มะม่วงหาว มะนาวโห่ | ชื่อเต็ม มะม่วงไม่รู้หาว มะนาวไม่รู้โห่, ผลไม้ในกลุ่มเบอร์รี่ชนิดหนึ่ง มีรสเปรี้ยว ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Carissa carandas, ชื่อสามัญ Karanda, Carunda, Christ’s thorn, Bengal Currants ที่มา: https://www.disthai.com/17039488/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B9%88 |
| ชงโค | (name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ |
| ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย | ปลาแรด | [Pla-Raed] (n) Giant gourami-แปลตรงตัว "ปลากระดี่ยักษ์"; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus goramy) เป็นปลาน้ำจืดในสกุลปลาแรด ในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด | ปูจั๊กจั่น | (n) Red Frog Crab, Spanner Crab หรือ Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ รานินีดี้ (Family Raninidae) ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ไทย จนไปถึงหมู่ เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก |
|
| | วิทยาศาสตร์ | (n) science, Example: ในเมืองไทยยังมีความคิดปะปนกันในเรื่องไสยศาสตร์กับวิทยาศาสตร์, Thai Definition: ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากการประจักษ์ทางธรรมชาติ แล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ | วิทยาศาสตร์ | (n) science, Syn. วิชาวิทยาศาสตร์, Example: การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์โดยอาศัยหลักวิชาวิทยาศาสตร์ จะเป็นไปล่าช้ากว่าสาขาวิชาอื่นๆ, Thai Definition: วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ | วิทยาศาสตร์ | (adj) scientific, Example: ขณะนี้นักสำรวจมีเครื่องมือวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ สำหรับใช้ในการวัดอย่างละเอียดถูกต้องขึ้น, Thai Definition: เกี่ยวกับความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากการประจักษ์ทางธรรมชาติ แล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ | คณะวิทยาศาสตร์ | (n) Faculty of Science, Example: คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยศึกษาผลกระทบด้านนิเวศวิทยาโครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น, Count Unit: คณะ, Thai Definition: ภาควิชาที่ว่าด้วยการศึกษาหาความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าทางธรรมชาติจนได้หลักฐานและเหตุผล แล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ | ทองวิทยาศาสตร์ | (n) plated gold, Syn. ทองชุบ, Example: เขาสาธิตการทำทองวิทยาศาสตร์, Thai Definition: โลหะชุบทอง | ทางวิทยาศาสตร์ | (adj) scientific, Example: การทดลองเรื่องแรงเหนี่ยวเป็นงานทางวิทยาศาสตร์ | นักวิทยาศาสตร์ | (n) scientist, Example: ประเทศของเรายังต้องการนักวิทยาศาสตร์อีกมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญในวิทยาศาสตร์ | วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ | (n) natural science, Example: วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสังคมศาสตร์พยายามศึกษาภาพรวมของมนุษย์, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติรอบตัวเรา | วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | (n) applied science, Ant. วิทยาศาสตร์ทฤษฎี, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆ ที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทางทฤษฎี | กรมวิทยาศาสตร์บริการ | (n) Department of Science Service | วิธีการทางวิทยาศาสตร์ | (n) scientific approach, Syn. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์, Example: เกษตรกรใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ช่วยในการเก็บรักษาพืชผัก | เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | (n) laboratory instruments, Example: การวัดความสามารถในทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การจัดสถานการณ์ให้ดำเนินการทดลองในห้องปฏิบัติการ เน้นให้ใช้อุปกรณ์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สังเกตและบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการทดลอง | กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ | (n) Department of Medical Science | กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม | (n) Ministry of Science Technology and Environment, Count Unit: กระทรวง |
| ทองวิทยาศาสตร์ | น. โลหะชุบทอง, ทองชุบ ก็เรียก. | นิติวิทยาศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการนำหลักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. | ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ | น. ปุ๋ยเคมี. | วิทยาศาสตร์ | น. ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ, วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ. | วิทยาศาสตร์กายภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์. | วิทยาศาสตร์ชีวภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตววิทยา พฤกษศาสตร์. | วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน การควบคุมรักษาสภาพสิ่งแวดล้อม และการวิจัย. | วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทางทฤษฎี เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์. | กระสือ ๑ | ในทางวิทยาศาสตร์ คือ แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้วติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด | กันภัย, กันภัยมหิดล | น. ชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidoliae Burtt et Chermsir. ในวงศ์ Leguminosae พบทางจังหวัดกาญจนบุรี ใบเป็นใบประกอบ ช่อหนึ่งมีใบย่อยหลายใบ ด้านล่างของใบมีขนสีนํ้าตาล ดอกเป็นช่อตั้ง สีขาวปนม่วง ฝักสั้นป้อมแบน ๆ ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี. | กายภาพ | ว. เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต, เกี่ยวกับสสารและพลังงาน, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพ ศึกษาเกี่ยวกับสสารและพลังงาน | กายวิภาคศาสตร์ | (-วิพากคะสาด) น. วิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องโครงสร้างของร่างกายโดยศึกษาเป็นส่วน ๆ. | แขนง ๑ | (ขะแหฺนง) น. กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลำของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์. | โขมด ๑ | (ขะโหฺมด) น. ชื่อผีชนิดหนึ่งในพวกผีกระสือหรือผีโพง เห็นเป็นแสงเรืองวาวในเวลากลางคืน ทำให้หลงผิดนึกว่ามีคนถือไฟหรือจุดไฟอยู่ข้างหน้า พอเข้าไปใกล้ก็หายไป ทางวิทยาศาสตร์อธิบายว่า ได้แก่แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้วติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด. | คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. | คูเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๖ สัญลักษณ์ Cm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. | เครือเทพรัตน์ | น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็ง ชนิด Thepparatia thailandica Phuph. ในวงศ์ Malvaceae ใบเป็นใบเดี่ยว มี ๓-๕ แฉก ดอกสีม่วง ขอบเหลือง รูประฆัง ออกเป็นพวง ห้อยลง ผลมี ๕ ช่อง เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. | แคลิฟอร์เนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๘ สัญลักษณ์ Cf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | จำปีสิรินธร | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลาง ชนิด Magnolia sirindhorniae Noot. et Chalermglin ในวงศ์ Magnoliaceae ดอกสีขาวนวล กลีบดอกใหญ่ยาว ผลเป็นผลกลุ่ม รูปกลม ขึ้นในป่าพรุน้ำจืด ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. | จิตวิทยา | (จิดตะ-, จิด-) น. วิชาว่าด้วยจิต, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยปรากฏการณ์ พฤติกรรม และกระบวนการของจิต. | ชีวภาพ | ว. เกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่สืบเนื่องมาจากสิ่งมีชีวิต เช่น วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ. | ด้าน ๑ | น. ฝ่าย, ข้าง, ทาง, ส่วน, เช่น ด้านซ้าย ด้านหัว ด้านหน้า ด้านวิชาการ ด้านศิลปกรรม ด้านวิทยาศาสตร์. | ทองชุบ | น. โลหะชุบทอง, ทองวิทยาศาสตร์ ก็เรียก. | เทคนีเชียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๓ สัญลักษณ์ Tc เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เทคโนโลยี | น. วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ อุตสาหกรรม เป็นต้น. | เนปทูเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๓ สัญลักษณ์ Np เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน. | โนเบเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๒ สัญลักษณ์ No เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เบอร์คีเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๗ สัญลักษณ์ Bk เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | ปฐพีวิทยา | (ปะถะพีวิดทะยา, ปัดถะพีวิดทะยา) น. วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องดิน. | ปรอท | (ปะหฺรอด) น. ธาตุลำดับที่ ๘๐ สัญลักษณ์ Hg เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของเหลว สีเงิน แข็งตัวที่ -๓๘.๓๖ °ซ. เดือดที่ ๓๕๗ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปทำเทอร์โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ โลหะเจือซึ่งเรียกว่า อะมัลกัม (amalgam) ใช้ในงานทันตกรรมและทำเครื่องมือวิทยาศาสตร์อื่น ๆ สารประกอบของปรอทเป็นพิษ แต่บางอย่างใช้เป็นยาได้. (อ. mercury) | ประยุกต์ | ว. ที่นำความรู้มาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น วิทยาศาสตร์ประยุกต์ จิตวิทยาประยุกต์. | ปุ๋ยเคมี | ปุ๋ยวิทยาศาสตร์. | ฝนเทียม | น. ฝนที่เกิดจากกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์ เช่นโดยการโปรยนํ้าแข็งแห้งในอากาศ. | พลูโทเนียม | (พฺลู-) น. ธาตุลำดับที่ ๙๔ สัญลักษณ์ Pu เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน | (พิพิดทะพัน, -พันทะสะถาน) น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ. | แพลทินัม | (แพฺล-) น. ธาตุลำดับที่ ๗๘ สัญลักษณ์ Pt เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงินเป็นเงางาม หลอมละลายที่ ๑๗๖๙ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ใช้เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอุปกรณ์ในเครื่องมือวิทยาศาสตร์ และใช้เป็นเครื่องประดับที่มีค่าสูง, ทางการค้าเรียกว่า ทองคำขาว. | โพรมีเทียม | (โพฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๖๑ สัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๒๗ °ซ. | ฟิสิกส์ | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่าง ๆ และพลังงาน. | เฟอร์เมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๐ สัญลักษณ์ Fm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | ภาษาศาสตร์ | น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล. | เภสัชกรรม | (เพสัดชะกำ) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมเครื่องยา ตัวยาจากธรรมชาติหรือการสังเคราะห์ให้เป็นยาสำเร็จรูป. | เภสัชเคมี | (เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. | เภสัชพฤกษศาสตร์ | (เพสัดชะพฺรึกสะสาด) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยพืชที่ใช้เป็นยา. | เภสัชวิทยา | (เพสัดชะวิดทะยา, เพสัดวิดทะยา) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยฤทธิ์ของยาหรือของสารที่มีต่อสิ่งมีชีวิต. | เภสัชเวท | (เพสัดชะเวด) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยยาที่ได้จากพืช สัตว์ และแร่ธาตุโดยตรง หรือสารที่เกิดจากสิ่งเหล่านั้น, วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยสมุนไพร. | เภสัชศาสตร์ | (เพสัดชะสาด) น. วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค. | เภสัชอุตสาหกรรม | (เพสัดอุดสาหะกำ) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมยาระดับอุตสาหกรรม. | โภชนาการ | (โพชะนา-, โพดชะนา-) น. วิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต. | มหาพรหมราชินี | น. ชื่อต้นไม้ขนาดเล็ก ชนิด Mitrephora sirikitiae Weerasooriya, Chalermglin et M.K.R. Sanadero ในวงศ์ Annonaceae กลีบดอกสีเขียวอ่อน ปลายสีม่วงเข้ม ผลเป็นผลกลุ่ม ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ. |
| public health science | วิทยาศาสตร์สาธารณสุข, สาธารณสุขศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | radiological science | วิทยาศาสตร์รังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | scientific management | การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | scientific method | ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | scientific notation | สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | scientific processing | การประมวลผลเชิงวิทยาศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | scientific socialism | สังคมนิยมเชิงวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sanitary science | วิทยาศาสตร์สุขาภิบาล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, medical | วิทยาศาสตร์การแพทย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, nutritional | วิทยาศาสตร์โภชนาการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, radiological | วิทยาศาสตร์รังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, sanitary | วิทยาศาสตร์สุขาภิบาล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, transfusion | วิทยาศาสตร์การบริการโลหิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | scientific language | ภาษาเชิงวิทยาศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | science fiction | บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | science, biological | วิทยาศาสตร์ชีวภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | science, health | วิทยาศาสตร์สุขภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | biological science | วิทยาศาสตร์ชีวภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | management, scientific | การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | medical science | วิทยาศาสตร์การแพทย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | method, scientific | ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | computational science | วิทยาศาสตร์เชิงคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | generic name | ๑. ชื่อสามัญทางวิทยาศาสตร์๒. (ช.) ชื่อสกุล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | earth science | วิทยาศาสตร์โลก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | transfusion science | วิทยาศาสตร์การบริการโลหิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | health science | วิทยาศาสตร์สุขภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | health science | วิทยาศาสตร์สุขภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | nutritional science | วิทยาศาสตร์โภชนาการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | neuroscience | ประสาทวิทยาศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | neuroscientist | นักประสาทวิทยาศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Science processing skills | ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science communication | การสื่อสารวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | High pressure (Science) | ความดันสูง (วิทยาศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science camp | ค่ายวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Earth science | วิทยาศาสตร์โลก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Discoveries in science | การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science news | ข่าววิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | X-rays | รังสีเอกซ์, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] | Roentgen rays | รังสีเรินต์เก็น, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] | Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | Science project | โครงงานวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | National Science and Technology Development Agency | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science and Technology Knowledge Services | ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nucleonics | นิวคลีออนิกส์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์และการใช้ประโยชน์ [นิวเคลียร์] | Science indicator | ดัชนีวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Scientific attitude | ทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Sciences and state; Technology and state | นโยบายวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science fiction | นวนิยายวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Scientist | นักวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Food scientist | นักวิทยาศาสตร์การอาหาร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Marine scientist | นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | ฟิสิกส์ | วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่างๆ และพลังงาน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ฟิสิก [คำที่มักเขียนผิด] | Scientific calculator | เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์, เครื่องคิดเลขที่มีสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถิติ สมการลีเนียร์หลายตัวแปรได้ เป็นต้น [Assistive Technology] | อิเล็กทรอนิกส์ | วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ อิเล็กทรอนิคส์ [คำที่มักเขียนผิด] | Acoustics | วิทยาศาสตร์เสียง [TU Subject Heading] | Acoustics and physics | วิทยาศาสตร์เสียงและฟิสิกส์ [TU Subject Heading] | Art and science | ศิลปะกับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Buddhism and science | พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Communication in science | การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Creative ability in science | การสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Discoveries in science | การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Environmental sciences | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Errors, Sceintific | ความผิดพลาดเชิงวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Food scientists | นักวิทยาศาสตร์การอาหาร [TU Subject Heading] | Forensic sciences | นิติวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Histocytological preparation techniques | เทคนิคการเตรียมทางจุลกายวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Islam and science | ศาสนาอิสลามกับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Kinesiology | วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว [TU Subject Heading] | Life sciences | วิทยาศาสตร์ชีวภาพ [TU Subject Heading] | Literature and science | วรรณกรรมกับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Marine sciences | วิทยาศาสตร์ทางทะเล [TU Subject Heading] | Medical sciences | วิทยาศาสตร์การแพทย์ [TU Subject Heading] | Philosophy and science | ปรัชญากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Physical sciences | วิทยาศาสตร์กายภาพ [TU Subject Heading] | Religion and science | ศาสนากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Research parks | อุทยานวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Science | วิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] |
| I think it's time we brought this out of the closet... and report these results directly... to the Department of Scientific Intelligence in Washington. | ฉันว่ามันถึงเวลาที่เรา.. ..จะนำรายงานนี้เข้าเสนอโดยตรง.. ..ต่อกระทรวงวิทยาศาสตร์ในวอชิงตัน The Lawnmower Man (1992) | You'll want to contact Agent Mulder. We look forward to your reports. | พวกเรา เชื่อมั่นในตัวคุณ ว่ามี การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ที่เหมาะสม Deep Throat (1993) | Now when convention and science offer us no answers, might we not finally turn to the fantastic as a plausibility? | ที่ตาย จากเหตุลึกลับแบบนี้ ตอนนี้ เมื่อเรารวมข้อมูลที่มี และ วิทยาศาสตร์ ก็ไม่สามารถให้คำตอบได้ Deep Throat (1993) | The answers are there. You just have to know where to look. | ...คือความเห็นใดๆ ที่พอเป็นคำตอบ แห่งแก่นแท้ทางวิทยาศาสตร์ Deep Throat (1993) | There has got to be an explanation. | - ไม่มีอะไรสนับสนุนความคิดนั้น - ไม่มีอะไรเป็นวิทยาศาสตร์ Deep Throat (1993) | - You're aware of that? - Yes, sir. | ..หลักการ และความเชื่อถือทางวิทยาศาสตร์ ดูเหมือนจะไม่สนับสนุนเรื่องราวเลย Deep Throat (1993) | The science or medical technology to do what you are suggesting does not exist. | แล้วเทคโนโลยี่ทางวิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์ใด ที่จะทำตามอย่างที่คุณพูดได้ นั่นไม่มี Squeeze (1993) | I took you for a scientist. | ฉันให้นายเป็นนักวิทยาศาสตร์ Junior (1994) | - l am a scientist. | - ฉันเป็นนักวิทยาศาสตร์ Junior (1994) | -The greatest scientific breakthrough... in the history of this university. | - การก้าวล้ำทางวิทยาศาสตร์ Junior (1994) | No. All the same, these figures are science. | ไม่ เหมือนเดิมตัวเลข เป็นวิทยาศาสตร์ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | And what is science, Mr. Anson? | วิทยาศาสตร์คืออะไร คุณแอนสัน The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | -Science is dispassionate. | วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องไร้อารมณ์ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Let us fight for a world of reason, a world where science and progress will lead to the happiness of all. | เราจะสู้บนเหตุและผล โลกแห่งวิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า จะพาทุกคนไปสู่ความสุข The Great Dictator (1940) | Nobody can know a thing like that. This isn't an exact science. | ไม่มีใครสามารถรู้ว่าสิ่งที่ต้องการที่ นี้ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ที่แน่นอน 12 Angry Men (1957) | Scientist, you're getting nowhere. | นักวิทยาศาสตร์ คุณได้รับ ไม่มีที่ไหนที่คุณ นักวิทยาศาสตร์ Help! (1965) | (Electronic beeping) | ไม่ย่อท้อในที่สุด นักวิทยาศาสตร์ที่ ใกล้ที่สุด Help! (1965) | Outrageous! You're nothing but a mad scientist! | แค่นักวิทยาศาสตร์บ้าที่ใช้งาน ซ้ำซาก Help! (1965) | In the name of science I demand that ring. | ในนามของวิทยาศาสตร์ ฉันเรียกร้อง แหวนนั้น มันคือของคุณ มันคือของคุณ Help! (1965) | If I had a Luger... | นักวิทยาศาสตร์ของพวกเขามีการ ติดตั้งอย่างถูกต้องใช่มั้ย Help! (1965) | That's what comes of teaching science by TV. | การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดย โทรทัศน์ คุณจะขอบคุณฉันในท้ายที่สุด Help! (1965) | - The Sea of Science. | ทะเลวิทยาศาสตร์ Yellow Submarine (1968) | Manifestations which you, if I might add, as minister of science have been unable to fathom. | ปรากฏการณ์ประหลาด ซึ่งคุณรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์ ยังไม่สามารถอธิบายได้ Beneath the Planet of the Apes (1970) | If I had any proper sense of scientific purpose, Cornelius, | ถ้าฉันมีอํานาจทางด้านวิทยาศาสตร์ Beneath the Planet of the Apes (1970) | Are you so blind, you two psychologists, that you're unaware that we're on the verge of a grave crisis? | พวกเธอเป็นนักวิทยาศาสตร์ รู้ว่าการค้นพบของเธอ ทําให้เกิดเรื่องวิกฤติ Beneath the Planet of the Apes (1970) | As minister of science, it is my duty to find out whether some other form of life exists. | ฐานะรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์ ฉันมีหน้าที่ค้นหาว่า... มีสิ่งมีชีวิตรูปแบบอื่นอีกมั้ย Beneath the Planet of the Apes (1970) | I am asking you to be the guardians of the principles of science during my absence. | ฉันขอร้องให้เธอเป็นผู้ดูเเล สภาวิทยาศาสตร์สูงสุดช่วงที่ฉันไม่อยู่ Beneath the Planet of the Apes (1970) | Archaeology is not an exact science. It does not deal in time schedules. | โบราณคดีไม่ใช่วิทยาศาสตร์ที่แม่นยำ มันไม่เสร็จตามเวลาที่กำหนด. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Nothing can be heard. Science says so. | ไม่มีอะไรจะได้ยิน วิทยาศาสตร์พูดเช่นนั้น Idemo dalje (1982) | On a scientific basis. | บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ Idemo dalje (1982) | We are scientists, you and I, Dr. floyd. | เราเป็นนักวิทยาศาสตร์, คุณ และฉัน, ดร. ฟลอยด์ 2010: The Year We Make Contact (1984) | Enough with the crazy scientists spending all this money trying to talk to Martians. | เพียงพอกับนักวิทยาศาสตร์บ้า ใช้จ่าย เงินทั้งหมดนี้พยายามที่จะ พูดคุยกับดาวอังคาร 2010: The Year We Make Contact (1984) | We're scientists, not politicians. | เราควรจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ ไม่ได้นักการเมือง วิธีที่รวดเร็ว? 2010: The Year We Make Contact (1984) | Science demands it. | เรียกร้องวิทยาศาสตร์มัน Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | I shouldn't let the scientists poke you about. | ฉันไม่ควรจะปล่อยให้นักวิทยาศาสตร์โผล่คุณเกี่ยวกับ Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | The imperial science? | วิทยาศาสตร์จักรวรรดิ? Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | There are two reasons he should stay. Firstly, for the sake of science. | มีสองเหตุผลที่เขาควรจะอยู่เป็น ประการแรกเพื่อประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Science? | วิทยาศาสตร์? Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Whose science? | ใครวิทยาศาสตร์? Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Your science? | วิทยาศาสตร์ของคุณ? Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | I'm a scientist. | ฉันนักวิทยาศาสตร์ Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | So, as a scientist, you do a lot of research? | ดังนั้นเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่คุณทำมากของการวิจัยหรือไม่ Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | As a scientist, I don't want to prejudice my experiment. | เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ผมไม่ต้องการที่จะกระทบกระเทือนการทดสอบของฉัน Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | He was a scientist. Nuclear physics. | เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์นิวเคลียร์ Clue (1985) | Your orders are to facilitate the job of this scientific team. | แต่คำสั่งของคุณ ควรสอดคล้องกับ งานของทีมนักวิทยาศาสตร์ Day of the Dead (1985) | And he desires to learn martial science too. | และเขาปรารถนาที่จะเรียนรู้วิทยาศาสตร์การต่อสู้เกินไป Bloodsport (1988) | Yes, but what do you mean by "martial science"? | ใช่ แต่สิ่งที่คุณหมายถึงโดย "วิทยาศาสตร์การต่อสู้"? Bloodsport (1988) | You use science to make vines grow better. | คุณใช้วิทยาศาสตร์เพื่อให้เถาเติบโตที่ดีขึ้น Bloodsport (1988) | Martial science provides a way of training. | วิทยาศาสตร์มีวิธีการต่อสู้ของการฝึกอบรม Bloodsport (1988) | Scientists are a bunch of romantics. | นักวิทยาศาสตร์เป็นพวกช่างเพ้อฝัน Akira (1988) |
| อาณาจักรวิทยาศาสตร์ | [ānājak witthayāsāt] (n, exp) EN: domain of science ; field of science FR: domaine de la science [ m ] | ชื่อวิทยาศาสตร์ | [cheū witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific name FR: nom scientifique [ m ] ; nom latin [ m ] | การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ | [kān patiwat thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: Scientific Revolution | การแสดงวิทยาศาสตร์ | [kān sadaēng witthayāsāt] (n, exp) EN: science show FR: exposition scientifique [ f ] | การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ | [kān wijai choēng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific research FR: recherche scientifique [ f ] | คณะวิทยาศาสตร์ | [khana witthayāsāt] (n, exp) EN: faculty of science FR: faculté des sciences [ f ] | คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาล้ย | [khana witthayāsāt Julālongkøn mahā witthayālai] (n, exp) FR: faculté des sciences de l'université Chulalongkorn [ f ] | เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | [khreūangmeū witthayāsāt] (n, exp) EN: laboratory instruments FR: appareil scientifique [ m ] | ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ | [khwāmkhit choēng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific thinking FR: pensée scientifique [ f ] | กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | [Krasūang Witthayāsāt lae Thēknōlōyī] (org) EN: Ministry of Science and Technology FR: ministère des Sciences et des Technologies [ m ] | กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม | [Krasūang Witthayāsāt Thēknōlōyī lae Singwaētløm] (org) EN: Ministry of Science Technology and Environment | โลกวิทยาศาสตร์ | [Lōk witthayāsāt] (tm) EN: Science World FR: Science World [ m ] | นักวิทยาศาสตร์ | [nakwitthayāsāt] (n) EN: scientist FR: scientifique [ m, f ] ; homme de science [ m ] | นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ | [nakwitthayāsāt chāo Angkrit] (n, exp) EN: English scientist FR: scientifique anglais [ m ] | นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ | [nakwitthayāsāt phū yingyai] (n, exp) FR: scientifique illustre [ m ] ; célèbre homme de science [ m ] | หนังสือวิทยาศาสตร์ | [nangseū witthayāsāt] (n, exp) FR: livre de science [ m ] ; livre scientifique [ m ] | นิติวิทยาศาสตร์ | [nitiwitthayāsāt] (n, exp) EN: forensic science | แผนกวิทยาศาสตร์ | [phanaēk witthayāsāt] (n, exp) EN: scientifique domain FR: domaine scientifique [ m ] | พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ | [phiphitthaphan witthayāsāt] (n, exp) FR: musée des sciences [ m ] | ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ | [rabīēp withī thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific method FR: méthode scientifique [ f ] | สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ | [sanyakōn witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific notation FR: notation scientifique [ f ] | ศัพท์วิทยาศาสตร์ | [sap witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific term FR: terme scientifique [ m ] | สถาบันวิทยาศาสตร์ | [sathāban witthayāsāt] (n, exp) FR: institution scientifique [ f ] | ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | [Sūn Khwāmrū Witthayāsāt Lae Thēknōlōyī] (n, exp) EN: Science and Technology Knowledge Center (STKC) FR: Centre des sciences et technologies (STKC) | ทางวิทยาศาสตร์ | [thāng witthayāsāt] (adj) EN: scientific FR: scientifique | ทีมนักวิทยาศาสตร์ | [thīm nakwitthayāsāt] (n, exp) FR: équipe de scientifiques [ f ] | ทองวิทยาศาสตร์ | [thøng witthayāsāt] (n, exp) EN: plated gold FR: or plaqué [ m ] | ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ | [thritsadī thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific theory FR: théorie scientifique [ f ] | วิชาวิทยาศาสตร์ | [wichā witthayāsāt] (n, exp) EN: science FR: sciences [ fpl ] | วิธีการทางวิทยาศาสตร์ | [withīkān thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific method ; scientific approach FR: méthode scientifique [ f ] ; approche scientifique [ f ] | วิธีทางวิทยาศาสตร์ | [withī thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific methodology FR: méthode scientifique [ f ] | วิทยาศาสตร์ | [witthayāsāt] (n) EN: science FR: science [ f ] ; sciences [ fpl ] | วิทยาศาสตร์ | [witthayāsāt] (adj) EN: scientific FR: scientifique | วิทยาศาสตร์ด้านอาหาร | [witthayāsāt dān āhān] (n, exp) FR: science alimentaire [ f ] | วิทยาศาสตร์การกีฬา | [witthayāsāt kānkīlā] (n, exp) EN: sport science | วิทยาศาสตร์โลก | [witthayāsāt lōk] (n, exp) EN: Earth sciences FR: sciences de la Terre [ fpl ] | วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | [witthayāsāt prayuk] (n, exp) EN: applied science FR: science appliquée [ f ] | วิทยาศาสตร์สุขภาพ | [witthayāsāt sukkhaphāp] (n, exp) EN: health science | วิทยาศาสตร์ทางทะเล | [witthayāsāt thāng thalē] (n) EN: oceanography FR: sciences océanographiques [ fpl ] ; océanographie [ f ] ; sciences marines [ fpl ] ; hydrologie marine [ f ] |
| bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD | nstda | (org) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ National Science and Technology Development Agency | CIFS | (org) สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science) |
| academician | (n) สมาชิกของสโมสร (ทางด้านต่างๆเช่น ศิลปะ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์) | actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง | aero | (adj) ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือศิลปะการบิน | aerostation | (n) วิทยาศาสตร์หรือศิลปะที่เกี่ยวกับการสร้างวัตถุเช่น บอลลูนให้ลอยในอากาศ | agrology | (n) วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร | agronomics | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomy | agronomy | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomics | altimetry | (n) วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการวัดความสูง | anthropometry | (n) การวัดร่างกายมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์ | boffin | (n) นักวิทยาศาสตร์ | earth science | (n) วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินและส่วนประกอบของโลก (เช่น ภูมิศาสตร์ ธรณีวิทยา), Syn. geography | experiment | (n) การทดลองทางวิทยาศาสตร์, See also: การทดสอบ, Syn. analysis, test, trial | experiment | (vi) ทดลอง (ทางวิทยาศาสตร์), See also: ทดสอบ, Syn. analyze, test, verify | experimental | (adj) เกี่ยวกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์, Syn. analytic, probative, verification | Faculty of Science | (n) คณะวิทยาศาสตร์ | flask | (n) ขวดแก้วที่ใช้ในงานทดลองวิทยาศาสตร์ | M.C.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิต (Master of Computer Science) | M.H.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์สุขภาพมหาบัณฑิต (Master of Health Science) | M.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (Master of Science) | medicine | (n) แพทยศาสตร์, See also: การแพทย์, วิทยาศาสตร์แพทย์ | nonscientific | (adj) ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ | notation | (n) เครื่องหมายที่ใช้แทนระบบตัวเลขหรือเสียง, See also: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในทางดนตรี คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ | polytechnic | (adj) เกี่ยวกับการสอนด้านอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี, Syn. applied, technical, technological | polytechnic | (n) โรงเรียนเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี, See also: โปลีเทคนิค, โรงเรียนโปลีเทคนิค | pseudoscience | (n) ระบบสรุปผลโดยปราศจากเหตุผลทางวิทยาศาสตร์หรือความจริง | pseudoscientific | (adj) ซึ่งเป็นระบบสรุปผลโดยปกเหตุผลทางวิทยาศาสตร์หรือความจริง | psychic | (adj) เกี่ยวกับวิญญาณ, See also: เกี่ยวกับสิ่งนอกเหนือวิทยาศาสตร์, Syn. mystic, immaterial, supernatural | safari | (n) การเดินทางไกลเพื่อล่าสัตว์ ท่องเที่ยว ค้นหาทางวิทยาศาสตร์, See also: โดยเฉพาะในทวีปแอฟริกา, Syn. caravan, expedition, journey | science | (n) วิทยาศาสตร์, See also: ความรู้ที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้าและทดลอง, Syn. discipline, body of knowledge, branch of knowledge | science | (n) การศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์, See also: ศาสตร์หรือสาขาทางวิทยาศาสตร์, Syn. art, skill, technique | science fiction | (n) นวนิยายวิทยาศาสตร์, Syn. scifi | scientific | (adj) ตามหลักวิทยาศาสตร์, See also: ทางวิทยาศาสตร์, เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ | scientific approach | (n) วิธีการทางวิทยาศาสตร์, Syn. scholarship | scientifically | (adv) ทางวิทยาศาสตร์ | scientist | (n) นักวิทยาศาสตร์, Syn. expert, investigator, specialist | sci-fi | (n) นวนิยายวิทยาศาสตร์ (คำไม่เป็นทางการของ science fiction) | synonymy | (n) รายชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่แบ่งชนิดเป็นกลุ่มต่างๆ, Syn. list of taxonomic names | taxonomy | (n) วิทยาศาสตร์หรือเทคนิคเกี่ยวกับการแบ่งประเภท, See also: การจัดแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มต่างๆ, Syn. classification, nomenclature | technology | (n) เทคโนโลยี, See also: การนำเอาวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปฏิบัติ, วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | thermodynamics | (n) วิทยาศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างความร้อนกับพลังงานกล | UNESCO | (abbr) องค์การร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ, See also: ยูเนสโก คำย่อของ United Nations Educational; Scientific and Cultural Organization | unscientific | (adj) ซึ่งไม่เป็นวิทยาศาสตร์, Syn. unsystematic, inconclusive, impulsive | unscientifically | (adv) อย่างไม่เป็นวิทยาศาสตร์ | x ray | (n) ภาพถ่ายด้วยรังสีเอ็กซ์ (ทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์), See also: ภาพเอ็กซ์เรย์ | x-ray | (n) ภาพถ่ายด้วยรังสีเอ็กซ์ (ทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์), See also: ภาพเอ็กซ์เรย์ | zero | (n) เลขศูนย์, See also: ศูนย์, เครื่องหมายศูนย์, เลขศูนย์, ระดับศูนย์, ค่าทางวิทยาศาสตร์ที่อยู่ระหว่าง บวก และ ลบ, Syn. naught, nothing |
| a. a. a. s. | abbr. American Association for the Advancement of Science สมาคมเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา | a. a. s. | abbr. American Academy of Sciences (สภาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา) | aeroballistics | (แอโรบะลิส' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับขีปนาวุธ. -aeroballistic adj. | aeronautics | (แอโรนอท' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะการบิน (science of flight) | aerostatics | (แอโรสแทท' ทิคซฺ) n. สถิติศาสตร์ที่เกี่ยวกับแก๊สหรืออากาศธาตุ, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับยานที่เบากว่าอากาศ -aerostatic , aerostatical adj. (of lighter-than-air craft) | aerostation | (แอโรสเท' เชิน) n. วิทยาศาสตร์หรือศิลปที่เกี่ยวกับบอลลูนหรือเรือบินที่เบากว่าอากาศ | agrobiology | (แอก' โกรไบออล' โลจี) ชีวเกษตรกรรม, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต และโภชนาการของพืช. -agrobiologic, agribiological adj. -agrobiologist n. วิทยาที่เกี่ยวกับเ (agro+biology) | agrology | (อะกรอล' โลจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับดินเพาะปลูกเกษตรกรรม, ปฐพีเกษตรกรรม. -agroligic, agrological adj. | agronomics | (แอกโรนอม' มิคซฺ) ปฐพีศาสตร์, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินเพาะปลูกสำหรับเกษตรกรรม (science of managing crops) | altimetry | (แอลทิม' มิทรี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการวัดความสูง-altimetric (al) adj. | astronautics | (แอสโทรนอท' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการบินในอวกาศ | avionics | (เอวีออน'นิคซ) n. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า และอีเลคทรอนนิคส์แห่งการบิน (in aviation) | babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ | ballistics | (บะลิส'ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับขีปนาวุธ, See also: ballistician adj. ดูballistics | bernouilli box | กล่องเบอร์นิวลีหมายถึง ระบบการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ไว้ในแถบบันทึกคาร์ทริดจ์ (cartridge) แถบบันทึกชนิดนี้ทำไว้ให้ถอดเก็บได้สะดวก นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสที่ ชื่อเบอร์นิวลี (Bernouilli) เป็นผู้คิดทำและ เป็นผู้คิดทฤษฎีเกี่ยวกับพลังการหมุนของแถบบันทึกชนิดนี้ | breakthrough | (เบรค'ธรู) n. การพัฒนาอย่างมากมายยิ่ง, การก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ครั้งสำคัญยิ่ง, การฝ่าอุปสรรค, การบุกทะลวง, Syn. advance -Conf.break through | circuitry | (เซอ'คิทรี) n. วงจรไฟฟ้า, วงจรในอุปกรณ์อิเล็กตรอน, วิทยาศาสตร์วงจรไฟฟ้าหรือเครื่องอิเล็คตรอน | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ | demography | (ดิมอก'กระพี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสถิติประชากร, See also: demographer n. ดูdemography demographic adj. ดูdemography demographist n. ดูdemography | electronics | n. วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้อุปกรณ์และระบบที่เกี่ยวกับการวิ่งของอิเล็กตรอนในสูญญากาศ หรือในสื่อที่เป็นแก๊ส | empirical | (เอมพี'ริเคิล) adj. ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือการทดลองหรือการสังเกต (โดยไม่อาศัยวิทยาศาสตร์หรือทฤษฎี), See also: empiricalness n. ดูempirical | genetics | (จะเนท'ทิคซฺ) n. พันธุศาสตร์, วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับกรรมพันธุ์, ลักษณะทางกรรมพันธุ์ | gunnery | (กัน'เนอรี่) n. ศิลปะและวิทยาศาสตร์การสร้างและใช้ปืน | harmonics | (ฮาร์มอน'นิคซ) n. วิทยาศาสตร์เสียงดนตรี, วิชาเสียงประสาน | horology | (โฮรอล'ละจี) n. ศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ในการทำเครื่องบอกเวลาหรือวัดเวลา | intranet | (อิน' เทอเนท) n. ระบบเครือข่ายระบบหนึ่งที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก เป็นประโยชน์ที่ให้บริการแก่คนทั่วไป ข้อมูลข่าวสารนั้น มีหลากหลายตั้งแต่สาระบันเทิงจนถึงข้อมูลความรู้ระดับสถาบันทางวิทยาศาสตร์ ศูนย์การแพทย์ และหน่วยราชการต่าง ๆ | mammalogy | (มะแมล'โลจี) n. วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม | memoir | (เมม'วาร์, เมม'วอร์) n. บันทึกชีวิตและประสบการณ์ของคน ๆ หนึ่ง, ประมวลรายงานเรื่องทางวิทยาศาสตร์หรือวิชาอื่น ๆ , บันทึกความจำ, ชีวประวัติบุคคล, See also: memoirist n. | metallurgy | (เมท'ทะเลอจี) n. เทคนิคหรือวิทยาศาสตร์ของการทำโลหะผสม | metrics | (เม'ทริคซ) n. ศิลปะการประพันธ์โคลง กลอน ฉันท์ กาพย์ วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการวัด ชั่ง และตวง | metrology | (มิทรอล'โลจี) n. วิทยาศาสตร์แห่งการวัดชั่งและตวง | missilery | (มิส'เซิลรี) n. วิทยาศาสตร์การสร้างและใช้ขีปนาวุธ | missilry | (มิส'เซิลรี) n. วิทยาศาสตร์การสร้างและใช้ขีปนาวุธ | morphology | (มอร์ฟอส'โลจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้างของสัตว์และพืช., See also: morphologic adj. morphological adj. morphologist n. | ology | (ออล'ละจี) n. วิชาการ, วิทยาการ, วิทยาศาสตร์, ทฤษฎี, คำโอ้อวด | optic | (ออพ'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับ (สายตา, การมองเห็น, วิทยาศาสตร์แห่งแสงและสายตา) | optical | (ออพ'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับ (สายตา, การมองเห็น, วิทยาศาสตร์แห่งแสงและสายตา) | optics | (ออพ'ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์แสงและสายตา, ทัศนศาสตร์ | paleogeography | (เพลีโอจิออก'กระฟี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของโลกในด้านธรณีวิทยา, See also: paleogeographer n. paleogeographic adj. paleogeographical adj. | paleogeology | เพลิโอจีออล'ละจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสภาพทางธรณีวิทยาในช่วงระยะเวลาหนึ่งของประวัติศาสตร์โลก, See also: paleogeologic adj. | philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ | physical | (ฟิส'ซิเคิล) adj. เกี่ยวกับร่างกาย, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา, ทางวัตถุ, โดยรูปร่าง, โดยพละของธรรมชาติ, แท้จริง, แน่แท้, เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ. n. การตรวจร่างกาย., See also: physicalness n., Syn. somatic, carnal | physics | (ฟิส'ซิคซฺ) n. ฟิสิคส์, วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสารพลังงาน การเคลื่อนไหวและแรง | polytechnic | (พอลลีเทค'นิค) adj., n. (โรงเรียน) หลายสาขาวิชาที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี. | psychic | (ไซ'คิค) adj. เกี่ยวกับจิตใจ, เกี่ยวกับจิตวิญญาณ, กายสิทธิ. n. คนที่ไวต่อพลังจิต, กายสิทธิ์, สื่อวิญญาณ, ปรากฎการณ์ที่นอกเหนือวิทยาศาสตร์., See also: psychically adv. | rhesus | (รี'ซัส) n. ลิงจำพวก Macaca mulatta พบในอินเดีย ใช้เป็นสัตว์ทดลองทางวิทยาศาสตร์การแพทย์, Syn. Rhesus monkey | science | (ไซ'เอินซฺ) n. วิทยาศาสตร์ | science fiction | n. นวนิยายวิทยาศาสตร์ | scientific | (ไซเอินทิฟ'ฟิค) adj. เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์, ควบคุมโดยหลักความจริงหรือหลักการ, มีระบบ., See also: scientifically adv., Syn. empirical, systematic, demonstrable |
| | embryologist | (n) นักวิทยาศาสตร์เพาะเลี้ยงตัวอ่อน, See also: embryo | environmental science | (n) วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | long kong | (name) ลองกองเป็นชื่อของผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ MELIACEAE ชื่อสามัญคือ long kong ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Lansium domesticum Corr. ลองกองนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย Image: | mayfly | (n, name, uniq) ชีปะขาว หรือชีผะขาวก็เรียก ชีผ้าขาวก็เรียก หรือเมย์ฟลายส์ (mayflies) ชื่อวิทยาศาสตร์ เอพฮีมีรอบเทอรา (Ephemeroptera) ตัวขนาดเล็กถึงกลาง ปีกบางมีเส้นมากมาย ปีกคู่แรกใหญ่กว่าคู่หลัง ตัวเมียวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนรูปร่างเรียวยาวอาศัยในน้ำนาน 1-2 ปี ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นแมลงโตเต็มวัย มีปีก ชอบเล่นไฟ มันมีอายุเพียง 1-2 วันเท่านั้น ไม่กินอาหาร ผสมพันธุ์แล้วตาย ฤดูกาลวางไข่อยู่ในราวกลางเดือนเมษายน พบใกล้แหล่งน้ำ บ่อน้ำ ลำธาร ตัวแก่เต็มที่จะลอกคราบออกพร้อมบินขึ้นจากผิวน้ำไปยังแสงสว่าง เป็นการบินขึ้นมาดูโลกครั้งแรกและครั้งสุดท้ายในชีวิต | mega tsunami | (n) คลื่นซึนามิขนาดใหญ่ ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งคลื่น mega tsunami อาจมีความสูงหลายร้อยเมตร มีอำนาจการทำลายล้างมากกว่า Tsunami หลายสิบเท่า | Molecular Gastronomy | (n, name) การทำอาหารโดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และอาศัยวิธีการศึกษาองค์ประกอบของเครื่องปรุงอย่างวิทยาศาสตร์ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เครื่องปรุงเปลี่ยนรสหรือเปลี่ยนสี เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์ที่ได้ทั้งรูปทรงใหม่ๆ และรสชาติที่แตกต่างจากของเดิม | Oceanographer | [โอ๊เชียนโนกราฟเฟอ] (n) นักประดาน้ำ, นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล | Oceanographer | [โอ๊เชี่ยนโนกราฟเฟอ] (n) นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล, นักประดาน้ำ, Syn. Frogman | oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | polymath | [โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org) | quackery | (n) หมอเถื่อน; การรักษาและคำแนะนำของหมอเถื่อนที่ "มั่ว" ไปตามข้อสังเกตและประสบการณ์ โดยไม่คำนึงถึงหลักทางวิทยาศาสตร์, ความมั่ว | rheology | (n) วิชาที่เกี่ยวกับของไหล[ วิทยาศาสตร์ ] ของกึ่งเหลวกึ่งแข็งหรือหนืดๆ | scientific genius | (n, phrase) อัจฉริยะทางวิทยาศาสตร์ | สบทร | (n, name, org, uniq) สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร) ภายใต้การกำกับของ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช), See also: GITS |
| 理工学部 | [りこうがくぶ, rikougakubu] (phrase) คณะวิศวกรรมศาสตร์-วิทยาศาสตร์ | 科学的管理 | [かがくてきかんり, kagakutekikanri] (n) การควบคุมอย่างมีหลักการทางวิทยาศาสตร์ | 情報工学 | [じょうほうこうがく, jouhoukougaku] (n) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
| 科学 | [かがく, kagaku] TH: วิทยาศาสตร์ EN: science | 理学 | [りがく, rigaku] TH: วิทยาศาสตร์กายภาพ EN: physical science | 理学部 | [りがくぶ, rigakubu] TH: คณะวิทยาศาสตร์ |
| Schall | (n) |der, nur Sing.| เสียง (เรียกในเชิงวิทยาศาสตร์) เช่น die Schallwelle คลื่นเสียง, See also: die Stimme, das Geräusch | wissenschaftlich | (adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ | Einheit | (n) |die, pl. Einheiten| หน่วยทางฟิสิกส์หรือวิทยาศาสตร์ เช่น Die Krafteinheit ist in Newton ( N ) angegeben. = หน่วยของแรง(ทางฟิสิกส์)ถูกกำหนดให้เป็นหน่วยนิวตัน | Kittel | (n) |der, pl. Kittel| เสื้อคลุมยาว, เสื้อกาวน์(สำหรับแพทย์หรือนักวิทยาศาสตร์), See also: Related: Mantel | erforschen | (vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen | forschen | (vi) |forschte, hat geforscht| (nach etw./jmdm.) พยายามเพื่อหาที่มาหรือสาเหตุของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Wissenschaftler forschen seit langem nach der Ursache des Aussterbens von Dinosaurier. นักวิทยาศาสตร์พยายามศึกษาหาสาเหตุของการสูญพันธ์ของไดโนเสาร์มานานแล้ว, See also: Related: erforschen |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |