Search result for

*สังคมนิยม*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สังคมนิยม, -สังคมนิยม-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
สังคมนิยม(n) socialism, Example: รัสเซียพยายามอย่างเต็มที่ในการใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดผสมผสานกับสังคมนิยม, Thai Definition: ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต
สังคมนิยม(adj) socialist, Example: แนวคิดของพรรคสังคมนิยมมุ่งหมายจะทำลายล้างระบบชนชั้นศักดินา, Thai Definition: ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต
นักสังคมนิยม(n) socialist, Example: นอกจากเขาจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกแล้วยังเป็นนักสังคมนิยมตัวยง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ใฝ่ใจในทฤษฎีทางสังคมนิยม
พรรคสังคมนิยม(n) socialist party, Example: ลักษณะเด่นของระบบพรรคการเมืองในประเทศญี่ปุ่นคือการแข่งขันระหว่างพรรคเสรีประชาธิปไตยกับพรรคสังคมนิยม, Count Unit: พรรค, Thai Definition: พรรคการเมืองที่มีนโยบายว่าทรัพย์ทั้งหลายควรเป็นของรัฐ
ลัทธิสังคมนิยม(n) socialism

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
สังคมนิยม(สังคมมะ-, สังคม-) น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต.
คอมมิวนิสต์น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์.
ซ้ายเรียกกลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมือง เป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว ว่า ฝ่ายซ้าย, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์.
นิยมก. ชมชอบ, ยอมรับนับถือ, ชื่นชมยินดี, ใช้ประกอบท้ายคำสมาสบางคำใช้เป็นชื่อลัทธิ เช่น ลัทธิชาตินิยม ลัทธิสังคมนิยม.
ฝ่ายซ้ายน. กลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมืองเป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์.
ลัทธิน. คติความเชื่อถือ ความคิดเห็น และหลักการ ที่มีผู้นิยมนับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา เช่น ลัทธิสังคมนิยม ลัทธิชาตินิยม ลัทธิทุนนิยม.
เวียดนามน. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับเขมร ลาว และจีน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติเวียด, เรียกเต็มว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
scientific socialismสังคมนิยมเชิงวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialist realismสัจนิยมแนวสังคมนิยม [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
social democracyประชาธิปไตยสังคมนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
state socialismสังคมนิยมแห่งรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialismสังคมนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialismสังคมนิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
socialism, guildสังคมนิยมแบบสมาคมอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialism, internationalสังคมนิยมระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialism, nationalชาติสังคมนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialist ethicsจริยธรรมสังคมนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialist intentปณิธานสังคมนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
socialist realismสัจนิยมแนวสังคมนิยม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
Menshevismลัทธิเมนเชวิก (ลัทธิสังคมนิยมสายกลางของรัสเซีย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
market socialismสังคมนิยมแบบกลไกตลาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
guild socialismสังคมนิยมแบบสมาคมอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
international socialismสังคมนิยมระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Nazismระบอบนาซี, ชาติสังคมนิยมเยอรมัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
national socialismชาติสังคมนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
utopian socialismสังคมนิยมแบบอุตมรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Cooperation and socialismสหกรณ์กับสังคมนิยม [TU Subject Heading]
National socialismสังคมนิยมแห่งชาติ [TU Subject Heading]
Socialismสังคมนิยม [TU Subject Heading]
Socialism and buddhismสังคมนิยมกับพุทธศาสนา [TU Subject Heading]
Socialism and musicสังคมนิยมกับดนตรี [TU Subject Heading]
Socialism and religionสังคมนิยมกับศาสนา [TU Subject Heading]
Socialism and societyสังคมนิยมกับสังคม [TU Subject Heading]
Socialist realism and architectureสัจนิยมแนวสังคมนิยมกับสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading]
Socialistsนักสังคมนิยม [TU Subject Heading]
Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreementsความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
State Peace and Development Councilสภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ลัทธิสังคมนิยม[latthi sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialism  FR: socialisme [ m ]
พรรคสังคมนิยม[phak sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialist party  FR: parti socialiste [ m ]
ระบบสังคมนิยม[rabop sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialism
สังคมนิยม[sangkhomniyom] (n) EN: socialist  FR: socialiste [ m, f ]
สังคมนิยม[sangkhomniyom] (adj) EN: socialist ; socialistic  FR: socialiste
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์[sangkhomniyom khømmiūnit] (n, exp) EN: Communist Socialism
สาธารณรัฐสังคมนิยม[sāthāranarat sangkhomniyom] (n, exp) FR: république socialiste [ f ]
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม = สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม[Sāthāranarat Sangkhomniyom Wīetnām] (n, prop) EN: Socialist Republic of Vietnam

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
Maoism(n) ลัทธิเหมาเซตุง, See also: ลัทธิสังคมนิยมของเหมาเซตุงซึ่งยึดถือหลักการของมาร์กซิสและเลนิน, Syn. communism, Marxism-Leninism
red flag(n) ธงแดงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของระบอบสังคมนิยม
social(adj) เกี่ยวกับสังคมนิยม
socialism(n) ระบบสังคมนิยม, Syn. Communism
socialist(n) นักสังคมนิยม
socialistic(n) เกี่ยวกับระบบสังคมนิยม
socialize(vt) ทำให้เป็นระบบสังคมนิยม

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
bolshevik(บอล'ชะ วิค) n. พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซียตั้งแต่ปี ค.ศ.1917, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, ผู้ที่มีหัวรุนแรง, See also: bolshevism n. ดูBolshevik Bolshevism n. ดูBolshevik Boshevist n. ดูBolshevik bolshevistic
lefitst(เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n.
left(เลฟทฺ) adj. ซ้าย, ข้างซ้าย, ด้านซ้าย, มือซ้าย, ทางซ้าย, ปีกซ้าย, ฝ่ายซ้าย (นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์) n. ด้านซ้าย, สิ่งที่อยู่ทางซ้ายมือ, การหันซ้าย, การเลี้ยวซ้าย adv. ไปทางซ้าย v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ leave (จากไป, ลาจาก) -Phr. (the Left ผู้นิยมการปฏิรูประบบการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ, หมัดซ้าย
leftist(เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n.
marx(มาร์คซฺ) n. Karl (Heinrich) (ค.ศ.1819-1883) นักสังคมนิยมผู้ก่อตั้งระบบคอมมิวนิสต์
socialism(โซ'ชะลิสซึม) n. ระบบสังคมนิยม
socialist(โซ'ชะลิสทฺ) n. ผู้สนับสนุนระบบสังคมนิยม, See also: socialistic adj.

English-Thai: Nontri Dictionary
socialism(n) ลัทธิสังคมนิยม
socialistic(adj) ในทางสังคมนิยม
socialize(vt) ทำให้เป็นสังคมนิยม

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top