“Demure” : The word redefines elegance and confidence in 2024 (เรียนภาษาอังกฤษ in English) “Demure” เป็นคำศัพท์ที่ได้รับความสนใจจากโซเชียลมีเดียโดยเฉพาะ Tiktok ซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หันมาให้ความสำคัญกับความเรียบง่าย ความมั่นใจ และความใส่ใจในรายละเอียดทั้งในรูปลักษณ์และพฤติกรรม โดยคำนี้ได้รับการนิยามใหม่จากความหมายดั้งเดิมที่เกี่ยวกับความสุภาพถ่อมตัวและความสงวนท่าที ให้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความสง่างามที่มาพร้อมความมั่นใจอย่างมีชั้นเชิงในโลกที่เต็มไปด้วยความโดดเด่นฉูดฉาด การเปลี่ยนแปลงนี้ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างมากจากเทรนด์ในโซเชียลมีเดียและทัศนคติของสังคมที่พัฒนาไป ชี้ให้เห็นถึงการยอมรับในรูปแบบการแสดงตัวตนที่แฝงด้วยความลึกซึ้งและงดงามในปัจจุบัน The word “demure” was selected as Dictionary.com’s 2024 Word of...
Search result for

*ดรรชนี*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ดรรชนี, -ดรรชนี-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ดรรชนี(n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ดรรชนี(n) index finger, See also: forefinger, second finger, Syn. นิ้วชี้, ดัชนี, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ดรรชนี(n) index, See also: list, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ดรรชนี(n) index number, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ดรรชนี(n) index finger, See also: forefinger, Syn. นิ้วชี้, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ดรรชนี(n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ดรรชนีหักเห(n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง
ดรรชนีหักเห(n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ดรรชนี(ดัดชะนี) น. นิ้วชี้, นิ้วที่อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลาง, ราชาศัพท์ว่า พระดรรชนี, ดัชนี ก็ใช้.
ดรรชนี(ดัดชะนี) น. จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓ ๒ เป็นดรรชนีของ ๓
ดรรชนีตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดรรชนีค่าครองชีพ
ดรรชนีดัชนี ก็ใช้.
ดรรชนีหักเหน. ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดัชนีหักเห ก็ใช้.
ดรรชนีน. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดัชนี ก็ใช้.
ดัชนี ๑(ดัดชะนี) น. นิ้วชี้, นิ้วที่อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลาง, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระดัชนี, ดรรชนี ก็ใช้.
ดัชนี ๒ดรรชนี ก็ใช้.
ดัชนีหักเหน. ดัชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดรรชนีหักเห ก็ใช้.
ดัชนี ๓น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดรรชนี ก็ใช้.
นวนิยายน. บันเทิงคดีร้อยแก้วขนาดยาวรูปแบบหนึ่ง มีตัวละคร โครงเรื่อง เหตุการณ์ในเรื่อง และสถานที่ ที่ทำให้เนื้อเรื่องมีความสมจริง เช่น เรื่องหญิงคนชั่ว ของ ก. สุรางคนางค์ เรื่องเรือมนุษย์ ของ กฤษณา อโศกสิน, ถ้ามีขนาดสั้น เรียกว่า นวนิยายขนาดสั้น เช่น เรื่องดรรชนีนาง ของ อิงอร เรื่องสร้อยทอง ของ นิมิต ภูมิถาวร.
ละครเวทีน. ละครแบบหนึ่ง แสดงบนเวที มีฉากสมจริงและมีการปิดเปิดม่าน ผู้แสดงดำเนินเรื่องด้วยบทเจรจา เช่น เรื่องผกาวลี ดำเนินเรื่องโดยการแสดงบทและเจรจาอาจมีเพลงแทรกบ้าง เช่น ละครอิงประวัติศาสตร์ของหลวงวิจิตรวาทการ ดรรชนีนาง ขุนศึก ศรอนงค์ พันท้ายนรสิงห์.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
plasticity index (PI)ดรรชนีพลาสติก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
refractive indexดรรชนีหักเห [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
refractometerมาตรดรรชนีหักเห [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
superscriptดรรชนีบน, ตัวยก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
superscript๑. ดรรชนีล่าง, ตัวห้อย๒. ดรรชนีกำกับ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
superscriptตัวยก, ดรรชนีบน, ดัชนีบน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
subscript๑. ดรรชนีล่าง, ตัวห้อย๒. ดรรชนีกำกับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
subscriptดรรชนีบน, ตัวยก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
subscriptตัวห้อย, ดรรชนีล่าง, ดัชนีล่าง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
antiknock indexดรรชนีต้านการน็อก [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
antiknock indexดรรชนีกันน็อก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
alkali-lime indexดรรชนีแอลคาไล-ไลม์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
Abbe refractometerมาตรดรรชนีหักเหแอบเบ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
clearness indexดรรชนีความใส [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
floating-point๑. -จุดลอยตัว๒. อิงดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
fixed-base indexดรรชนีฐานตรึง, ดัชนีฐานตรึง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
fixed-point๑. -จุดตรึง๒. ไม่อิงดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indices; index; indexes; indices (pl.)ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
index fileแฟ้มเก็บดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
index fossilซากดึกดำบรรพ์ดรรชนี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
index mineralแร่งดรรชนี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
index numberเลขดัชนี, เลขดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
index numberเลขดรรชนี, เลขดัชนี [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
indices (pl.); index; indexes; indicesดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ISAM (indexed sequential access method)ไอแซม (วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
index๑. นิ้วชี้ [ มีความหมายเหมือนกับ forefinger ]๒. ดรรชนี, ดัชนี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
index; indexes; indices; indices (pl.)ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
indexดรรชนี, ดัชนี [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
indexed addressเลขที่อยู่เชิงดรรชนี [ มีความหมายเหมือนกับ variable address ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indexed addressingการกำหนดเลขที่อยู่โดยดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indexed fileแฟ้มดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indexed sequential access method (ISAM)วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี (ไอแซม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indexed sequential fileแฟ้มลำดับดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indexed wordคำดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indexes; index; indices; indices (pl.)ดัชนี, ดรรชนี [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
index registerเรจิสเตอร์ดรรชนี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
VI (viscosity index)วีไอ (ดรรชนีความหนืด) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
viscosity index (VI)ดรรชนีความหนืด (วีไอ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Periodical indexดรรชนีวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา]
Title indexดรรชนีชื่อเรื่อง [เทคโนโลยีการศึกษา]
Thumb indexดรรชนีหัวแม่มือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Indexดรรชนี หรือ ดัชนี, Example: ดรรชนี หรือ บัญชีค้นคำ (index) เป็นการนำหัวข้อย่อยๆ และคำบางคำ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง มาจัดเรียงตามลำดับอักษร แล้วกำกับด้วยเลขหน้าที่หัวข้อย่อย และคำบางคำนั้นปรากฏอยู่ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน ได้ค้นหาเรื่องราวไปยังข้อมูลและแหล่งข้อมูลได้ตามต้องการและรวดเร็วขึ้น และเป็นการควบคุมทางบรรณานุกรมสำหรับสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำดรรชนี <p>โครงสร้างของดรรชนี ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ดังนี้คือ <p>1. คำ กลุ่มคำ วลี ข้อความ ที่ใช้แทนเนื้อหา อาจเป็นคำที่ปรากฏอยู่ในเอกสาร เป็นคำที่ปรากฏใช้บ่อบในเอกสาร หรือเป็นคำศัพท์มาตรฐานที่นำมาจากคู่มือหัวเรื่อง หรือศัพท์สัมพันธ์ <p>2. ข้อมูลชี้แหล่งหรือตำแหน่งของสารสนเทศ เช่น ข้อมูลทางบรรณานุกรมของดรรชนีวารสาร ได้แ่ก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ วันเดือนปี และเลขหน้า เล่มที่ และหน้าที่ปรากฏเนื้อหา เป็นต้น <p>ประเภทของดรรชนี จำแนกได้ ดังนี้ <p>1. จำแนกตามทรัพยากรสารสนเทศที่นำมาจัดทำ 3 ประเภท คือ <p>1.1 ดรรชนีวารสาร (Periodical index) <p>1.2 ดรรชนีหนังสือพิมพ์ (Newsapers index) <p>1.3. ดรรชนีหนังสือเล่ม (Book index) <p>2. จำแนกตามวิธีการจัดทำ แบ่งเป็น <p>2.1 ดรรชนีที่ทำด้วยระบบมือ (Manual system) จำแนกเป็น ใช้วิธีค้นคำหรือกลุ่มคำจากเอกสารตามที่ปรากฏ หรือการกำหนดคำหรือวลีซึ่งใช้เป็นตัวแทนเนื้อหา ได้แก่ ภาษาดรรชนี เช่น หัวเรื่อง ศััพท์สัมพันธ์ <p>2.2 ดรรชนีที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้คอมพิวเตอร์ดึงคำ วลี หรือกลุ่มคำจากเอกสาร <p>3. จำแนกตามองค์ประกอบหรือลักษณะของดรรชนี มีรายละเอียด ดังนี้ <p>3.1 มีข้อมูลตัวแทน ข้อมูลระบุลักษณะ และข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีวารสาร จะระบุคำหัวเรื่องซึ่งเป็นตัวแทนเนื้อหา ระบุชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ซึ่งเป็นข้อม฿ูลระบุลักษณะ และระบุข้อมูลชี้แหล่ง คือ ชื่อวารสาร วันเดือนปี และเลขหน้าที่เรื่องนั้นๆ ปรากฏ <p>3.2 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลชี้แหล่ง แต่ไมีมีข้อมูลระบุลักษณะ ได้แก่ ดรรชนีท้ายเล่มหนังสือ ซึ่งมีตำ หรือวลี เป็นข้อมูลตัวแทนเนื้อหา และระบุเลขหน้าที่คำนั้นๆ ปรากฏ <p>3.3 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลระบุลักษณะ แต่อาจมีหรือไม่มีข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีควิก (Kwic index) และดรรชนีควอก (Wkoc index) <p>4. จำแนกตามแหล่งที่อยู่ของดรรชนี ได้แก่ <p>4.1 ดรรชนีที่อยู่กับแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ท้ายเล่มหนังสือ (Book index) ประกอบด้วย ดรรชนีชื่อผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง ดรรชนีหัวเรื่อง และดรรชนีคำสำคัญ <p>4.2 ดรรชนีที่อยู่ต่างหาก (Independent index) เช่น ดรรชนีในรูปบัตร รูปเล่ม และฐานข้อมูลดรรชนี เช่น ดรรชนีวารสารและหนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลสำเร็จรูปต่างๆ เช่น ERIC, DAO เป็นต้น และรายการในบัตรรายการประเภทต่างๆ เป็นต้น <p>รายการอ้าอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Indexingการทำดรรชนี, Example: <p>การทำดัชนี Indexing <p>การจัดทำดรรชนี (Indexing) เป็นกระบวนการวิเคราะห์เนื้อหาของความรู้ โดยนำเอาเนื้อหาสำคัญและแนวคิด (concept) ที่ได้จากความรู้นั้นมาจัดทำเป็นภาษาในระบบการจัดทำดรรชนี และนำมาจัดเรียงตามลำดับอักษร เพื่อสะดวกในการค้นหาเรื่องที่ต้องการ ดรรชนีช่วยผู้ใช้ให้เข้าถึงสารนิเทศที่ต้องการได้อย่างสมบูรณ์ ดรรชนีเป็นเครื่องมือที่มีการสร้างไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่เนื้อหาของหัวข้อ เรื่องที่ผู้ใช้ต้องการ หรือชี้แนะไปยังแหล่งสารนิเทศที่มีเอกสารที่ต้องการ มีส่วนประกอบสำคัญคือ <p>1 คำสำคัญ (Keyword / descriptor) เป็นคำที่ใช้แทนสาระของเอกสาร <p>2 รายการทางบรรณานุกรม (Bibliographic description) แสดงถึงลักษณะทางกายภาพของเอกสารพร้อมด้วยรหัสของเอกสาร เพื่อแสดงแหล่งที่ปรากฎของสารนิเทศ <p>คุณลักษณะของเนื้อหาที่จำเป็นสำหรับการจัดทำดรรชนี <p>1 เลขหมู่หนังสือ (Classification code) <p> 2 หัวเรื่อง (Subject headings) <p>บรรณานุกรม : เพชราภรณ์ จันทรสูตร์, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนำดรรชนีและสาระสังเขป กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliometricดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรม, Example: <p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Indexerผู้ทำดรรชนี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Periodical indexดรรชนีวารสาร, Example: <p>ดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นดรรชนีที่จำแนกตามลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศ จัดทำขึ้นเพื่อนำผู้ใช้ไปยังวารสารที่มีบทความนั้นๆ ปรากฏอยู่ ดรรชนีวารสารจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ <p>1. ใช้้ค้นบทความทั่วๆ ไป ที่ลงในวารสารต่างๆ ไม่เจาะจงชื่อวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Reader's Guide to Periodical Literature ซึ่งเป็นดรรชนีวารสาร นิตยสาร วารสารทางวิชาการ จัดทำขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901 โดย H.W. Wilson Company <p>ตัวอย่าง Reader's Guide to Periodical Literature <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Readers-Guide.jpg" alt="Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>วิธีการใช้ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Sample-Readers-Guide.jpg" width="640" higth="200" alt="How to Use Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูล คือ Readers' Guide to Periodical Literature ซึ่งครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่ปี 1983 ถึงปัจจุบัน (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-to-periodical-literature) และ Readers' Guide Retrospective: 1890-1982 ครอบคลุมข้อมูลของปี 1890-1982 (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-retrospective) <p>2. ใช้ค้นเรื่องที่ลงในวารสารชื่อเรื่องใดชื่อเรื่องหนึ่ง อาจเป็นสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์วารสารนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น ดรรชนีราชกิจจาบุเบกษา <p>3. ใช้ค้นเรื่องในสาขาเฉพาะที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น Applied Science & Technology Index ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ โดย EBSCO <p>รายการอ้างอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. <p>City College of San Francisco. Finding Periodical Articles Using Print Indexes. Available: http://www.ccsf.edu/Librar/printindexes.pdf. Accessed: 20120416. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Relative indexดรรชนีสัมพันธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Thumb indexดรรชนีหัวแม่มือ, ดรรชนีริมกระดาษ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Title indexดรรชนีชื่อเรื่อง, Example: <p>เป็นการทำดรรชนีโดยการนำชื่อเรื่องของหนังสือ บทความ และเอกสารอื่นๆ มาลงรายการดรรชนีเป็นรายการหลัก และปรากฏอยู่ที่ท้ายเล่มของดรรชนีของหนังสือ ดรรชนีวารสาร และดรรชนีหนังสือพิมพ์ หรือปัจจุบันมีการทำดรรชนีชื่อเรื่องให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตด้วย <p>ตัวอย่าง ดรรชนีชื่อเรื่อง ของวารสารประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p><p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Pop-Ti-Index.jpg" width="640" higth="200" alt="Population Science Title Index"> <p>ตัวอย่าง การให้บริการดรรชนีชื่อเรื่องทางอินเทอร์เน็ตของ TDRI <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti2.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index"> <p>การทำดรรชนีชื่อเรื่องเป็นลักษณะฐานข้อมูลและให้บริการทางอินเทอร์เน็ตนั้น เอื้ออำนวยเป็นอย่างมากในการเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลโดยตรง <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti-Full-Text.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index Full Text"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Thumb indexดรรชนีริมกระดาษ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Abstracting and Indexingสาระสังเขปและดรรชนี, การทำสาระสังเขปและดรรชนี [การแพทย์]
Acetabular Indexค่าดรรชนีอะเซตาบูลัม [การแพทย์]
Birth Rate Ratioดรรชนีชีพ, ดัชนีชีพ [การแพทย์]
Cephalic Indexดรรชนีศีรษะ [การแพทย์]
Factors, Difficultyดรรชนีความสามารถ [การแพทย์]
Icing indexดรรชนีการจับแข็ง [อุตุนิยมวิทยา]
Key-Word-in-Contextดรรชนีควิก, Example: ดรรชนีควิก (KWIC: Key-Word-in-Context) เป็นการทำดรรชนีคำสำคัญจากชื่อเรื่อง มีลักษณะเป็นดรรชนีเวียนคำ (permutation index) คือ หมุนเวียนใช้คำนาม หรือคำแทนนามทุกคำที่ปรากฏในชื่อเรื่องมาเป็นดรรชนี เรียงตามลำดับอักษร ให้ทุกคำอยู่ในตำแหน่งที่ตรงกันไม่ว่าคำนั้นจะเป็นคำที่เท่าใดของชื่อเรื่อง <p>การทำดรรชนีแบบ KWIC มีกำเนิดมาจาก แอนเดรีย เครสตาโดโร (Andria Crestadoro) เป็นผู้คิดจัดทำเครื่องมือช่วยค้นหาสิ่งพิมพ์ในห้องสมุดประชาชนแมนเชสเตอร์ แต่การทำดรรชนีแบบของ เครสตาโดโร นี้ บรรณารักษ์เป็นผู้จัดทำเองทั้งหมด ยังไม่ได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงาน จนกระทั่ง Hans Peter Luhn ได้นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทำดรรชนีแบบ permutation index โดยการหมุนเวียนเอาคำสำคัญในชื่อบทความที่ปรากฏอยู่ในวารสาร Chemical Abstracts มาเรียงตามลำดับอักษร <p>ส่วนประกอบที่สำคัญ <p>1. รหัสที่ใช้กำกับเอกสารหรือบทความที่นำมาทำดรรชนี เพื่อระบุแหล่งที่ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารหรือบทความ ส่วนมากจะให้เป็นหมายเลขลำดับที่ของเอกสารหรือบทความนั้น <p>2. คำสำคัญทุกคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่องของเอกสารหรือบทความที่นำมาหมุนเวียนทำดรรชนี การจะกำหนดว่าคำใดเป็นคำสำคัญในชื่อเรื่องของเอกสาร ผู้จัดทำดรรชนีจะเป็นผู้ป้อนโปรแกรมคำสั่งต่างๆ แก่คอมพิวเตอร์โดยกำหนดให้ทุกคำที่ปรากฏในชื่อเรื่องถือเป็นคำสำคัญ ยกเว้น คำนำหน้านาม คำสันธาน คำบุพบท คำสรรพนาม <p>คำสำคัญเหล่านั้น จะถูกหมุนเวียนกันเป็นคำสำคัญ จัดเรียงตามลำดับอักษร และจัดรูปแบบการพิมพ์ออกเป็น 3 คอลัมน์ จะถูกจัดพิมพ์ในบรรทัดเดียวกัน ข้อมูลแต่ละบรรทัดจัดเรียงตามลำดับอักษรของคำสำคัญซึ่งปรากฏอยู่คอลัมน์กลาง ส่วนคอลัมน์ซ้ายและขวาที่ติดกับคำสำคัญ คือ คำอื่นๆ ในชื่อเรื่องของเอกสาร และคอลัมน์ขวาสุดคือส่วนที่เป็นรหัสที่ใช้กำกับเอกสารที่จะนำผู้ใช้ไปสู่รายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสาร <p>3. คำทุกคำที่ปรากฏในชื่อเรื่องของเอกสารซึ่งในขณะนั้นไม่ได้เป็นคำสำคัญ จึงเป็นส่วนที่ปรากฏอยู่ด้านหน้าและหลังคำสำคัญ ซึ่งจะช่วยให้ความหมายของคำสำคัญเด่นชัดขึ้น และช่วยให้ผู้ใช้ทราบชื่อเรื่องทั้งหมดของเอกสารด้วย หากชื่อเรื่องของเอกสารยาวและมีจำนวนอักขระเกินกว่าจำนวนที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ในแต่ละบรรทัด ข้อความส่วนที่เกินจะไม่ปรากฏ และจะมีเครื่องหมาย / ปรากฏเมื่อจบชื่อเรื่องนั้นๆ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120708-KWIC.jpg" width="640" higth="200" alt="ดรรชนีควิก"> <p>ภาพแสดงส่วนประกอบของดรรชนีควิก 3 คอลัมน์ (Luhn, 162) <p>จะเห็นว่า GAMMA RAYS IN GE72 อยู่ภายใต้คำว่า Gamma และ GE72 <p> รายการอ้างอิง <p>กุลธิดา ท้วมสุข. KWIC index. บรรณารักษศาสตร์ มข. 3(3) ส.ค. 2528 : 37-45. <p>นวนิตย์ อินทรามะ. "ดรรชนีและสาระสังเขป" หน้า 229-231. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา สารนิเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532. <p>Luhn, H.P. Keyword-in-Context Index for Technical Literature (KWIC Index) p. 159-167 in Readings in Automatic Language Processing. edited by David G. Hays. New York : American Elsevier Publishing Company Inc., 1966. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Key-Word-out-of-Context Indexดรรชนีควอก, Example: ดรรชนีควอก (KWOC - Key-Word-out-of-Context Index) เป็นการจัดทำดรรชนีที่อาศัยคำสำคัญจากชื่อเรื่องเช่นเดียวกับการทำดรรชนีควิก ต่างกันเพียงการจัดรูปแบบการพิมพ์ กล่าวคือ แทนที่คำสำคัญที่เป็นดรรชนีจะอยู่ตรงคอลัมน์กลางเหมือนการทำดรรชนีควิก ก็จะปรากฏอยู่ที่คอลัมน์ริมหน้ากระดาษหรือคอลัมน์ซ้ายมือ ตามด้วยชื่อเรื่องทั้งหมดของเอกสาร และเมื่อคำสำคัญมิได้อยู่ในตำแหน่งที่เป็นชื่อเรื่องแต่กลับปรากฏที่คอลัมน์ริมสุด จึงเรียกดรรชนีประเภทนี้ว่า Key-Word-out-of-Context <p>ตัวอย่าง: จากรายชื่อของเอกสารดังต่อไปนี้ <p> Blue-eyed Cats in Texas <p> The Cat and the Fiddle <p> Dogs and Cats and Their Diseases <p> The Cat and the Economy <p>เมื่อเป็นดรรชนีควอก คำสำคัญจากชื่อเรื่องอยู่คอลัมน์ซ้ายมือ คอลัมน์กลาง เป็นชื่อเรื่อง และขวาสุดเป็นแหล่งที่มาของเอกสาร ดังภาพ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120710-KWOC-Example.jpg" width="640" higth="200" alt="ดรรชนีควอก"> <p> รูปแบบการจัดทำดรรชนีแบบควิกและควอก เป็นอุปสรรคอย่างหนึ่งที่คนไม่นิยมใช้ ดรรชนีประเภทนี้นัก ด้วยเหตุผลของการไม่สะดวกในการค้นหา กล่าวคือ ชื่อเรื่องมีความคลุมเครือ ไม่มีระบบควบคุมคำศัพท์ ผู้ใช้จะต้องนึกถึงคำศัพท์ที่จะใช้ค้นหาเอง เนื่องจากไม่มีระบบการเชื่อมโยงหัวเรื่องที่ไม่ใช้ไปยังหัวเรื่องที่ใช้ ผู้ใช้จะต้องเป็นผู้ที่รู้เรื่องที่จะค้นอย่างแท้จริง แล้ว การที่ต้องพิมพ์ซ้ำชื่อเรื่องหนึ่งๆ ตามจำนวนคำสำคัญที่ปรากฎในชื่อเรื่อง ทำให้ต้องพิมพ์ตัวขนาดเล็ก เพื่อประหยัดกระดาษ ผู้ใช้ต้องใช้สายตามากในการใช้ดรรชนีควิกและควอก แต่ดรรชนีควิกและควอก เหมาะกับงานประเภท Current notification เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้ทราบถึงรายชื่อหนังสือใหม่ในสาขาวิชาต่างๆ โดยรวดเร็ว เพราะหนังสือที่รวบรวมนั้น มีจำนวนไม่มาก ไม่ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบนาน คำสำคัญในชื่อเรื่องมักเป็นคำที่เฉพาะเจาะจงที่ผู้ใช้มักให้ความสนใจเป็นพิเศษ และสามารถติดตามความเคลื่อนไหวในวงการได้อย่างรวดเร็ว <p>รายการอ้างอิง: <p>สุนทรี รสสุธาธรรม. “ดรรชนีแบบ KWIC และ KWOC : การทำดรรชนีแบบไม่ควบคุมคำศัพท์”. บรรณสาร สพบ. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (พ.ค.-มิ.ย. 23) : 154-159. <p>Cleveland, Donald B. and Cleveland, Ana D. Introduction to Indexing and Abstracting. 2nd ed. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1990. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
total reflectionการสะท้อนกลับหมด, ปรากฏการณ์ที่แสงผ่านจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมากไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อยกว่า  เมื่อมุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต  ลำแสงจะไม่ทะลุผ่านไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อยกว่าแต่จะสะท้อนกลับเข้ามาในตัวกลางเดิม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
refractive index [ index of refraction ]ดรรชนีหักเห, อัตราส่วนของ sine มุมตกกระทบกับ sine ของมุมหักเห หรืออัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วของคลื่นในตัวกลางที่คลื่นตกกระทบ กับอัตราเร็วของคลื่นในตัวกลางที่คลื่นหักเห ดูรูป n    คือ ดรรชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เมื่อเทียบกับตัวกลางที่ 1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
index of refractionดรรชนีหักเห, ดู  refractive index [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
critical angleมุมวิกฤต, มุมตกกระทบของแสงซึ่งทำให้มุมหักเหเป็น 90 องศา  เกิดขึ้นเมื่อแสงผ่านจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหสูงไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหต่ำกว่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Indexเครื่องบ่งชี้, ดรรชนี, เข็มชี้ [การแพทย์]
Index, Acceptableดรรชนีความสามารถ [การแพทย์]
Index, Difficultyค่าดรรชนีความยาก [การแพทย์]
Index, Maturationดรรชนีของการเจริญเติบโต, มาเจอเรชั่นอินเด็กซ์ [การแพทย์]
Index, Summationดรรชนีผลรวม [การแพทย์]
Mortality Index, Comparativeดรรชนีเปรียบเทียบอัตราตาย [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
To be able to disarm my whisk with the Divine Finger Flick... besides the lord of Peach Blossom Island... there can be no one else!มีเพียงท่านที่สามารถปลดแส้ข้าได้โดยใช้วิชาดรรชนีอันเยี่ยมยอด... ท่านประมุขเกาะดอกท้อ... ไม่มีทางเป็นใครอื่น! Return of the Condor Heroes (1983)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ดรรชนี = ดัชนี[datchanī] (n) EN: index ; rate ; list  FR: index [ m ] ; indice [ m ] ; taux [ m ] ; liste [ f ]
ดรรชนี = ดัชนี[datchanī] (n) EN: index finger ; forefinger  FR: index [ m ]
ดรรชนีชื่อหนังสือ[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
ดรรชนีชื่อผู้แต่ง[datchanī cheū phūtaeng] (n, exp) EN: author index  FR: index des auteurs [ m ]
ดรรชนีหักเห[datchanī hakhē] (n, exp) EN: refractive index
ดรรชนีค้นคำ[datchanī khon kham] (n, exp) EN: index  FR: index [ m ]
ดรรชนีค้นเรื่อง[datchanī khon reūang] (n, exp) EN: subject index
ดรรชนีผู้แต่ง[datchanī phūtaeng] (n, exp) EN: author index  FR: index des auteurs [ m ]
ดัชนีราคา = ดรรชนีราคา[datchanī rākhā] (n, exp) EN: price index
ดรรชนีวารสาร[datchanī wārasān] (n, exp) EN: periodical index

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
card(n) บัตรรายการ, See also: บัตรเรียงดรรชนี
forefinger(n) นิ้วชี้, See also: ดรรชนี, ดัชนี, Syn. index finger
index(n) ดัชนี, See also: ดรรชนี, Syn. inventory, register, directory, list
indices(n) ดัชนี (คำนามพหูพจน์ของคำนาม index), See also: ดรรชนี, Syn. directory file, inventory, roll
price index(n) ดรรชนีราคา, See also: ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ, Syn. index

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
concordance(คอนคอร์'เดินซฺ) n. การตกลงกัน, ความสอดคล้องกัน, ดรรชนีเรื่องตามอักษร
index(อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ
indexed fileแฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก
indexed sequential accessวิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล
indicative(อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์., See also: indicatively adv., Syn. guiding
indicator(อิน' ดิเคเทอะ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้นำ, สิ่งชี้นำ, Syn. pointer, guide, sign หมายถึง อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวชี้บอกสภาพบางประการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า มีไฟแดงขึ้นที่หน่วยขับจานบันทึก disk drive เพื่อบอกว่าอุปกรณ์ส่วนนี้กำลังทำงาน หรืออาจเป็นสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโผล่ขึ้นบนจอภาพในระหว่างการกระทำการ execution เช่น มีสัญลักษณ์แสดงว่า ข้อมูลล้นหน่วยความจำ overflow เป็นต้น
inverted fileแฟ้มผกผันหมายถึง โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่มีดรรชนีคอยบ่งบอกถึงที่อยู่ (location) ของระเบียน (record) ที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ หรือระเบียนที่มีลักษณะตามที่กำหนด
isam(ไอแซม) ย่อมาจาก indexed sequential access method (แปลว่า วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนี) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล
price indexn. ดรรชนีราคา, ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ

English-Thai: Nontri Dictionary
forefinger(n) นิ้วชี้, ดรรชนี
indicator(n) เครื่องชี้บอก, คนบอกทาง, ดรรชนี, เครื่องชี้นำ

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top