ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทวง, -ทวง- |
ทวง | (v) demand, See also: ask for, require, press, request, claim, inquire, question, Example: ชาวนาทวงคำตอบจากรัฐบาลในเรื่องของการประกันราคาข้าว, Thai Definition: เรียกเอาสิ่งที่เป็นของตนหรือที่ติดค้างกลับคืน, เรียกร้องเอาสิ่งที่จะพึงมี พึงได้ | ทวงถาม | (v) press the claim, See also: claim, ask for, press for payment, Syn. ทวงหนี้, เรียกเอา, เรียกร้อง, ทวงสิทธิ์, ทวง, Ant. ใช้คืน, ใช้หนี้, Example: เจ้าหนี้ทวงถามลูกหนี้เกี่ยวกับเรื่องเงินที่กู้ไป, Thai Definition: เรียกร้องให้ชำระหนี้, Notes: (กฎหมาย) | ทวงสิทธิ | (v) claim, See also: demand, request, press, require, Syn. อ้างสิทธิ์, ทวงถาม, เรียกเอา, อ้าง, เรียกร้อง, Ant. ให้สิทธิ์, Example: เธอทวงสิทธิ์ความเป็นภรรยาของเขา เพื่อให้เขาเลี้ยงดูเธอ | ทวงบุญคุณ | (v) ask for a debt of gratitude, See also: remind of one's favour, Syn. ลำเลิกบุญคุณ, Example: เธอทวงบุญคุณของเธอกับผม | ทวงสิทธิ์ | (v) ask for right, See also: demand right, , Example: บรรดาชาวบ้านออกมากเคลื่อนไหวเพื่อทวงสิทธิ์และปกป้องพิทักษ์ผลประโยชน์ของตัวบนที่ทำกินของตนเอง, Thai Definition: เรียกร้องสิทธิที่จะพึงมีพึงได้ |
|
| ทวง | ก. เรียกเอาสิ่งที่เป็นของตนหรือที่ติดค้างกลับคืน เช่น ทวงหนี้ ทวงเงิน ทวงค่าเช่า, เรียกร้องเอาสิ่งที่จะพึงมีพึงได้ เช่น ทวงสิทธิ ทวงบุญทวงคุณ. | ทวงถาม | ก. ถามปัญหาหรือเรื่องที่ติดค้างอยู่. | กะแต่ว | ว. แสดงลักษณะของการร้องหรือการทวงสิ่งของบ่อย ๆ ว่า ร้องกะแต่ว ๆ. | เช็ค | น. หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน. | เทียว ๑ | ก. เวียนไปเวียนมา, ไปหรือมาบ่อย ๆ, เช่น เทียวไปทวงหนี้ เทียวรับเทียวส่ง. | ธนาคารพาณิชย์ | น. ธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ และใช้ประโยชน์เงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น ให้สินเชื่อ. | ธุรกิจเงินทุน | น. การประกอบธุรกิจรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ ซึ่งมิใช่การรับฝากเงินหรือรับเงินไว้ในบัญชีที่จะเบิกถอนโดยใช้เช็ค และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยวิธีหนึ่งวิธีใด. | บริษัทเงินทุน | น. บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ ซึ่งมิใช่การรับฝากเงินหรือรับเงินไว้ในบัญชีที่จะเบิกถอนโดยใช้เช็ค และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยวิธีหนึ่งวิธีใด. | พก ๑ | วก เช่น ภายหลังมาจึงพราหมณ์ชูชก พกมาทวงทอง (ม. คำหลวง ชูชก). | มะรุมมะตุ้ม | ว. กลุ้มรุมทำให้เกิดรำคาญ เช่น เจ้าหนี้มามะรุมมะตุ้มทวงหนี้กัน, มารุมมาตุ้ม ก็ว่า. | มารุมมาตุ้ม | ว. มะรุมมะตุ้ม, กลุ้มรุมทำให้เกิดรำคาญ, เช่น เจ้าหนี้มามารุมมาตุ้มทวงหนี้กันใหญ่. | เร่งเงิน | ก. ทวงหนี้. | เรียกคืน | ก. ทวงคืน เช่น ฉันเรียกคืนเงินมัดจำจากบริษัท. | ลำเลิก | ก. กล่าวทวงบุญคุณ, กล่าวคำตัดพ้อต่อว่า โดยยกเอาความดีที่ตนทำไว้แก่อีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้สำนึกถึงบุญคุณที่ตนมีอยู่กับผู้นั้น. | สะกิดใจ | ก. ฉุกคิดถึงเหตุการณ์หรือถ้อยคำที่เคยได้เห็นหรือได้ยินมา เช่น คำพูดของเขาสะกิดใจฉัน เมื่อได้ยินเขาพูดเรื่องเงิน ก็รู้สึกสะกิดใจว่าเขาจะมาทวงหนี้. | ไหน ๒, ไหนล่ะ, ไหนว่า, ไหนว่าจะ | ว. เป็นคำถามเชิงตัดพ้อต่อว่า ทวงถาม หรือสงสัย เป็นต้น เช่น ไหนพระผ่านฟ้าสัญญาน้อง จะปกป้องครองความพิสมัย (อิเหนา), ไหนล่ะรางวัล ไหนว่าไม่ลืม ไหนว่าจะพาไปเที่ยว. |
| payable on demand | ใช้เงินเมื่อทวงถาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | on demand | เมื่อทวงถาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | call loan | เงินกู้ที่ต้องชำระคืนเมื่อทวงถาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | call | ๑. การทวงถาม (ให้ชำระหนี้) (ปพพ.)๒. การเรียก (ให้ชำระหนี้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | demand | เรียกร้อง, ทวงถาม, เรียกให้ (กระทำการ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | demand note | ตราสารใช้คืนเมื่อทวงคืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dun | คำทวงหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Claim | การทวง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collection laws | การติดตามทวงหนี้ [TU Subject Heading] | Solanum sanitwongsei | มะแว้งต้น (โซลานุม สนิทวงศ์ซี) [TU Subject Heading] | Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
| ทวง | [thūang] (v) EN: ask for payment of ; ask for the return of ; demand payment ; send a reminder ; demand ; press for ; ask for FR: redemander ; réclamer | ทวงบุญคุณ | [thūang bunkhun] (v, exp) EN: ask for a debt of gratitude | ทวงค่าเช่าบ้าน | [thūang khāchao bān] (v, exp) EN: send a reminder for the rent FR: réclamer le loyer ; réclamer le paiement du loyer | ทวงคำตอบ | [thūang khamtøp] (v, exp) EN: press for answer | ทวงหนี้ | [thūang nī] (v, exp) EN: demand payment of a debt ; press the claim FR: réclamer une dette | ทวงสิทธิ | [thūang sitthi] (v, exp) EN: claim | ทวงถาม | [thūangthām] (v) EN: press the claim ; demand |
| | dun | (n) การทวงถาม, การทวงเงิน, ผู้ที่ทวงถาม | dun | (vt) ทวงถาม, รบกวน, ทำให้กลุ้ม, ทวงเงิน |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |