สุญญากาศ | (adj) vacuum, Syn. สุญญากาศ, Example: เครื่องมือผลิตรังสีเอกซ์เป็นหลอดแก้วสูญญากาศรูปผลชมพู่ เรียกชื่อว่าหลอดรังสี หรือหลอดเอกซเรย์, Thai Definition: ที่ไม่มีอากาศ | สุญญากาศ | (n) space, Example: เสียงเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศไม่ได้, Thai Definition: ที่ที่ไม่มีอากาศอยู่เลย | สุญญากาศ | (adj) space, See also: airless, Example: เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์, Thai Definition: ลักษณะที่ไม่มีอากาศอยู่เลย |
|
| สุญญากาศ | (สุนยากาด) น. ที่ที่ไม่มีอากาศ เช่น อยู่ในสุญญากาศ. | สุญญากาศ | (สุนยากาด) ว. ที่ไม่มีอากาศ เช่น ขวดสุญญากาศ หลอดสุญญากาศ. | สุญญากาศ | ดู สุญ, สุญ-, สุญญ-. | บารอมิเตอร์ | น. เครื่องมือที่ใช้วัดความกดอากาศ อาจประกอบด้วยปรอท หรือตลับโลหะสุญญากาศ แล้วแต่ความมุ่งหมายและความสะดวกที่จะนำไปใช้. |
| | Vacumm-tube | หลอดสุญญากาศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Hydro skimming Refinery | โรงกลั่นน้ำมันที่ประกอบด้วยหน่วยกลั่นบรรยากาศ หน่วยกลั่นสุญญากาศ และหน่วย Reforming , โรงกลั่นน้ำมันที่ประกอบด้วยหน่วยกลั่นบรรยากาศ หน่วยกลั่นสุญญากาศ และหน่วย Reforming (ดูคำ Reforming), Example: ทำหน้าที่เปลี่ยนน้ำมันที่มีค่าออกเทนต่ำไปเป็นน้ำมันที่มีค่าออกเทสูง โดยการเปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอน [ปิโตรเลี่ยม] | Electromagnetic radiation | รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า, คลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กที่ประสาน และมีอันตรกิริยาต่อกัน เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุ รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ รังสีเหล่านี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง และสามารถผ่านสุญญากาศได้ [นิวเคลียร์] | Mass-energy equation | สมการมวล-พลังงาน, สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน ของ แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งอธิบายว่า “มวลของวัตถุก็คือมาตรวัดพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุนั้น” ต่อมาได้รับการพิสูจน์ยืนยัน โดยการวัดค่าของมวลและพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ดังสมการ <br>E = mc<sup>2</sup></br> <br>เมื่อ E คือ พลังงาน</br> <br>m คือ มวลของวัตถุที่เปลี่ยนเป็นพลังงาน</br> <br>c คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ</br> <br>สมการนี้บางครั้งเรียกว่า Einstein equation</br> [นิวเคลียร์] | Amplifiers, Vacuum-tube | วงจรขยายชนิดหลอดสุญญากาศ [TU Subject Heading] | Vaccuum extraction, Obstetrical | การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ [TU Subject Heading] | Vacuum | สุญญากาศ [TU Subject Heading] | Vacuum technology | เทคโนโลยีสุญญากาศ [TU Subject Heading] | Vacuum-tube voltmeter | โวลต์มิเตอร์ชนิดหลอดสุญญากาศ [TU Subject Heading] | Vacuum-tubes | หลอดสุญญากาศ [TU Subject Heading] | cathode | แคโทด, 1. ขั้วไฟฟ้าที่มีปฏิกิริยารีดักชันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าบวกในเซลล์กัลวานิก หรือเป็นขั้วไฟฟ้าลบในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. ขั้วไฟฟ้าที่อยู่ในหลอดสุญญากาศ เช่น หลอดวิทยุ ไดโอด ทำหน้าที่เป็นตัวให้อิเล็กตรอนไหลผ่านและอิเล็กตรอนเหล่านี้จะเคลื่อนที่ไปยังแอโนด แ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | stopping potential difference | ความต่างศักย์หยุดยั้ง, ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่พอดีทำให้โฟโตอิเล็กตรอนในหลอดสุญญากาศหยุดเคลื่อนที่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | thermos | เทอร์มอส, ขวดแก้ว 2 ชั้น ระหว่างชั้นเป็นสุญญากาศ และฉาบด้วยสารมันวาว กันความร้อนได้ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | plate | เพลต, โลหะที่ทำหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอน โดยทั่วไปเรียกว่าแอโนด สำหรับในหลอดสุญญากาศเรียกว่า เพลต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | cathode ray | รังสีแคโทด, กระแสอิเล็กตรอนที่ออกมาจากแคโทดของหลอดสุญญากาศ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | vacuum | สุญญากาศ, ที่ว่างซึ่งมีความดันแก๊สต่ำ กล่าวคือ ยังคงมีโมเลกุลของแก๊สอยู่เล็กน้อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ampere (A) | แอมแปร์, หน่วยสำหรับวัดกระแสไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ A โดยกำหนดว่า 1 แอมแปร์ คือ กระแสคงตัวในตัวนำเส้นตรง 2 เส้นที่มีความยาวไม่จำกัด และเล็กมากไม่คิดพื้นที่หน้าตัด วางห่างกันเป็นระยะ 1 เมตรในสุญญากาศ จะเกิดแรงระหว่างตัวนำทั้งสองเท่ากับ 2.0 x 10?7 นิวตันต่อเมตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Vaccuum Freeze Drying | การอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ, Example: <b>การอบแห้งแบบเยือกแข็งภายใต้สภาพสุญญากาศ (Vaccuum Freeze Drying)</b> หมายถึง กระบวนการการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศโดยนำหนังสือที่เปียกโชกไปด้วยน้ำมาแช่แข็งและทำให้แห้ง โดยวางไว้ในห้องที่อยู่ในสภาพสุญญากาศจะทำให้เกิดเกล็ดน้ำแข็งและกลายเป็นไอโดยไม่ต้องละลาย (กระบวนการที่เรียกว่าการระเหิด) เพื่อให้ได้ผลที่ดีที่สุดในการอนุรักษ์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์อนุรักษ์เอกสาร (Northeast Document Conservation Center หรือ NEDCC) แนะนำให้แช่แข็งวัสดุให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หลังจากวัสดุนั้นเปียกน้ำ วิธีนี้จะเป็นวิธีการที่ช่วยลดอาการบวมและการบิดเบี้ยวของโครงสร้างของหนังสือได้ แต่กระบวนการนี้ไม่แนะนำให้ใช้กับฟิล์มถ่ายรูปหรือกระดาษอัดรูป (Photographic materials) หนังสัตว์ และแผ่นหนังสัตว์ที่ใช้เขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | evacuate | (vt) ถ่าย (อากาศ) ออก, See also: ทำให้เป็นสุญญากาศ ทางฟิสิกส์, Syn. clear, empty, void | freeze-dry | (n) การถนอมอาหารโดยแช่แข็งก่อนใส่ภาชนะสุญญากาศแล้วเก็บที่อุณหภูมิห้อง | hermetic | (adj) ที่สนิทจนลมผ่านเข้าออกไม่ได้, See also: ที่เป็นสุญญากาศ, Syn. airtight | Thermos | (n) เครื่องหมายการค้าของกระติกน้ำร้อนสุญญากาศ | vaccum tube | (n) หลอดสุญญากาศ | vacuity | (n) ความว่างเปล่า, See also: ความว่าง, สุญญากาศ, สิ่งว่างเปล่า, สิ่งที่ไร้ความหมาย, Syn. emptiness, vaccum, void | vacuum | (n) สุญญากาศ, See also: บริเวณที่ไม่มีอากาศ, Syn. blankness, emptiness, rarefaction | vacuum bottle | (n) กระติกน้ำร้อน, See also: กระติกสุญญากาศ, Syn. vacuum flask, thermos | vacuumed | (adj) ซึ่งเป็นสุญญากาศ | vacuumize | (vt) ทำให้เป็นสุญญากาศ | valve | (n) หลอดสุญญากาศซึ่งควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าในวิทยุหรือโทรทัศน์, Syn. electron tube, vacuum tube |
| cupping | n. การใช้ถ้วยดูดเลือด (โดยทำให้เกิดสุญญากาศในถ้วย) | first generation computer | คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ | second generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สองหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ราวทศวรรษ 1960 จนถึงต้น 1970 มีคุณสมบัติที่สำคัญคือ มีขนาดเล็กว่ายุคที่หนึ่งมาก ใช้กำลังไฟน้อยลง และให้ความร้อนน้อยลงด้วย เพราะหน่วยความจำที่ใช้เป็น วงจรที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) แทนที่จะเป็นหลอดสุญญากาศเหมือนยุคที่หนึ่ง ส่วนหน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) นิยมใช้เทปหรือแถบบันทึก และจานบันทึก การนำข้อมูลเข้าและการแสดงผล สามารถทำได้ควบคู่ไปกับการคำนวณ เริ่มรู้จักใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system) ควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ | tape drive | หน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |