ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พยายาม, -พยายาม- |
เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
| พยายาม | (v) try, See also: endeavour, attempt, make an effort, strive, Syn. พากเพียร, บากบั่น, อุตสาหะ, มานะ, Example: เด็กอาจแสดงพฤติกรรมหลายอย่างเพื่อพยายามเรียกร้องความเอาใจใส่และความรักจากพ่อแม่, Thai Definition: ทำโดยมานะบากบั่น, Notes: (บาลี), (สันสกฤต) | ความพยายาม | (n) attempt, See also: try, endeavor, Syn. ความมานะบากบั่น, ความอุตสาหะ, ความพากเพียร, Example: ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่น | เพียรพยายาม | (v) be diligent, See also: be industrious, Syn. พยายาม, เพียร, มานะพยายาม, Example: ข้าพเจ้าเพียรพยายามบอกเธอว่า ไม่ต้องเสียใจทั้งๆ ที่รู้ว่าเธอไม่ได้ยิน, Thai Definition: ทำโดยมานะบากบั่น | ความเพียรพยายาม | (n) attempt, See also: endeavor, try, Syn. ความพยายาม, ความเพียร, ความพากเพียร, ความอุตสาหะ, Ant. ความขี้เกียจ, ความเกียจคร้าน, Example: ท่านได้ใช้ความเพียรพยายามทุ่มเทขยันและอดทนจนประสบความสำเร็จในชีวิต |
| พยายาม | (พะยา-) ก. ทำโดยมานะบากบั่น. | กระเบียดกระเสียร | ก. พยายามใช้จ่ายอย่างจำกัดจำเขี่ย. | กระเย้อกระแหย่ง | (-แหฺย่ง) ก. ขะเย้อแขย่ง, เขย่งแล้วเขย่งอีก, โดยปริยายหมายความว่า พยายามจะให้ได้สิ่งที่สุดเอื้อม. | กลิ้งเกลือก | ก. พยายามช่วยตัวเองเท่าที่จะทำได้ เช่น ยากจนก็กลิ้งเกลือกไปตามบุญตามกรรมไม่ขอพึ่งใคร, เกลือกกลิ้ง ก็ว่า. | กุมารา | น. กุมาร, เด็กชาย, เช่น เมื่อนั้น พระไชยเชษฐ์ความแสนเสนหา พยายามตามปลอบกุมารา อนิจจาปลื้มใจไม่ดูดี (ไชยเชษฐ์). | เกลือกกลิ้ง | พยายามช่วยตัวเองเท่าที่จะทำได้ เช่น นอนเกลือกกลิ้งไปมาด้วยความทุรนทุราย, กลิ้งเกลือก ก็ว่า. | เกี่ยงตาย | ก. เลี่ยงไปทางตาย, ยอมตาย, เช่น หวั่นฤทธิ์คิดครั่นสงคราม จักยุทธพยายาม คือขวัญสกนธ์เกี่ยงตาย (สรรพสิทธิ์). | แก่งแย่ง | ก. พยายามเอารัดเอาเปรียบกันหรือจะเอาแต่ได้ข้างเดียว, ไม่ปรองดองกัน. | ขิ่ง | ก. พยายามทำสิ่งที่ยากอันตนจะต้องทำให้เสร็จ เช่น ท้าวธผู้ข้อนขิ่งทำทาน (ม. คำหลวง ชูชก). | เข็นครกขึ้นเขา, เข็นครกขึ้นภูเขา | ก. ทำงานที่ยากลำบากอย่างยิ่งโดยต้องใช้ความเพียรพยายามและอดทนอย่างมาก หรือบางทีก็เกินกำลังความสามารถหรือสติปัญญาของตน. | ไขว่คว้า | ก. เอื้อมมือฉวยเอาอย่างสับสน, พยายามจับหรือถือเอา, คว้าไขว่ ก็ว่า. | ค้น | ก. พยายามหาให้พบโดยวิธีสืบ เสาะ แสวง เป็นต้น. | คลอ | บรรเลงดนตรีไปพร้อมกับการขับร้อง โดยพยายามดำเนินทำนองให้ใกล้เคียงกับทำนองร้องมากที่สุด. | คว้าไขว่ | (-ไขฺว่) ก. เอื้อมมือฉวยเอาอย่างสับสน, พยายามจับหรือถือเอา, ไขว่คว้า ก็ว่า. | เค็ม | โดยปริยายหมายความว่า พยายามให้ได้ประโยชน์มากกว่า. | เคี่ยวขัน | ก. พยายามต่อสู้หรือแข่งขันด้วยความลำบาก. | เคี่ยวขับ | ก. เร่งรัด, พยายามให้ถึงที่สุด. | โค้งสุดท้าย | น. ช่วงสุดท้ายของการแข่งขัน ซึ่งมีความพยายามที่จะเอาชนะกันอย่างเต็มที่. | จิตไร้สำนึก | น. ความคิด ความรู้สึก และแรงผลักดัน ซึ่งถูกกดเก็บไว้ภายในจิตใจโดยไม่รู้ตัว แม้จะพยายามนึกอย่างไรก็นึกไม่ออก. | จุดหมาย, จุดหมายปลายทาง | น. จุดหรือสภาวะที่ต้องพยายามไปให้ถึง, จุดหรือสภาวะที่ตั้งใจจะให้บรรลุถึง, เช่น การเดินทางครั้งนี้มีจุดหมายที่จังหวัดสุโขทัย คนเรามีความสุขเป็นจุดหมายในชีวิต. | ชักเย่อ | (ชักกะ-) น. ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย แต่ละฝ่ายจะมีจำนวนเท่า ๆ กันหรือกำลังพอ ๆ กัน มักใช้เชือกขนาดพอกำรอบ ยาวพอที่จะให้ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายเรียงแถวจับได้ โดยมีที่ว่างระหว่างกลางเหลือไว้ประมาณ ๒ เมตร กลางเชือกคาดด้วยผ้าหรือใช้สีป้ายเป็นเครื่องหมายไว้ วางกึ่งกลางเชือกไว้บนพื้นที่ที่มีเส้นขีดกลางเป็นเส้นแบ่งเขตแดน เมื่อกรรมการให้สัญญาณ ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายต่างก็จะพยายามดึงเชือกให้กึ่งกลางของเชือกเข้ามาในแดนของตน ถ้าฝ่ายใดสามารถดึงกึ่งกลางเชือกเข้ามาในแดนของตนได้ ถือว่าชนะ ตามปรกติจะแข่งกัน ๓ ครั้ง ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ ครั้งถือว่าชนะเด็ดขาด. | ดนุ, ดนู | ส. ฉัน, ข้าพเจ้า, เช่น ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำถาม วนิดาพยายาม กะละเล่นสำนวนหวล ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน (มัทนะ), เปนสังวาลย์วรรเวจเขบจขบวน คือคำนวณในดนูดูงามกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร). | ตะกาย | ก. พยายามป่ายปีน เช่น แมวตะกายฝา หมาตะกายเจ้าของ. | ตะกุยตะกาย | ก. พยายามคุ้ยข่วนหรือป่ายปีน. | ตะเกียกตะกาย | ก. พยายามป่ายปีนไป, พยายามทุกทางเพื่อช่วยเหลือตนเองให้รอดพ้นจากความยากลำบากหรือเพื่อให้ประสบความสำเร็จ, เช่น ตะเกียกตะกายว่ายน้ำเข้าหาฝั่ง ตะเกียกตะกายเรียนจนจบปริญญาโท. | ตี่ ๑ | น. การเล่นอย่างหนึ่งของเด็ก ไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น โดยขีดเส้นแบ่งเขตระหว่างผู้เล่น ๒ ฝ่าย และจำกัดเขตด้านกว้างและด้านหลังด้วย ผู้เล่นแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย จำนวนเท่า ๆ กัน คนตี่จะวิ่งออกจากเส้นแบ่งเขตโดยกลั้นใจร้องเสียง “ตี่” ตลอดเวลาที่เข้าไปอยู่ในเขตตรงข้าม พยายามใช้มือฟันฝ่ายตรงข้ามให้มากที่สุด และพยายามวิ่งกลับเข้าเขตของตนให้ได้ ฝ่ายตรงข้ามก็ต้องพยายามไม่ให้ถูกฟัน และหาโอกาสจับคนตี่ไว้มิให้กลับไปได้, ตี่จับ หรือ ตี่เสียง ก็เรียก. | ถ่างตา | ก. เบิกตาดู, พยายามเบิกตาฝืนไว้ไม่ให้หลับ. | ท้อถอย | ก. มีความพยายามลดน้อยถอยลง. | ทางสายกลาง | น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง | ทึ้ง | ก. พยายามดึงของเหนียวหรือสิ่งที่ติดอยู่แน่นโดยแรง เช่น ทึ้งผม, แย่งกัน เช่น แร้งทึ้งศพ ทึ้งสมบัติของชาติ. | เทียมบ่าเทียมไหล่ | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่ญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. | เทียมหน้าเทียมตา | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมหน้าเทียมตาญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. | บรากรม | (บะรากฺรม) น. ความเพียร, ความบากบั่น, ความพยายาม, ความแข็งขัน, ความก้าวไปเพื่อคุณในเบื้องหน้า. | บาสเกตบอล | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ผู้เล่นแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๕ คน ผู้เล่นแต่ละฝ่ายต้องพยายามโยนลูกบอลลงในห่วงตาข่ายของฝ่ายตรงข้าม นับคะแนนตามจำนวนครั้งที่โยนลูกลงห่วงได้. | บุกน้ำลุยไฟ | ก. พยายามฝ่าฟันอันตรายไป. | บุกป่าฝ่าดง | ก. พยายามต่อสู้อุปสรรคต่าง ๆ. | เบ่ง | ก. ตะเบ็ง เช่น เบ่งเสียง, พยายามขับดันสิ่งเช่นอุจจาระปัสสาวะเป็นต้นให้ออกมา เช่น เบ่งอุจจาระเบ่งปัสสาวะ เบ่งลูก, ทำให้พองตัวขึ้นหรือขยายตัวออก เช่น อึ่งอ่างเบ่ง เบ่งกล้าม | ปรือตา | ก. พยายามลืมตาแต่ลืมขึ้นไม่ได้มาก. | ปล้ำ, ปล้ำปลุก | (ปฺลํ้า, -ปฺลุก) ก. ใช้แขนกอดรัดจับกุมเพื่อจะให้อีกฝ่ายหนึ่งล้ม หรือให้อยู่ในอำนาจที่จะทำได้ตามใจตน, โดยปริยายหมายความว่า พยายามทำกิจการอย่างเต็มกำลัง, ปลุกปลํ้า ก็ว่า. | ปล้ำผีลุกปลุกผีนั่ง | ก. พยายามทำให้มีเรื่องมีราวขึ้นมา. | เป้าประสงค์ | น. วัตถุประสงค์หรือจุดหมายปลายทางที่บุคคลพยายามบรรลุถึง เช่น เป้าประสงค์ของวิชานี้เพื่อฝึกทักษะของผู้เรียน. | ผจญ, ผจัญ | (ผะจน, ผะจัน) ก. พยายามต่อสู้, พยายามเอาชนะ, เช่น มารผจญ, ต่อสู้ดิ้นรนเพื่อเอาชนะ เช่น ผจญความทุกข์ยาก ผจญอุปสรรค, ประจญ หรือ ประจัญ ก็ว่า. | ผลักดัน | ก. พยายามทำให้เป็นอย่างที่ต้องการ. | ผู้ก่อการร้าย | น. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ. | ฝนทั่งให้เป็นเข็ม | ก. เพียรพยายามสุดความสามารถจนกว่าจะสำเร็จผล. | ฝึกฝน | ก. เพียรฝึก, พยายามฝึก, เช่น ฝึกฝนตนเองให้ชำนาญในการเย็บปักถักร้อย. | พากเพียร | ก. บากบั่น, พยายาม, มุ่งทำไม่ท้อถอย. | เพียร | ก. พยายามจนกว่าจะสำเร็จ, บากบั่น. | มรรค, มรรค-, มรรคา | ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. | มวยปล้ำ | น. กีฬาต่อสู้ด้วยมือเปล่าอย่างหนึ่ง คู่ต่อสู้ต้องพยายามทำให้อีกฝ่ายล้มลงจนไหล่ด้านหลังทั้ง ๒ ข้างแตะพื้นตลอดช่วงเวลาที่กำหนดจึงจะเป็นฝ่ายชนะ. |
|
| putsch | การพยายามยึดอำนาจปกครองรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suppression | ๑. การห้ามไหล๒. การกด๓. การพยายามลืม (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | attempt | พยายาม, การพยายาม (กระทำความผิดอาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | attempted suicide | การพยายามฆ่าตัวตาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | take over bid | การพยายามเข้าครอบงำกิจการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Total Communication | การสื่อสารระบบรวม, รูปแบบการสอนนักเรียนที่บกพร่องทางการได้ยิน ที่ไม่ได้เน้นการฝึกฟัง หรือภาษามืออย่างใดอย่างหนึ่งเหมือนในอดีต แต่พยายามจะใช้หลายๆ ระบบรวมกัน [Assistive Technology] | Assassination attempt, [ date ] | การพยายามลอบฆ่า, [ ปี ] [TU Subject Heading] | Attempts assassination ; Assassination attempts | การพยายามลอบฆ่า [TU Subject Heading] | Criminal attempt | การพยายามกระทำผิดทางอาญา [TU Subject Heading] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] | Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Organization of European Economic Cooperation | คือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] | Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone Treaty | สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ ลงนามในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2538 มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาคและส่งเสริมความพยายามระหว่างประเทศในระดับภูมิภาคใน การป้องกันการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ซึ่ง นอกจากเป็นส่วนประกอบสำคัญของแผนงานว่าด้วยเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลางในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Zone of Peace, Freedom and Neutrality - ZOPFAN) แล้ว ยังเป็นการสนับ สนุนกระบวนการไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ในเวทีระดับโลกอีกด้วย " [การทูต] | Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] | ความคับข้องใจ | ความคับข้องใจ, สภาพทางจิตใจหรือความรู้สึกที่เป็นผลสืบเนื่องอันได้แก่ ความหงุดหงิด กระวนกระวายใจ กลุ้มใจ สิ่งเหล่านี้มาจากความปรารถนาที่บุคคลมุ่งหวัง แต่ถูกขัดขวาง ทำให้ลดแรงจูงใจ บั่นทอนอิทธิพลความพยายาม ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย ไม่ตอบสนองความต้องการของตนเองได้ ด้วยอุปสรร [สุขภาพจิต] | Industry | อุตสาหกรรม, ความเพียรพยายาม [การแพทย์] | Labour, Premature, Treatened | การพยายามเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด [การแพทย์] | Lobour, Premature, Treatened | การพยายามเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด [การแพทย์] |
| I had to try. | ผมต้องพยายาม The Diamond in the Rough (2013) | You see, we're trying to find this lamp. | เห็นมั้ย เราพยายามที่จะหาตะเกียงนี่ Aladdin (1992) | Tell them the truth, Jafar! You tried to have me killed. | บอกความจริงพวกเขา จาฟา ท่านพยายามจะฆ่าข้า Aladdin (1992) | Your highness, Jafar's been controlling you with this! | ฝ่าบาท จาฟาพยายามควบคุมท่านด้วยสิ่งนี้ Aladdin (1992) | - Ali? -Jasmine, I tried to tell you, I'm just-- | อาลี จัสมิน ฉันพยายามจะบอกเธอ ฉันแค่ Aladdin (1992) | Did you try to help him get free? | คุณได้พยายามช่วยเขาออกมารึเปล่า? Basic Instinct (1992) | You got him on some other charge and he's trying to deal his way out. | เพราะคุณจับเขาได้ และเขาก็พยายามจะหาทางออกน่ะสิ Basic Instinct (1992) | She's trying to seduce you. | เธอพยายามจะล่อลวงคุณ Basic Instinct (1992) | They always try to seduce you. | พวกเขาก็พยายามจะล่อลวงคุณ Basic Instinct (1992) | I was trying to save her life. | ผมพยายามจะช่วยชีวิตเธอ Basic Instinct (1992) | Adam was trying to ruin you just out of spite, and I couldn't bear it. | อดัมพยายามจะทำลายคุณเพื่อ อยากจะแกล้ง และฉันก็รับไม่ได้ Basic Instinct (1992) | You're in danger. She's going to try and kill you. | คุณอยู่ในอันตราย เธอกำลังพยายามจะฆ่าคุณ Basic Instinct (1992) | Who's trying to kill me? | ใครพยายามจะฆ่าฉัน? Basic Instinct (1992) | I'll try and get her sectioned. It's the only thing that'll stop her. | ผมจะพยายามแยกเธออกเป็นสองท่อน นั่นคือสิ่งเดียวที่เราจะหยุดเธอได้ Basic Instinct (1992) | Nice try, though. | พยายามจริงนะ The Bodyguard (1992) | Catherine, try to be glad without being absurd in front of the whole household. | แคทเธอรีน พยายามแสดงเพียงดีใจ ไม่ใช่ถึงขนาดไร้สาระ ต่อหน้าทั้งบ้านนะ Wuthering Heights (1992) | It was a marvelous effort on her part to discover that I did not love her. | ต้องใช้ความพยายามอันน่าชื่นชม กว่าหล่อนจะพบว่าฉันมิได้ รักหล่อน Wuthering Heights (1992) | Try and understand. | พยายามเข้าใจนะคะ Wuthering Heights (1992) | You dare to try and rouse him against me! | เธอกล้าพยายามปลุกปั่น ให้เขาสู้กับฉัน Wuthering Heights (1992) | I think a suspended sentence is unlikely. | หัวหน้า ผมไม่ได้พยายามเยาะเย้ยคุณนะ Hero (1992) | It tried to escape. | มันพยายามจะหนี The Lawnmower Man (1992) | I've tried to teach that stupid mind responsibility... since you were five years old. | ฉันพยายามสอนไอ้โง่อย่างแก.. ..มาตั้งแต่ห้าขวบ The Lawnmower Man (1992) | I had to use all my concentration to block it. | ผมต้องพยายามอย่างหนัก เพื่อไม่ให้ได้ยินมัน The Lawnmower Man (1992) | You're trying to get inside my head, Jobe. | เธอพยายามเข้าไปในหัวฉัน โจ๊บ The Lawnmower Man (1992) | You may have tried to hide it... but I have witnessed what your new formulas, not Batch Five... have done to your human subject. | นายพยายามเหลือเกิน ที่จะไม่ให้ใครรู้ แต่ฉันเห็นกับตาในสิ่งที่โจ๊บทำ ซึ่งไม่ได้เป็น ผลมาจากสารทดลองที่ห้า The Lawnmower Man (1992) | I forgot, George. I tried not to, then I forgot. | ฉันลืมนี่ ฉันพยายามแล้ว แต่ก็ลืมอีก Of Mice and Men (1992) | Just try to keep away from him, will ya? | พยายามอยู่ห่างจากเขาไว้นะ Of Mice and Men (1992) | No, I ain't mad. Just try to keep away from Curley. Don't let him pull you in. | ไม่ เลนนี่ ฉันไม่ได้โมโห พยายามอยู่ห่างเจ้าเคอร์ลีย์ไว้ อย่าให้มันล่อนายมาตกหลุมพราง Of Mice and Men (1992) | His own fingers locked around the lever of the air-tight door. | เขาพยายามโหนคานนั่นไว้ The Cement Garden (1993) | Try not to think about her. | พยายามอย่าคิดถึงแม่ The Cement Garden (1993) | - He was bound to find out sooner or later. | - เขาพยายามหาความจริงมากเลย The Cement Garden (1993) | That lunatic was an Olympic bobsledder... who tried to get your father to switch sports. | โอ้ ใช่ เจ้าบ้านั่น เป็นนักกีฬาบ๊อบสเลดโอลิมปิก ที่พยายามให้พ่อเธอ เปลี่ยนกีฬาเล่น Cool Runnings (1993) | I'll try. | จะพยายาม Cool Runnings (1993) | And look at this. They've got to get into that sled. | ดูนั่น พวกเขากำลังพยายามเข้าสเลด Cool Runnings (1993) | Hey, man, look here. I'm just tryin' to get us off on the right foot. | เฮ้ เพื่อน ฉันแค่พยายาม เดินตามในสิ่งที่ถูก Cool Runnings (1993) | - We were just trying to help you. | - พวกเราแค่พยายามจะช่วยคุณ Hocus Pocus (1993) | Is he trying to fucking shoot us? | เขาพยายามร่วมเพศยิงเรา? In the Name of the Father (1993) | What was I supposed to know? I was trying to get away from the Brits. | ฉันเป็นสิ่งที่ควรจะรู้มีอะไรบ้าง ผมพยายามดึงออกไปจ? In the Name of the Father (1993) | We were just trying to scare some sense into them. | เราเพียงแค่พยายาม สร้างความหวาดกลัวความรู้สึกบางอย? In the Name of the Father (1993) | Try to relax. | พยายามผ่อนคลาย In the Name of the Father (1993) | Are you trying to impress me? | คุณกำลังพยายามที่จะสร้างความประทับใจได้หรือไม่ In the Name of the Father (1993) | I sat there trying to figure out what it was about 'cause nothing was happening. | ผมนั่งพยายามที่จะคิดออกว่ามัน ซึ่งไม่มีอะไรจะทำให้? In the Name of the Father (1993) | I mean, what I'm trying to... | ผมหมายถึงสิ่งที่ฉันกำลังพยายามที่จะ ... In the Name of the Father (1993) | I don't know what the fuck I'm trying to say. | ผมไม่ทราบว่ามีเพศสัมพันธ์ ฉันพยายามที่จะพูด In the Name of the Father (1993) | Better men than you have tried that already. | คนดีกว่าคุณ มีความพยายามที่เรียบร้อยแล้ว In the Name of the Father (1993) | Mrs Peirce, I am trying to read this document. | นาง Peirce, ฉันพยายาม เพื่ออ่านเอกสารฉบับนี้ In the Name of the Father (1993) | That, I believe, is the point Mrs Peirce is trying to make. | ซึ่งผมเชื่อว่าเป็นจุด นาง Peirce พยายามที่จะทำให้ In the Name of the Father (1993) | Don't try and make me the fall guy... for the whole British legal establishment. | อย่าพยายามและทำให้ฉัน คนที่แต่งตัวประหลาดตก ... สำหรับทั้ง สถานประกอบการตามกฎหมายอังกฤษ In the Name of the Father (1993) | I always try to picture in my mind what really happened, but she would never explain. | ฉันพยายามจะนึกภาพอยู่ในหัวเสมอ ว่ามันเกิดอะไรขึ้น แต่แม่ก็ไม่ยอมอธิบายอะไร The Joy Luck Club (1993) | So after she died, we tried for her, writing, writing, writing. | หลังจากที่เธอเสียไป เราเลยพยายามหาแทนเธอ เขียน เขียน เขียน The Joy Luck Club (1993) |
| ความพยายาม | [khwām phayāyām] (n) EN: attempt ; effort ; try ; endeavour = endeavor (Am.) FR: effort [ m ] | พยายาม | [phayāyām] (v) EN: try ; attempt : make an effort ; make great efforts ; endeavour = endeavor (Am.) ; strive ; exert ; strain FR: essayer ; tenter ; s'efforcer (de) ; tâcher | พยายาม | [phayāyām] (v) EN: strive ; struggle ; fight FR: lutter ; se battre | พยายามตลอดชีวิต | [phayāyām taløt chīwit] (v, exp) EN: keep on fighting throughout one's life ; wage a lifelong struggle FR: lutter toute la vie durant | เพียรพยายาม | [phīenphayāyām] (v) EN: be diligent ; be industrious FR: être travailleur | เพียรพยายามชอบ | [phīenphayāyām chøp] (n, exp) EN: right effort FR: effort juste [ m ] |
| give it one's best shot | (phrase) พยายามอย่างสุดความสามารถ, เช่น I'll give it my best shot. ฉันจะพยายาม (ทำเรื่องนี้) อย่างสุดความสามารถ | sophomoric | ที่พยายามทำให้ดูว่าตัวเองสำคัญ, ซึ่งโอ้อวด, See also: bombastic, inflated in style or manner; immature, crude, superficial, Syn. pretentious | have a go (at) | พยายาม, พยายามทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น You have a go at designing a synthesis of it. | rizz up | (vi, colloq) พยายามดึงดูดผู้อื่นหรือเพศตรงข้าม, เข้าไปจีบ เช่น I'm about to rizz up Jane. คำว่า rizz เป็นคำศัพท์แห่งปี 2023 ของ Oxford University Press (Oxford Word of the Year 2023) |
| accommodating | (adj) ที่ช่วยเหลือ, See also: ที่พยายามทำให้สะดวกสบาย, ที่พยายามทำให้พอใจ, Syn. obliging, helpful, neighborly | accommodation | (n) การตกลงกัน, See also: การยินยอม, การพยายามประนีประนอมกัน | ambitious | (adj) ยาก, See also: ลำบาก, ที่ต้องใช้ความพยายามสูง | assiduity | (n) ความเพียร, See also: ความขยัน, ความพยายาม, ความบากบั่น, ความตั้งใจ, Syn. diligence | assiduously | (adv) เพียรพยายาม, See also: ก้มหน้าก้มตา, Syn. industriously, laboriously | attempt | (n) ความพยายาม, See also: ความมานะ, ความอุตสาหะ, Syn. try, endeavor | attempt | (vt) พยายาม, See also: หาทาง, ขวนขวาย, Syn. try, endeavor | aim for | (phrv) พยายามเพื่อ, See also: มุ่งมั่นเพื่อ | all out effort | (idm) พยายามอย่างยิ่ง, See also: อุตสาหะมาก | angle for | (phrv) ล่อหลอก, See also: ล่อ, พยายามใช้วิธีการต่างๆเพื่อให้สิ่งที่ต้องการ, Syn. fish for | apply to | (phrv) ทำให้ทำงานหนัก, See also: ทำให้ต้องใช้ความพยายามอย่างมากกับ | backslide | (vt) ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นหลังพยายามเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม, Syn. relapse | bid | (vi) พยายามที่จะทำให้สำเร็จ, Syn. try, attempt | bid | (n) ความพยายามที่จะทำบางสิ่ง, Syn. attempt | blitz | (n) ความพยายามอย่างมุ่งมั่นที่จะทำบางสิ่งให้สำเร็จ (ภาษาไม่เป็นทางการ) | blitz | (vt) พยายามที่จะครอบงำผู้อื่นเพื่อให้เห็นพ้อง | bargain with | (phrv) พยายามต่อรองราคา, See also: ตกลงกันเรื่องราคา, Syn. dicker with, haggle with | barter for | (phrv) พยายามตกลงในเรื่อง, See also: ทำสัญญาเรื่อง | be hell-bent on | (phrv) พยายามให้ได้ (บางสิ่ง) มาอย่างไม่ย่อท้อหรือไม่หยุดหย่อน (คำไม่เป็นทางการ) | be out for | (phrv) มุ่งมั่นเพื่อ, See also: พยายามเพื่อ, Syn. go out | bear down | (phrv) ใช้ความพยายาม | bend over backwards | (phrv) พยายามอย่างมาก (คำไม่เป็นทางการ), Syn. lean over backwards | bid for | (phrv) พยายามไปให้ถึงหรือได้รับ(บางสิ่ง) | blow open | (phrv) ทำให้ (บางสิ่งที่พยายามพิสูจน์) เสีย | break in | (phrv) บังคับ, See also: ควบคุม, ฝึกให้เชื่อง ม้า, พยายามทำให้เคยชินกับ | buckle to | (phrv) ร่วมกันทำงาน, See also: พยายามร่วมกัน, Syn. buckle down, knuckle down | by the sweat of one's brow | (idm) ด้วยความพยายาม, See also: ด้วยความมุ่งมั่น | catch up with | (phrv) พยายามที่จะเข้าใจ, See also: พยายามที่จะเรียนให้ทัน | cavil | (vi) หาข้อผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ, See also: พยายามจับผิด, Syn. carp, quibble | caviling | (adj) ที่หาข้อผิดพลาด, See also: ที่พยายามจับผิด | censorious | (adj) ที่พยายามมองหาข้อผิดพลาดอยู่เสมอ, Syn. faultfinding, carping | clutch | (vi) พยายามยึดไว้, Syn. hold | costly | (adj) ซึ่งใช้เวลาหรือความพยายาม | coy | (adj) ซึ่งหลบเลี่ยง, See also: ที่พยายามบอกปัด, Syn. evasive | carve out | (phrv) พยายามอย่างมากเพื่อประสบความสำเร็จ, See also: ทำ บางสิ่ง ด้วยความพยายามอย่างมาก | cast around | (phrv) ค้นหา, See also: คิดหา, มองหา, พยายามหา, Syn. beat about | catch at a straw | (phrv) พยายามช่วยตัวเองให้อยู่รอด, See also: พยายามตะเกียกตะกาย, Syn. grab at | chase after | (phrv) พยายามตามจีบหรือขอความรัก | chuck one's weight about | (idm) พยายามให้อำนาจเหนือคนอื่น, See also: พยายามข่มคนอื่น, Syn. fling about | chuck one's weight around | (idm) พยายามให้อำนาจเหนือคนอื่น, See also: พยายามข่มคนอื่น, Syn. fling about | chuck oneself at | (phrv) พยายามเอาชนะใจ (เพื่อให้ได้ความรักมา), Syn. fling at, hurl at | clear one's mind of | (idm) พยายามลืม | clutch at | (phrv) พยายามฉกฉวยโอกาส, See also: คว้าโอกาส, Syn. catch at | clutch at straws | (idm) พยายามฉกฉวยโอกาส, See also: คว้าโอกาส | comb through | (phrv) ค้นหา (ด้วยความพยายามอย่างมาก), Syn. comb out | contend against | (phrv) แข่งขันกับ, See also: พยายามเอาชนะ, Syn. compete against | contend over | (phrv) แข่งขันกับ, See also: พยายามเอาชนะ, Syn. contend about | cosy up to | (phrv) พยายามเริ่มมีสัมพันธภาพกับ, Syn. cozy up to | cozy up to | (phrv) พยายามเริ่มมีสัมพันธภาพกับ, Syn. cotton up to | crush out | (phrv) พยายาม |
| agonise | (แอก' โกไนซ) vi., vt. ทนทุกข์ทรมานอย่างที่สุดด้วยความเจ็บปวด, ทรมาน, ทำให้เจ็บปวด, ต่อสู้ดิ้นรนอย่างสุดขีด, พยายามมาก. -agonising adj. -agonisingly adv., Syn. torture, suffer, worry | ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ | artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | assay | (อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n., Syn. test, analyze, examination | assiduity | (แอสซิดู'อิที) n. ความพยายาม, ความเพียร, ความขยัน. -assiduous adj., Syn. industry, diligence, Ant. laziness | attack | (อะแทค') vt., vi., n. โจมตี, เข้าตี, ทำร้าย, เล่นงาน, ลงมือทำ, (โรค) เป็น, (ไข้) จับ, ลงมือทำ, เริ่มขึ้น, เริ่มต้น, ข่มขืน, พยายามข่มขืน | attempt | (อะเทมพฺทฺ') vt., n. พยายาม, ทดลอง | backbreaking | adj. ต้องใช้ความพยายามมาก, เหน็ดเหนื่อยมาก, See also: backbreaker n. | bid | (บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade | bob | (บอบ) { bobbed, bobbing, bobs } n. การผงกศีรษะ, ผมบ๊อบ, ทรงผมสั้นของสตรี, ผมมวย, หางม้าที่ตัดสั้น, ทุ่นตกปลา, ลูกตุ้ม, ลูกดิ่ง, การตีเบา vt., vt. ผงกศีรษะ, ผลุบโผล่, ลอย, แกว่ง, โดดขึ้นโดดลง, ลอยขึ้นมาอีก, ตัดให้สั้น, ตัดผมบ๊อบ, พยายามงับสิ่งที่แขวนอยู่, ตกปลาด้วยเหยื่อและทุ่น | buckeen | n. หนุ่มคนจนที่พยายามแต่งตัว และทำท่าเหมือนคนรวย | byway | n. ถนนส่วนตัว, ถนนลี้ภัย, ถนนสายเปลี่ยว, การวิจัยที่ปิดบัง, ความพยายามที่ปิดบัง | clutch | (คลัทชฺ) { clutched, clutching, clutches } v. คว้า, กำ, เกาะ, ฉวย, ยึด, พยายามคว้า n. ก้ามปู, คลัตช์ (เครื่องเกาะเพลาในรถยนต์) , อุปกรณ์กำ, การกำ, การเกาะ, การคว้า -clutchy adj. ดูclutch, Syn. grasp | conatus | (โคเน'ทัส) n. ความพยายาม, ความเพียร -pl. conatus | copy protection | การป้องกันการคัดลอกหมายถึง วิธีการป้องกันไม่ให้ผู้ใดสามารถคัดลอกได้ ผู้เขียนโปรแกรมมักพยายามทำทุกวิถีทางที่จะกันไม่ให้ผู้หนึ่งผู้ใด มาคัดลอกโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่เขาสร้างขึ้นไว้ เช่นใช้อุปกรณ์ปิดกั้น หรือซ่อนแฟ้มข้อมูลบางแฟ้มไม่ให้มองเห็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีกฎหมายในเรื่องของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ออกมาแล้ว ผู้ที่จะคัดลอกก็จะต้องระมัดระวังในเรื่องการคัดลอกนี้มากขึ้น | effort | (เอฟ'เฟิร์ท) n. ความพยายาม, ความมานะ, ความอุตสาหะ, การทดลองที่ยากลำบาก, กำลังของเครื่องจักร, ผลของความพยายาม, Syn. exertion, attempt | emulate | (เอม'มิวเลท) vt. เอาอย่าง, พยายามเลียนแบบ, พยายามจะให้เท่าเทียมหรือดีกว่า., See also: emulation n. ดูemulate emulative adj. ดูemulate, Syn. imitate | endeavor | (เอนเดฟ'เวอะ) vi., vt. พยายาม, บากบั่น. -n. ความพยายาม, ความบากบั่น., See also: endeavorer n. ดูendeavor endeavourer n. ดูendeavor, Syn. try | endeavour | (เอนเดฟ'เวอะ) vi., vt. พยายาม, บากบั่น. -n. ความพยายาม, ความบากบั่น., See also: endeavorer n. ดูendeavor endeavourer n. ดูendeavor, Syn. try | essay | (เอส'เส) n. เรียงความร้อยแก้ว, ข้อเขียนสั้น ๆ , ปกิณกะ, ความพยายาม, การทดลอง vt. (เอสเซ') พยายาม, ทดสอบ., See also: essayer n. ดูessay essayistic adj. ดูessay | exert | (เอคเซิร์ท') { exerted, exerting, exerts } vt. ออกแรง, ออกกำลังกาย, พยายาม, ใช้อำนาจหน้าที่., See also: exertive adj., Syn. put | exertion | (เอคเซอ'เชิน) n. การออกแรง, การสำแดง, การออกกำลังกาย, ความพยายาม | fend | (เฟนดฺ) { fended, fending, fends } vt. ป้องกัน, พิทักษ์, ปัดเป่า, ผลักออกไป, ปัดออกไป. vi. ต้าน, ต่อต้าน, หลบหลีก, ล้อมรั้ว, พยายามต่อสู้เพื่อให้ได้มา, Syn. ward off | frame | (เฟรม) n. กรอบ, โครง, ร่าง, ร่างกาย, โครงสร้าง, องค์ประกอบ, ระบบ, สภาพของจิตใจ, รอบหนึ่ง (การตีเบสบอล) , ยกหนึ่ง ๆ (มวย) vt. ประกอบก่อ, สร้าง, ติดตั้ง, ร่าง, กำหนด, คิด, วางแผน, ประพันธ์, ใส่กรอบ, ใส่วงกบ, ใส่ความ, ใส่ร้าย vi. พยายาม, ให้ความหวัง, พาตัวไป. -framable, frameable ad | go | (โก) { went, gone, going, goes } vi. ไป, เคลื่อนไป, จากไป, กลายเป็น, กระทำ, บรรลุ, vt. อดทน, อดกลั้น, พนัน n. การไป, พลังงาน, กำลังวังชา, ความพยายาม, ความสำเร็จ, -Phr. (go on ต่อไป, อดทน, อดกลั้น), Syn. pass, move, proceed | handsel | (แฮน'เซิล) n. ของขวัญ, ประสบการณ์แรกเริ่ม vt. ให้ของขวัญแก่, ทำพิธีเปิดกิจการ, ใช้เป็นครั้งแรก, พยายามหรือประสบเป็นครั้งแรก., Syn. hansel | hard sell | การขายแบบยัดเยียด, การพยายามขายให้ได้ | hardscrabble | adj. ซึ่งพยายามมากแต่ได้ผลตอบแทนน้อย | hump | (ฮัมพฺ) n. ปุ่ม, โคก, หนอก, เนินกลม. -Phr. (the Hump ภูเขาหิมาลัย) vt. ทำให้เป็นปุ่มขึ้น, พยายามมาก, ผสมพันธ์กับ, แยกขึ้นหลังหรือไหล่. vi. เป็นปุ่มขึ้น, เร่งรีบ, Syn. protuberance, knob | ibm | abbr. Intercontinental Ballistic Missile จรวดขีปนาวุธข้ามทวีป, International Business Machines Corporation, บริษัทไอบีเอ็ม เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตเครื่องจักรประมวลผลสำหรับธุรกิจหลายชนิด ซึ่งก็หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ไอบีเอ็มเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ที่สุดและเก่าแก่ที่สุดบริษัทหนึ่งในด้านนี้ ในปัจจุบัน เริ่มมีคู่แข่งมากขึ้น บริษัทไอบีเอ็มนี้ผลิตคอมพิวเตอร์ทุกขนาดตั้งแต่ขนาดใหญ่ (mainframe) จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์ ราคาเครื่องของบริษัทนี้จะแพงกว่าของบริษัทอื่น และมีบริษัทมากมายพยายามเลียนแบบ จนเกิดมีคำ"IBM compatibles" ซึ่งใช้เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เทียบเคียงกับคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มได้ กล่าวคือ ใช้โปรแกรมระบบ (operating system) อย่างเดียวกัน | intercede | (อินเทอะซีด') vi. ขอร้อง, ร้องขอ, ไกล่เกลี่ย, พยายามให้มีการประนีประนอมกัน., See also: interceder n., Syn. arbitrate | international business ma | นิยมเรียกชื่อย่อว่า IBM (อ่านว่า ไอบีเอ็ม) เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตเครื่องจักรประมวลผลสำหรับธุรกิจหลายชนิด ซึ่งก็หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ไอบีเอ็มเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ที่สุดและเก่าแก่ที่สุดบริษัทหนึ่งในด้านนี้ ในปัจจุบัน เริ่มมีคู่แข่งมากขึ้น บริษัทไอบีเอ็มนี้ผลิตคอมพิวเตอร์ทุกขนาดตั้งแต่ขนาดใหญ่ (mainframe) จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์ ราคาเครื่องของบริษัทนี้จะแพงกว่าของบริษัทอื่น และมีบริษัทมากมายพยายามเลียนแบบ จนเกิดมีคำ"IBM compatibles" ซึ่งใช้เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เทียบเคียงกับคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มได้ กล่าคือ ใช้โปรแกรมระบบเดียวกัน | labor | (เล'เบอะ) { labo (u) red, labo (u) ring, labo (u) rs } n. แรงงาน, ใช้แรงงาน, งาน, อาชีพ, ความอุตสาหะ, ความเจ็บปวดและความพยายามในการคลอดลูก, ระยะเวลาในการคลอดลูกดังกล่าว, กรรมกร, ฝ่ายกรรมกร. v. ทำงาน, พยายาม, กระทำด้วยความลำบาก, คลอดลูก, ไปข้างหน้าด้วยความลำบาก, พากเพียร. adj. เ | labour | (เล'เบอะ) { labo (u) red, labo (u) ring, labo (u) rs } n. แรงงาน, ใช้แรงงาน, งาน, อาชีพ, ความอุตสาหะ, ความเจ็บปวดและความพยายามในการคลอดลูก, ระยะเวลาในการคลอดลูกดังกล่าว, กรรมกร, ฝ่ายกรรมกร. v. ทำงาน, พยายาม, กระทำด้วยความลำบาก, คลอดลูก, ไปข้างหน้าด้วยความลำบาก, พากเพียร. adj. เ | last-ditch | (ลาสทฺ'ดิทชฺ) adj. ด่านสุดท้าย, แผนสุดท้าย, พยายามครั้งสุดท้าย, See also: last-ditcher n. ดูlast-ditch | lobby | (ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb | main | (เมน) adj. ส่วนใหญ่, ชั้นนำ, สำคัญที่สุด, สำคัญ, ที่สุด, ใช้เดี่ยวได้ n. ท่อสำคัญ, ท่อหลัก, กำลัง, ความพยายามที่รุนแรง, มหาสมุทร, ทะเลหลวง, แผ่นดินใหญ่ -Phr. (in the main ส่วนใหญ่), Syn. chief | movement | (มูฟว'เมินทฺ) n. การเคลื่อนไหว, การเคลื่อนที่, กิริยาท่าทาง, ขบวนการ, ความพยายาม, คณะบุคคล, การดำเนินงาน, คณะบุคคล, Syn. motion, Ant. rest | muddle | (มัด'เดิล) vt. ทำให้ยุ่ง, ทำให้สับสน, ทำให้มึน, ผสมเหล้า, ทำให้ขุ่น, ทำเหลวไหล. vi. คิดฟุ้งซ่าน, มั่ว, กระทำเหลวไหล, muddle through ประสบความสำเร็จอย่างไม่ได้พยายามเต็มที่. n. ภาวะยุ่งเหยิง, ภาวะสับสน, , See also: muddleness n. muddlement n. muddligly | out | (เอาทฺ) adv., adj. ออกไป, ออก, ข้างนอก, ออกหมด, หมด, หมดสิ้น, ห่างไกลกัน, พ้น, พ้นสมัย, ขาด, ผิด, ขาด, ตก, สลบไป, หมดสติ -Phr. (all out เต็มที่, พยายามเต็มที่) -Phr. (out from under ออกจากสภาวะที่ลำบาก) n. ภายนอก, ส่วนไม่ดี prep. ไปข้างนอก, ...ไปตาม. interj. ไปให้พ้น!, ออกไป | persevere | (เพอซะเวียร์') vi. อุตสาหะ, พาก-พียร, พยายาม, ยืนหยัด, บากบั่น, Syn. endure | pertinacity | (เพอทะแนส'ซิที) n. ความดื้อรั้นยิ่ง, การถือทิฐิ, ความหัวแข็ง, ความเพียรพยายาม, Syn. obstinacy | plod | (พลอด) v., n. (การ) เดินอย่างหนักอึ้งหรือลำบาก, ค่อย ๆ เดิน, เพียรพยายาม, See also: plodder n. plodness n, Syn. drudge | puzzle | (พัส'เซิล) n. ปัญหา, ปัญหายุ่งยาก, ปริศนา, เรื่องฉงนสนเท่ห์, สภาวะที่ซับซ้อน vt. ทำให้ฉงนสนเท่ห์, ทำให้งงงวย, ทำให้ยุ่ง. vi. ครุ่นคิดหนัก, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, See also: puzzle out แก้ปัญหาโดยความพยายามหรือไตร่ตรอง puzzledly adv. puzzlingly adv. | retch | (เรทชฺ) vi. พยายามอาเจียน, รู้สึกคลื่นเหียน, Syn. vomit | seek | (ซีค) (sought, sought, seeking, seeks } vt. ค้นหา, หา, ค้นคว้า, แสวงหา, สอดส่องหา, สืบหา, พยายามได้มา, ถามหา, สอบหา, สำรวจ. vi. สอบถาม, สอบหา, See also: seeker n., Syn. search for, request, inquire | shot | (ชอท) n. การยิง, การยิงปืน, เสียงยิง, ลูกกระสุนปืน, ระยะที่ยิง, การปล่อยขีปนาวุธ, วิถีกระสุน, วิถีจรวด, กระสุนกระจาย, ผู้ยิง, มือปืน, เสียงที่คล้ายเสียงปืน, การระเบิด, ดินระเบิด, การฉีดยา, ความพยายาม, การทดลอง, การเดา, จำนวนเล็กน้อย, ปริมาณเล็กน้อย, คำหนึ่ง, (ของเหลว) อีกหนึ่ง | sprawl | (สพรอล) vi. นอนเหยียด, นั่งเหนียด, เหยียดเท้า, เหยียดแขน, เลื้อยคลาน vt. เหยีดดแขนขา. n. ความพยายาม, การเหยียดแขนขา, Syn. loll, lounge | stab | (สแทบ) vt., vi. แทง, ทิ่ม, จิ้ม, เสียดแทง n. การแทง, การทิ่ม, การจิ้ม, การพยายามในระยะสั้น, บาดแผลจากการแทง, ความเจ็บปวดกะทันหันที่อยู่ไม่นาน -Phr. (stab (someone) in the back ทำร้ายข้างหลัง ลอบกัด), Syn. jab, pierce |
| assay | (n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์ | assay | (vt) พยายาม, ทดสอบ, ตรวจสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์ | assiduity | (n) ความเพียร, ความขยัน, ความพยายาม | assiduous | (adj) ขยันหมั่นเพียร, ขยัน, เพียร, พยายาม | assiduously | (adv) อย่างขยันหมั่นเพียร, อย่างเพียรพยายาม | assiduousness | (n) ความขยัน, ความเพียร, ความพยายาม | attempt | (n) ความพยายาม, การทดลอง | attempt | (vt) พยายาม, ทดลอง | diligence | (n) ความขยัน, ความมาดมั่น, ความมานะ, ความพยายาม | drive | (n) การขับรถ, แรงขับ, แรงกระตุ้น, ความพยายาม, พลังงาน | effort | (n) ความพยายาม, ความมุมานะ, ความพากเพียร, ความอุตสาหะ | endeavour | (n) ความพยายาม, ความอุตสาหะ, ความมุมานะ, ความบากบั่น | endeavour | (vi) พยายาม, อุตสาหะ, บากบั่น, มุมานะ | essay | (n) เรียงความ, การทดลอง, ความพยายาม, ปกิณกะ | essay | (vt) ทดสอบ, ลอง, ทดลอง, พยายาม | exert | (vt) ใช้, ออกแรง, สำแดง, พยายาม, ใช้อำนาจ | exertion | (n) การใช้, ความพยายาม, การใช้อำนาจหน้าที่ | industrious | (adj) ขยันหมั่นเพียร, อุตสาหะ, พากเพียร, พยายาม | industry | (n) อุตสาหกรรม, ความพยายาม, ความบากบั่น, ความอุตสาหะ | laborious | (adj) ตรากตรำ, ขยันขันแข็ง, อุตสาหะ, เพียรพยายาม, ลำบาก | movement | (n) การเคลื่อนไหว, ความพยายาม, ขบวนการ, คณะ, ความประสงค์ | painstaking | (adj) อุตสาหะ, เพียร, พยายาม, เอาเป็นธุระ | plod | (vi) เดินย่ำ, เพียร, พยายาม, อุตสาหะ | rancor | (n) ความเคียดแค้น, ความพยายาม, ความเกลียดชัง, ความเจ็บใจ | strife | (n) ความพยายาม, การวิวาท, การขัดแย้ง, การดิ้นรน | strive | (vi) มุ่งมั่น, พยายาม, ต่อสู้, ดิ้นรน, ฝ่าฟัน | trial | (adj) เป็นการทดลอง, ซ้อม, ทรมาน, พยายาม | try | (n) ความพยายาม, การไต่สวน, การทดลอง, การพิสูจน์, การทดสอบ | try | (vi) พยายาม, พิสูจน์, ทดลอง | try | (vt) ทดลอง, ไต่สวน, ซ้อม, ทรมาน, พิจารณา, พยายาม | undertake | (vi) พยายาม, อาสา, ยอมรับ, รีบทำ, รับรอง |
| ben over backward | (vi, phrase) พยายามอย่างมาก | bend over backwards | (phrase) พยายามอย่างมากเพื่อที่จะทำให้คนอื่นพอใจ | fashion victim | (slang) คนที่พยายามแต่งตัวตามแฟชั่นแต่ไม่ประสบความสำเร็จ | hang in there you gonna be alright | พยายามต่อไป แล้วคุณจะดีขึ้นแน่นอน | intricate | (adj) พยายาม, อย่างประณีต เช่น intricate work งานที่ต้องการความประณีต หรืองานที่ต้องใช้ความพยายาม, See also: elaborate, Syn. complex | Leave no stone unturned | (idioms) พยายามทำทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่จะทำได้ The police left no stone unturned in search for the missing pupil.= ตำรวจพยายามทุกอย่างที่จะค้นหาเด็กนักเรียนที่หายไป ; | looksmaxxing | (n) กระบวนการที่บุคคลพยายามเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดูดีและน่าดึงดูดยิ่งขึ้น | pursue | [เพอร์ซู] (vt) ความพยายามในการทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้สำเร็จลุล่วงลงไป โดยเฉพาะสิ่งที่ต้องใช้เวลา | temptation | (n) ความพยายาม, Syn. a tempting or being tempted | try | (n, vi, vt, modal, ver) พยายาม |
| | 心配 | [しんぱい, shinpai] (n) (เวอ'รี) vi., vt., n. (ทำให้) (ความ) เป็นห่วง, กังวล, หนักใจ, เป็นทุกข์, รบกวน, กัด, ฉีก, ทำให้เปลี่ยนตำแหน่ง, ลาก, ดึง, สาเหตุที่ทำให้ลำบากใจหรือกังวล -Phr. (worry along, worry through ก้าวหน้าหรือประสบความสำเร็จด้วยความพยายามแม้จะลำบาก), S. . worrier n. |
| がんばる | [がんばる, ganbaru] TH: พยายามอย่างเต็มที่ EN: to try one's best | 頑張る | [がんばる, ganbaru] TH: พยายาม EN: to persist | 努める | [つとめる, tsutomeru] TH: พยายาม EN: to make great effort |
| versuchen | ทดลอง, พยายาม |versuchte, versucht| | umständlich | (adj, adv) ซับซ้อน, ยุ่งยาก, (งาน)ที่หนัก ต้องใช้ความกำลังและความพยายามเยอะ | forschen | (vi) |forschte, hat geforscht| (nach etw./jmdm.) พยายามเพื่อหาที่มาหรือสาเหตุของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Wissenschaftler forschen seit langem nach der Ursache des Aussterbens von Dinosaurier. นักวิทยาศาสตร์พยายามศึกษาหาสาเหตุของการสูญพันธ์ของไดโนเสาร์มานานแล้ว, See also: Related: erforschen | Mühe | (n) |die, pl. Mühen, ส่วนใหญ่เป็นเอกพจน์| ความอุตสาหะ ความพยายาม เช่น Er hat das Diplom mit viel Mühe erreicht. เขาสำเร็จดิโพลม(ปริญญาโทในเยอรมนี)ด้วยความพากเพียร | sich(D) große Mühe geben | อุตสาหะ, พากเพียรอย่างมาก, ใช้ความพยายามอย่างมาก เช่น Sie hat sich große Mühe gegeben, um die beste Note zu bekommen. เธอพยายามอย่างมากเพื่อให้ได้คะแนนที่ดีที่สุด | Versuch | (n) |der, pl. Versuche| การทดลอง, การทดสอบ เช่น der chemische Versuch การทดลองเคมี, Der Versuch, aus dem Gefängnis zu entfliehen, mißlang. ความพยายามที่จะหนีออกจากคุกนั้นล้มเหลว | mißlingen | (vi) |mißlang, ist mißlungen, + jmdm.| ล้มเหลว, ไม่เป็นผลสำเร็จ เช่น Der Versuch, sie zum Lachen zu bringen, ist ihm völlig mißlungen. ความพยายามของเขาที่จะทำให้เธอหัวเราะล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง, See also: A. gelingen |
| acquérir | (vt) 1)ได้มา 2) พยายามให้ได้สิ่งหนึ่งสิ่งใดมา 3)การเป็นเจ้าของโดยการซื้อ (เช่น ที่ดิน) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |