าจะมีทั้ง ผู้นำของประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมด และหัวหน้าชนเผ่าต่างๆ Episode #1.42 (2006) | THAT'S PRETTY CLASSY, S. | ช่างน่าอภิรมย์มากเลย เอส. Pilot (2007) | It's exactly what he said-- the money, the drugs, the privileges. | ที่เขาพูดหน่ะถูกต้องเลย ทั้งเรื่องเงิน ยา อภิสิทธิ์ต่างๆ Bad News Blair (2007) | Miss Myers, this is Dr. Loomis. I took the liberty of calling him in. | คุณไมเออร์ นี่หมอลูมิส ผมถืออภิสิทธิ์เชิญเขาเข้ามา Halloween (2007) | This is so wonderful for you. | นี่เป็นเหมือนอภินิหารสำหรับคุณ Spider-Man 3 (2007) | You can call it Sam's happy time or... | ก็อาจจะใช้คำว่า "ช่วงอภิรมย์ของแซม" Transformers (2007) | Compliments from Mr. Chang. | อภินันทนาการ จาก มิสเตอร์ชางค่ะ War (2007) | Keep a visual eye on 72nd both the Declaration of Independence and the U.S. Constitution were debated and signed here. | ถูกเก็บรักษาไว้ที่ชั้น 72 ทั้งแถลงการณ์เสรีภาพและ การก่อตั้งประเทศ ถูกอภิปรายและลงนามกัน ณ ที่แห่งนี้ Shooter (2007) | What you have to remember is, God gave us free will. | สิ่งที่เธอต้องจำ คือ พระเจ้าให้อภิสิทธิ์กับเรา Sunday (2008) | This discussion has nothing to do with race. | การอภิปรายต้องไม่เกี่ยวกับชาติพันธุ์สิ Appleseed Ex Machina (2007) | Momma, he's so white. | จะให้ปลุกมาอภิปรายมั้ย Sparks Fly Out (2008) | It is the reddest! It is the reddest of all hues! | แดงที่สุด สุดยอดอภิมหาแดง Chuck Versus the Sensei (2008) | If you remarried. | หรืออภิเษกอีกครั้ง The Dragon's Call (2008) |
| อภิ- | [aphi-] (x) FR: sur-; sus-; super-; hyper- | อภิบาล | [aphibān] (v) EN: protect ; guard ; take care of ; look after FR: protéger ; défendre ; prendre soin | อภินันทนาการ | [aphinanthanākān] (n) EN: compliments FR: compliments [ mpl ][ | อภิปราย | [aphiprāi] (n) EN: discussion FR: débat [ m ] ; discussion [ f ] | อภิปราย | [aphiprāi] (v) EN: debate ; discuss ; contend ; discuss ; talk over ; argue FR: débattre ; discuter ; délibérer | อภิปรายทั่วไป | [aphiprāi thūapai] (n, exp) EN: general debate FR: débat général [ m ] | อภิปรัชญา | [aphipratyā = aphipratchayā] (n) EN: metaphysics FR: métaphysique [ f ] | อภิรักษ์ โกษะโยธิน | [Aphirak Kōsayōthin] (n, prop) EN: Apirak Kosayodhin FR: Apirak Kosayodhin | อภิเษก | [aphisēk] (n) EN: lustration ; water-pouring ceremony ; abhiseka FR: onction sainte [ f ] ; lustration [ f ] | อภิเษก | [aphisēk] (n) EN: coronation ; royal wedding | อภิเษกสมรส | [aphisēksomrot] (n, exp) EN: royal wedding ; wedding ceremony | อภิสิทธิ์ | [aphisit] (n) EN: privilege ; prerogative FR: privilège [ m ] ; prérogative [ f ] | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | [Aphisit Wētchāchīwa] (n, prop) EN: Abhisit Vejjajiva FR: Abhisit Vejjajiva | อภิไธย | [aphithai] (n) EN: name ; nomenclature | อภิธานศัพท์ | [aphithānsap] (n) EN: glossary FR: glossaire [ m ] | การอภิปราย | [kān aphiprāi] (n) EN: discussion FR: discussion [ f ] ; débat [ m ] | การอภิปรายเจาะลึก | [kān aphiprāi jǿ leuk] (n, exp) EN: in-depth discussion FR: discussion approfondie [ f ] | การอภิปรายคู่ขนาน | [kān aphiprāi khūkhanān] (n, exp) EN: parallel discussion FR: discussions parallèles [ fpl ] | การอภิปรายไม่ไว้วางใจ | [kān aphiprāi mai waiwāngjai] (n, exp) EN: debate of no-confidence ; censure debate | การอภิปรายผู้ชำนาญพิเศษ | [kān aphiprāi phūchamnān phisēt] (n, exp) EN: panel discussion | การอภิปรายสาธารณะ | [kān aphiprāi sāthārana] (n, exp) EN: forum FR: débat public [ m ] ; forum [ m ] | การชุมนุมอภิปราย | [kān chumnum aphiprāi] (n, exp) EN: symposium | การเลื่อนการอภิปราย | [kān leūoen kān aphiprāi] (n, exp) EN: adjournment of the debate | คณะอภิปราย | [khana aphiprāi] (n, exp) EN: colloquium | กลุ่มอภิปราย | [klum aphiprāi] (n, exp) EN: discussion group FR: groupe de discussion [ m ] | ผู้ร่วมอภิปราย | [phū ruam aphiprāi] (n, exp) EN: panelist | ปิดอภิปราย | [pit aphiprāi] (v, exp) EN: close a debate FR: clore un débat ; terminer un débat | รายการอภิปราย | [rāikān aphiprāi] (n, exp) EN: item for discussion FR: sujet de discussion [ m ] |
| argue | (vt) ให้เหตุผล, See also: อ้างเหตุผล, อภิปราย | argue against | (phrv) ถกเถียงเพื่อต่อต้าน, See also: อภิปรายแย้ง, อภิปรายต่อต้าน | argue for | (phrv) ถกเถียงเรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง | bat around | (phrv) พิจารณาอย่างถี่ถ้วน (คำไม่เป็นทางการ), See also: อภิปรายอย่างละเอียด | cause | (n) หัวเรื่องของการอภิปราย, Syn. subject of discussion | debate about | (phrv) อภิปรายในเรื่อง, See also: พุดคุยในเรื่องอย่างเป็นทางการ, Syn. debate on | debate on | (phrv) อภิปรายในเรื่อง, See also: พุดคุยในเรื่อง...อย่างเป็นทางการ, Syn. debate about | debate upon | (phrv) อภิปรายในเรื่อง, See also: พุดคุยในเรื่อง...อย่างเป็นทางการ, Syn. debate about | debate with | (phrv) อภิปรายกับ, Syn. debate about | discourse on | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง | discourse upon | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง | discuss with | (phrv) อภิปรายกับ | debate | (n) การโต้วาที, See also: การอภิปราย, การโต้แย้ง, การถกเถียง, Syn. argument, contention, controversy, discussion, dispute, disputation | debate | (vt) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute | debate | (vi) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute | debater | (n) ผู้อภิปราย, See also: ผู้โต้แย้ง, Syn. arguer, talker | deliberative | (adj) เกี่ยวกับการอภิปราย (ทางการเมือง), See also: เป็นผลของการอภิปราย | dialog | (n) การอภิปราย, See also: การสนทนา | dialog | (vi) สนทนา, See also: อภิปราย | dialogue | (n) การสนทนา (คำทางการ), See also: การอภิปราย, Syn. dialog | dialogue | (vi) สนทนา, See also: อภิปราย | dictionary | (n) พจนานุกรม, See also: ปทานุกรม, นามานุกรม, ประมวลคำศัพท์, อภิธานคำศัพท์, Syn. glossary, wordbook, vocabulary | discuss | (vt) สนทนา, See also: แลกเปลี่ยนความเห็น, ปรึกษาหารือ, อภิปราย, ถกเถียง, ถกปัญหา, Syn. consult, analyze, criticize, confabulate | discussion | (n) การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar | elite | (adj) ซึ่งจำกัดไว้ให้เฉพาะคนรวยหรือคนที่มีอภิสิทธิ์ | elitism | (n) การปกครองโดยกลุ่มคนที่ร่ำรวยและมีอภิสิทธิเหนือคนอื่น | forensic | (adj) เกี่ยวกับการโต้แย้งถกเถียง, See also: เกี่ยวกับการเกี่ยวกับการอภิปราย | forum | (n) ที่สำหรับอภิปราย, See also: ที่แสดงความคิดเห็น | giveaway | (n) ของอภินันทนาการ, See also: ของแถม, ของแจก, Syn. free gift | glossary | (n) อภิธานศัพท์, See also: ปทานุกรม, พจนานุกรม, Syn. dictionary, lexicon | interlocutory | (adj) ซึ่งมีลักษณะของการสนทนา, See also: ซึ่งมีลักษณะของการอภิปราย | metaphysical | (adj) เกี่ยวกับอภิปรัชญา, Syn. mystical, spiritual, transcendental | metaphysically | (adv) ทางอภิปรัชญา | metaphysics | (n) อภิปรัชญา, Syn. epistemology, ontology, cosmology | miracle | (n) เรื่องมหัศจรรย์, See also: สิ่งประหลาด, เหตุอัศจรรย์, ปาฏิหาริย์, อภินิหาร, Syn. marvel, revelation, supernatural, occurrence | moot | (vt) เสนอความคิดหรือหัวข้อเพื่อการอภิปราย (มักใช้รูป passive voice), Syn. broach, raise, propose, Ant. repress, conceal | moot | (n) การอภิปราย, See also: การโต้แย้ง, การโต้เถียง, Syn. debate, argument, discussion | motion | (n) ญัตติ, See also: เรื่อง, ข้อเสนอเพื่อการอภิปรายในที่ประชุม, Syn. offer, submission | Order Paper | (n) รายการหัวข้อที่อภิปรายในรัฐสภาแต่ละวัน | panel | (n) คณะผู้อภิปรายทางการเมือง, Syn. committee, group | panelist | (n) ผู้ร่วมอภิปราย, See also: สมาชิกในกลุ่มผู้อภิปราย, Syn. discussant, participants | pleasantness | (n) ความรื่นรมย์, See also: ความสบาย, ความอภิรมย์ | pleased | (adj) พอใจ, See also: ยินดี, อภิรมย์, มีความสุข, Syn. happy | pleasedly | (adv) อย่างพอใจ, See also: อย่างยินดี, อย่างอภิรมย์, อย่างมีความสุข, Syn. happily | pleasurableness | (n) ความสำราญ, See also: ความอภิรมย์ | politicise | (vt) อภิปรายเรื่องการเมือง | politicize | (vt) อภิปรายเรื่องการเมือง | prerogative | (n) สิทธิพิเศษ, See also: อภิสิทธิ์, Syn. privilege, advantage | privilege | (n) ข้อได้เปรียบ, See also: สิทธิ, สิทธิพิเศษ, อภิสิทธิ์, อำนาจพิเศษ, เอกสิทธิ์, Syn. due, perquisite, right | proposition | (n) ญัตติ, See also: หัวข้อที่นำมาอภิปราย, Syn. statement, theorem |
| amuse | (อะมิวซ) vt. ทำให้เพลิดเพลิน, ทำให้ขบขัน, ให้ความอภิรมย์แก่, ทำให้ ขบขัน | amusement | (อะมิวซ' เมินทฺ) n. สิ่งให้ความอภิรมย์, ความขบขัน, ความอภิรมย์, เครื่องหย่อนใจ , นันทนาการ, กิจกรรมที่เป็นสันทนาการ, มหรสพ | argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate | argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion | bull session | n. การอภิปรายกลุ่ม | canvass | (แคน'เวิส) { canvassed, canvassing, canvasses } vt., vi., n. (การ) ตรวจสอบอย่างละเอียด, หาเสียง, ออกเที่ยวชักชวน, อภิปรายอย่างละเอียด, วิจารณ์อย่างรุนแรง, See also: canvasser n. ดู canvass, Syn. examine, survey | cloture | (โคล'เชอะ) { clotured, cloturing, clotures } n. วิธีการปิดการอภิปรายและให้มีการลงคะแนนเสียงทันที vt., vi. ปิดการอภิปราย | colloquium | (คะโล'เควียม) n. การประชุม หรือปรึกษาหารืออย่าง ๆ ไม่เป็นทางการ, การอภิปรายกลุ่ม | confabulate | (คันแฟบ'บิวเลท) vi. คุยกันเล่น, สนทนา, อภิปราย, See also: confabulator n. | confabulation | (คันแฟบบิวเล'เชิน) n. การคุยกันเล่น, การสนทนา, การอภิปราย., See also: confabulatory adj., Syn. conversation | controvert | (คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย., See also: controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovert, Syn. oppose, deny | debate | (ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้, Syn. argue | discourse | (ดิส'คอร์ส) v., n. (การ) สนทนา, บรรยาย อภิปราย., See also: discourser n. ดูdiscourse, Syn. confer | discuss | (ดิสคัส') { discussed, discussing, discusses } vt. อภิปราย, โต้ตอบ, สาธยาย., See also: discusser n. ดูdiscuss, Syn. debate, argue | discussant | (ดิสคัส'เซินทฺ) n. ผู้อภิปราย, ผู้ร่วมการอภิปราย | discussion | (ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล | disputant | (ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง | disputation | n. การโต้เถียง, การอภิปราย, การทะเลาะ, Syn. dispute | donate | (โด'เนท) vt. บริจาค, มอบให้, ให้, อภินันทนาการ. vi. มอบของขวัญให้, บริจาค, อภินันทนาการ. n., Syn. give | flak | (แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack | floor | (ฟลอร์) n. พื้น, พื้นห้อง, กัน (ทะเล, ถ้ำ, น้ำ) , ชั้นอาคาร, ชั้นต่ำสุด, ชั้นพื้นฐาน vt. ปูพื้น, ทำให้ล้มลง, ทำให้สับสน, ทำให้งง. -Phr. (take the floor อภิปราย), Syn. level, stage | forum | (ฟอ'รัม) n. สภา, ที่ประชุมสำหรับการอภิปราย, ศาล, ศาลกลางเมือง, วิธีการอภิปรายปัญหา, -Phr. (the Forum ตลาดหรือสนามกว้างของเมืองโบราณสมัยโบราณ), Syn. assembly, meeing -pl. forums, fora | genie | (จีนี) ย่อมาจาก General Electric Network for Information Exchange เป็นบริการตามสายซึ่งจัดไว้สำหรับการคัดลอกโปรแกรม การเล่นเกม การอภิปรายปัญหาแบบรายการสัมนาโต๊ะกลมไว้ให้ แต่ไม่ฟรี จีนีมีขนาดหรือมีสมรรถนะต่ำกว่า Compuserve แต่ก็มีค่าบริการถูกกว่า ดู Compuserve, internet และ network ประกอบ | mana | (มา'นา) n. อำนาจหรือแรงอาถรรพ์, อภินิหาร | miraculous | (มิแรค'คิวลัส) adj. อัศจรรย์, ปาฏิหาริย์, อภินิหาร, อาเพศ., See also: miraculously adv. miraculousness n., Syn. prodigious | moot | (มูท) adj. น่าสงสัย, ไม่จริง, เป็นสมมุติฐาน vt. ถกเถียง n. ศาลากลาง, การถกเถียง, การอภิปราย, Syn. debatable, academic | myth | (มิธ) n. เรื่องอภินิหารที่เป็นนิยายหรือตำนานที่เล่าต่อ ๆ กันมา, Syn. story, legend, folk, tale | palatine | (แพล'ทะไทน์) adj. เกี่ยวกับเพดานปาก, ใกล้ที่หรือในเพดานปาก, เกี่ยวกับอภิสิทธิ์แห่งราชสำนัก | panelist | (แพน'นะลิสท) n. สมาชิกของกลุ่มผู้อภิปราย | panell discussion | n. การอภิปรายหมู่ต่อหน้าชุมชน ในรายการโทรทัศน์ หรือวิทย | pas | (พา) n., ก้าว, จังหวะในการเต้นรำ, การเต้นรำ, อภิสิทธิ์ | prerogative | (พรีรอก'กะทิฟว) n. สิทธิพิเศษ, อภิสิทธิ์, บุริมสิทธ adj. มีสิทธิดังกล่าว, Syn. privilege | privilege | (พริฟ'วิลิจฺ) n. สิทธิพิเศษ, อภิสิทธิ์, เอกสิทธิ์, ประโยชน์พิเศษ, ข้อได้เปรียบ. vt. ให้สิทธิพิเศษแก่, ให้อภิสิทธิ์แก่, See also: privileger n. | privileged | (พริฟ'วิลลิจดฺ) adj. มีอภิสิทธิ์, มีสิทธิพิเศษ, ไม่อยู่ภายใต้การบังคับของกฎเกณฑ์ทั่ว ๆ ไป, Syn. advantaged | question | (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, See also: questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. beyond all question ไม่ต้องสงสัย -Phr. out of the question เป็นไปไม่ได้ | seminar | (เซม'มะนาร์) n. กลุ่มสัมมนา, สัมมนา, การประชุมสัมมนา, วิชาประเภทสัมมนา, การประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและอภิปราย | sergeant at law | n. ทนายความชั้นสูงสุด (อังกฤษ) มีอภิสิทธิ์หลายอย่างในศาล | supernatural | (ซูเพอแนช'เชอเริล) adj. เหนือธรรมชาติ, อภินิหาร, ศักดิ์สิทธิ์, ประหลาด, มหัศจรรย์, เกินปกติ, คาดไม่ถึง, เกี่ยวกับภูติผีปีศาจ, เทพยดานางฟ้า. n. สิ่งที่เหนือธรรมชาติ, การกระทำของเทพเจ้า, See also: supernaturalism n. | superpower | (ซู'เพอเพา'เออะ) n. มหาอำนาจ, อภิมหาอำนาจ (ที่มีอิทธิพลทางการเมืองเหนือประเทศอื่น) | theme | (ธีม) n. หัวข้อการอภิปราย, หัวข้อในการสนทนา, หัวข้อหนังสือ, เรื่องของหนังสือ, ใจความ, สาระสำคัญ, แก่นสาร, หัวข้อความเรียง, แกนคำศัพท์, แนวบทเพลง., Syn. topic, subject | thesaurus | (ธีซอ'รัส) n. พจนานุกรมคำพ้อง (synonyms) และคำที่มีความหมายตรงกันข้าม (antonyms) , พจนานุกรม, ปทานุกรม, อภิธาน, อภิธานชุดวรรณคดี, สารานุกรม, ขุมทรัพย์, ดัชนีข้อมูลของคอมพิวเตอร์ | tribune | (ทริบ'บิวน์) n. ผู้พิทักษ์สิทธิของประชาชน, เจ้าหน้าที่คุ้มครองประชาชน, เวทีแสดงสุนทรพจน์, เวทีอภิปราย, ยกพื้นสำหรับการแสดงสุนทรพจน์, See also: tribuneship n. | ventilate | (เวน'ทะเลท) vt. ระบายลม, ระบายอากาศ, ทำให้มีอากาศเข้าได้, เปิดเผย, เปิดให้ตรวจสอบ, เปิดอภิปราย, แสดงออก, แสดงข้อคิดเห็น., See also: ventilable adj. ventilative adj. | weird | (เวียร์ด) adj. ประหลาด, อาเพท, อัศจรรย์, อภินิหาร, See also: weirdly adv. weirdness n., Syn. uncanny, eerie, wild, Ant. normal, natural |
| amusement | (n) ความเพลิดเพลิน, ความอภิรมย์, สันทนาการ, ความขบขัน | controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย | debate | (n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที | debate | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย | debater | (n) ผู้ถกเถียง, ผู้อภิปราย, ผู้โต้วาที | dictionary | (n) พจนานุกรม, ปทานุกรม, หนังสือรวมคำศัพท์, อภิธานศัพท์ | discourse | (n) การสนทนา, การบรรยาย, การอภิปราย, การพูด, ปาฐกถา | discourse | (vi) สนทนา, บรรยาย, อภิปราย, พูด, ปาฐกถา | discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา | discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ | disputation | (n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย | dispute | (vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย | donate | (vt) อภินันทนาการ, บริจาค, ให้, มอบให้ | glossary | (n) อภิธานศัพท์ | miracle | (n) ปาฏิหาริย์, ความมหัศจรรย์, อภินิหาร, อาเพศ | miraculous | (adj) มหัศจรรย์, อัศจรรย์, แปลก, เหลือเชื่อ, อภินิหาร, ปาฏิหาริย์ | myth | (n) นิยายโบราณ, เทพนิยาย, เรื่องอภินิหาร, ตำนาน | prerogative | (n) สิทธิพิเศษ, อภิสิทธิ์, บุริมสิทธิ์ | privilege | (n) อภิสิทธิ์, สิทธิพิเศษ, เอกสิทธิ์, ข้อได้เปรียบ | supernatural | (adj) มหัศจรรย์, เหนือธรรมชาติ, อภินิหาร | tribune | (n) ผู้พิทักษ์ประชากร, เวทีอภิปราย | tribute | (n) เครื่องบรรณาการ, อภินันทนาการ, ของขวัญ |
| apilak | [อภิลักษณ์] (n) [ อภิลักษณ์ ] คำนามของไทยคำหนึ่ง มักใช้ตั้งชื่อบุคคล มีความหมายคือ ผู้ซึ่งมี ลักษณะใหญ่โตมโหฬาร Name of person(Thai people) mean "Big Character" | hit the road | (slang) หนีหัวซุกหัวซุน เช่น นายกอภิสิทธิ์ ตอกกลับนายใจล์เรื่องการหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในการสัมมนา ที่ oxford ประเทศอังกฤษว่า : If you are not hit the road , why do you stand here ? | lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
| 内閣不信任案 | [ないかくふしんにんあん, naikakufushinnin'an] (n) ญัตติเพื่อเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรี |
| 議論 | [ぎろん, giron] (n) การอภิปราย การโต้แย้ง การถกเถียง | 言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar | 言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar | 疑問 | [ぎもん, gimon] (n) (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, S. . questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. (beyond (all) question ไม่ต้องสงสัย) -Phr. (out of the question เป็นไปไม่ได้) | 俱舎論 | [くしゃろん, kusharon] (n) พระอภิธรรม, See also: S. アビダルマ |
| Aufmerksamkeit | (n) |die, pl. Aufmerksamkeiten| ความสนใจ, ความเอาใจใส่ เช่น Vielen Dank für Ihre Aufmerksamkeit! ขอบคุณมากสำหรับความสนใจของคุณ หรือ ขอบคุณมากที่คุณตั้งใจฟัง (มักใช้หลังจากผู้พูดจบการอภิปราย) | sich versprechen | (vt) |versprach sich, hat sich versprochen| พูดผิด เช่น Der Redner war sehr nervös und hat sich dauernd versprochen. ผู้พูดอภิปรายตื่นเต้นเกินไป และพูดผิดตลอดเวลา | königliche Hochzeit | (n) |die, pl. königliche Hochzeiten| อภิเษกสมรส | Auseinandersetzung | (n) |die, pl. Auseinandersetzungen, über eine Sache| การอภิปรายถกเถียง, การโต้แย้ง, การเถียงกัน, See also: Streit, Syn. Diskussion |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |