สส. | (n, abbrev) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตัวย่อที่ถูกต้อง คือ สส. ไม่ใช่ ส.ส.), See also: R. ส.ส. |
| สภาผู้แทนราษฎร | (n) House of Representatives, See also: Assembly of the People's Representatives, House of Parliaments, Lower House, Example: คณะกรรมการรัฐธรรมนูญประกอบด้วยตัวแทนรัฐบาล สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะกรรมการตุลาการ ฝ่ายละ 2 คน, Thai Definition: รัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน | สภาผู้แทนราษฎร | (n) House of Representatives, See also: Assembly of the People's Representatives, Example: กฎหมายการเงินการคลังของรัฐจำต้องได้รับอนุมัติจากสภาผู้แทนราษฎร, Thai Definition: รัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | (n) Member of the House of Representative, Syn. ผู้แทนราษฎร, ส.ส., Example: สมาชิกผู้แทนราษฎรลงมติผ่านกฎหมายให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนให้ทำหน้าที่แทนประชาชนในสภานิติบัญญัติ | สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร | (n) Secretariat of the House of Representatives, Example: ปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรมีข้าราชการจำนวน 1, 064 คน และลูกจ้างจำนวน 173 คน |
| ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. | สภาผู้แทนราษฎร | น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. | การเมือง | กิจการอำนวยหรือควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ตำแหน่งการเมือง ได้แก่ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่อำนวย (คณะรัฐมนตรี) หรือควบคุม (สภาผู้แทนราษฎร) การบริหารแผ่นดิน. | การยุบสภา | น.อำนาจของฝ่ายบริหารในการประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ การยุบสภาต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา. | คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. | คณะกรรมาธิการร่วมกัน | น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย. | คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. | คณะกรรมาธิการสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา เลือกและแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นประจำ. | ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง | น. ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งทางการเมือง เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นายกเทศมนตรี. | ฝ่ายค้าน | น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทำหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึง ผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน. | รัฐสภา | (รัดถะสะพา, รัดสะพา) น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร. | เลือกตั้ง | ก. เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนน เช่น เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เลือกตั้งกรรมการ. | สภา | น. องค์การหรือสถานที่ประชุม เช่น สภาผู้แทนราษฎร สภาสตรีแห่งชาติ สภามหาวิทยาลัย วุฒิสภา. | สมาชิก ๑ | (สะมา-) น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย. | เสียง | ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. | องค์กร | น. บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา, ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วย. |
| | | | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | [samāchik saphā phūthaēnrātsadøn] (n, exp) EN: Member of the House of Representative FR: membre de la Chambre des représentants [ m ] | สภาผู้แทนราษฎร | [Saphā Phūthaēnrātsadøn] (n, prop) EN: House of Representatives ; Assembly of the People's Representatives ; House of Parliaments ; Lower House FR: Assemblée nationale [ f ] |
| Lok Sabha | (uniq) โลกสภา ชื่อเรียกสภาผู้แทนราษฎรของอินเดีย ส่วนวุฒิสภาของอินเดียนั้น เรียกว่า ราชย์สภา (Rajya Sabha) |
| assemblyman | (อะเซม'บลีเมิน) n. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | house of representatives | สภาผู้แทนราษฎร | impeachment | (อิมพีช' เมินทฺ) n. การกล่าวโทษ, การฟ้องร้อง, การกล่าวโทษเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารชั้นสูงของรัฐบาลโดยสภาผู้แทนราษฎรต่อสภาสูง (senate) ของสหรัฐอเมริกา, การไม่เชื่อถือ, ภาวะที่ถูกกล่าวโทษดังกล่าว |
| | 衆議院 | [しゅうぎいん, shuugiin] (n) สภาผู้แทนราษฎร |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |