ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ฉบับ, -ฉบับ- |
| ฉบับ | (clas) copy, See also: issue, Example: บ้านนี้รับหนังสือพิมพ์วันละ 2 ฉบับ, Count Unit: ฉบับ | ฉบับ | (n) copy, See also: issue, edition, version, Syn. เล่มหนังสือ, แผ่นจดหมาย, แผ่นเอกสาร, Example: เราจะพูดถึงวิธีแก้ปัญหาอีกครั้งหนึ่งในฉบับต่อไป, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน | คู่ฉบับ | (n) duplicate, See also: copy, counterfoil, Example: ตราสารใดไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ จะใช้ต้นฉบับ คู่ฉบับ คู่ฉีก หรือสำเนาตราสารนั้นเป็นพยานหลักฐาน ในคดีแพ่งไม่ได้, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่ทำขึ้นเป็นต้นฉบับตั้งแต่ 2 ฉบับขึ้นไป มีข้อความตรงกัน โดยฉบับหนึ่งเป็นคู่ฉบับของอีกฉบับหนึ่ง, Notes: (กฎหมาย) | ต้นฉบับ | (n) manuscript, See also: typescript | ต้นฉบับ | (n) original manuscript, See also: source document, master copy, Syn. ต้นร่าง, ต้นสำเนา, แบบร่าง, ฉบับร่าง, Example: นักเขียนทุกคนต้องส่งต้นฉบับภายในวันศุกร์นี้, Thai Definition: ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์ไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์ | แบบฉบับ | (n) model, See also: pattern, example, archetype, ideal, paradigm, standard, prototype, paragon, Syn. แบบอย่าง, แม่แบบ, ต้นแบบ, Example: เด็กยึดพ่อแม่เป็นแบบฉบับในการดำเนินชีวิต, Thai Definition: หลักปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐาน, สิ่งที่ถือเป็นแบบได้ | ฉบับร่าง | (n) draft, See also: early version, preliminary outline, Example: หัวหน้าจัดการส่งฉบับร่างของแบบงานไปให้สถาปนิก พร้อมกับคำสั่งให้ดำเนินงานได้เลย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: ฉบับที่ทำเพียงเค้าโครงขึ้นมา เพื่อลอกคัดหรือแต่งภายหลัง | ฉบับร่าง | (adj) draft, See also: draught, Example: ที่ประชุมมีมติให้จัดทำกฎหมายฉบับร่างขึ้นมาก่อน แล้วจึงแก้ไขตามสมควรภายหลัง, Thai Definition: ที่ทำเพียงเค้าโครงขึ้นมา เพื่อลอกคัดหรือแต่งภายหลัง | ตามแบบฉบับ | (adj) typical, See also: representative, archetypal, characteristic, standard, Example: วิรุณคิดว่ารามเกียรติ์เป็นวรรณคดีตามแบบฉบับ, Thai Definition: ที่เป็นหลักปฏิบัติซึ่งเป็นบรรทัดฐาน, สิ่งที่ถือเป็นแบบได้ | ภาษาต้นฉบับ | (n) source language, Example: นักแปลที่ดีจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะแปล และมีความรู้ทั้งภาษาต้นฉบับ และภาษาเป้าหมายเป็นอย่างดี, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในฉบับจริงหรือฉบับต้นเรื่อง |
|
| คู่ฉบับ | น. หนังสือหรือเอกสารที่ทำขึ้นตั้งแต่ ๒ ฉบับขึ้นไป มีข้อความตรงกัน โดยถือว่าทุกฉบับเป็นต้นฉบับ. | ฉบับ | (ฉะ-) น. หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ต้นเดิมของหนังสือที่พิมพ์หรือเขียน เรียกว่า ต้นฉบับ | ฉบับ | ลักษณนามเรียกหนังสือเล่มหรือหนังสือเป็นแผ่นที่ถือว่าเป็นหน่วยหนึ่ง ๆ เช่น จดหมาย ๓ ฉบับ สลากกินแบ่ง ๕ ฉบับ หนังสือสัญญา ๒ ฉบับ. | ฉบับกระเป๋า | ว. ที่มีขนาดเล็กสามารถพกพาไปได้สะดวก เช่น พจนานุกรมฉบับกระเป๋า คอมพิวเตอร์ฉบับกระเป๋า. | ต้นฉบับ | น. ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์หรือแต่งไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์, ต้นสำเนา. | แบบฉบับ | น. หลักปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐาน, บุคคลหรือสิ่งที่ถือเป็นแบบได้. | กระมึน | ว. ทะมึน, มีลักษณะดำมืดสูงใหญ่น่าเกรงขาม, เช่น กายาศีรษะพลัดพราย หัวขาดเด็ดตาย จรลู่กระมึนเหมือนเขา (เสือโค, บางฉบับเป็น ตระหมื้น), ตระมึน หรือ ตระมื่น ก็ใช้, โดยมากใช้ว่า ทะมื่น. | ครรลอง | (คันลอง) น. ทาง, แนวทาง, แบบฉบับ. | คัด ๑ | ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ไปคัด. | คัดสำเนา | ก. ลอกข้อความเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. | จินดามณี | ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์. | เจ้าหน้าที่ของรัฐ | น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย. | ต้นแบบ | น. แบบดั้งเดิม, แบบที่มีมาแต่แรก, แบบที่ทำขึ้นไว้แต่แรก, สิ่งที่สร้างขึ้นเป็นแบบฉบับ ใช้เป็นต้นเค้าสำหรับสร้างสิ่งอื่นให้มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน. | ต้นร่าง | น. ฉบับที่ร่างไว้เดิม. | ตรวจทาน | สอบหนังสือให้ถูกต้องหรือให้ตรงกับต้นฉบับ, ทาน ก็ว่า. | เตียน ๒ | ก. ติ, ทัก, เช่น โปรดแปลงเอาอย่าเตียน ข้อยข้าเขียนตามฉบับ (จินดามณี). | ถ่ายสำเนา | ก. ถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร. | ทาน ๓ | ก. สอบหนังสือให้ถูกต้องหรือให้ตรงกับต้นฉบับ, ตรวจทาน ก็ว่า. | ธนบัตรย่อย | น. ธนบัตรที่ราคาต่ำกว่าฉบับราคาสูง เช่น ธนบัตรราคา ๕๐ บาท ๒๐ บาท เป็นธนบัตรย่อยของธนบัตรราคา ๑๐๐ บาท. | นอกครู | ก. ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา. | นอกบาลี | ก. พูดหรือทำนอกแบบฉบับ. | นั้น | ว. ใช้ประกอบนามหรือข้อความที่กล่าวอ้างมาแล้ว เช่น ในจดหมายฉบับนั้น ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้น, ใช้ประกอบนามที่หมายถึงบุคคล หรือสิ่งที่อยู่ห่างออกไป เช่น คนนั้น สิ่งนั้น, ใช้ประกอบคำอื่นคู่กับคำ ใด แสดงความแน่นอน เช่น คนใด…คนนั้น เมื่อใด…เมื่อนั้น. | ปฐมฤกษ์ | (ปะถมมะ-) ว. เริ่มแรก เช่น ฉบับปฐมฤกษ์. | พิมพ์เขียว | ก. พิมพ์สำเนาโดยการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษบาง ๆ ลงบนกระดาษที่เคลือบสารเคมีซึ่งไวต่อแสง ให้ปรากฏเป็นลวดลายสีขาวบนพื้นสีนํ้าเงินหรือลวดลายสีนํ้าเงินบนพื้นขาว. | พิสดาร | (พิดสะดาน) ว. กว้างขวาง, ละเอียดลออ (ใช้แก่เนื้อความ) เช่น ประวัติศาสตร์ฉบับพิสดาร มีความพิสดารดังนี้ | ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | มนุสาร, มนูสาร, มโนสาร | น. ชื่อคัมภีร์กฎหมายมนูธรรมศาสตร์ฉบับย่อ. | ย่อส่วน | น. แบบที่จำลองให้มีรูปทรง ขนาด เล็กลงกว่าต้นแบบตามส่วนอย่างหุ่นจำลอง เช่น นี่เป็นย่อส่วนของแผนที่ฉบับนั้น. | ย่อย | เรียกธนบัตรที่ราคาน้อยกว่าฉบับที่มีราคามาก ว่า ธนบัตรย่อย หรือ แบงก์ย่อย. | โยชนา | (โยชะนา) น. ชื่อคัมภีร์บาลีประเภทหนึ่ง ซึ่งบอกสัมพันธ์ศัพท์บาลีว่า ศัพท์ไหนเข้ากับศัพท์ไหนในต้นฉบับนั้น ๆ เช่น โยชนาฎีกาสังคหะ. | รองทรง | หนังสือสำคัญและสมุดไทยที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้เป็นการส่วนพระองค์ เช่น กฎหมายตรา ๓ ดวงฉบับรองทรง. | ระบับ | น. แบบ, ฉบับ. | ระบิ, ระบิล | น. เรื่อง, ความ, ฉบับ, อย่าง. | ร่าง | ว. ที่ทำรูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ฉบับร่าง ต้นร่าง ภาพร่าง โครงร่าง. | เรียงพิมพ์ | ก. เอาตัวพิมพ์มาเรียงตามต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์. | ลบอง | (ละบอง) น. แบบ, ฉบับ. | ลอก | เขียน คัด หรือจำลองออกมาจากต้นฉบับ ต้นแบบ เช่น ลอกหนังสือ ลอกลวดลาย ลอกแบบ, โดยปริยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลอกความคิด. | วันรัฐธรรมนูญ | น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. | ศิษย์นอกครู | น. ศิษย์ที่ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา. | สอบทาน | ก. ตรวจสอบหนังสือ ข้อความ หรือตัวเลข ให้ตรงกับต้นฉบับหรือถ้อยคำที่บอกเป็นต้น. | สารประโยชน์ | (สาระ-) น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า. | สำเนา | น. ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ | สำเนา | ลักษณนามเรียกจำนวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. | สำเนา | ก. คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสำเนาไว้ก่อน. | หน้า | ว. ถัดไป เช่น อาทิตย์หน้า ฉบับหน้า | หลวม | โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระชับ, ไม่รัดกุม, เช่น สำนวนหลวมไป เหตุผลยังหลวมอยู่, ไม่รอบคอบ เช่น สัญญาฉบับนี้ทำไว้หลวมเกินไป. | ห้องสมุด, หอสมุด | น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้. | อัน | ว. อย่าง เช่น เป็นอันมาก เป็นอันดี, ใช้เป็นคำนำหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความต่าง ๆ เช่น อันอายุความนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ท่านให้มีกำหนดสิบปี. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔ ฉบับเก่า), ใช้ว่า อันว่า ก็มี เช่น อันว่าทรัพย์นั้น โดยนิตินัยได้แก่วัตถุมีรูปร่าง. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๘ ฉบับเก่า). | อันว่า | ว. ใช้เป็นคำนำหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความต่าง ๆ เช่น อันว่าทรัพย์นั้น โดยนิตินัยได้แก่วัตถุมีรูปร่าง. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๘ ฉบับเก่า), ใช้ว่า อัน ก็มี เช่น อันอายุความนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ท่านให้มีกำหนดสิบปี. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔ ฉบับเก่า). | อ้างอิง | ก. ระบุที่มาเพื่อเป็นหลักฐาน, ยกมากล่าวเป็นหลัก, เช่น ในการให้ความหมายของคำ เขามักอ้างอิงพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. |
| parastratotype | ชั้นหินแบบฉบับเสริม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | paratype | คล้ายแบบฉบับ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | last will | พินัยกรรมฉบับหลังสุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lectostratotype | ชั้นหินแบบฉบับเพิ่มเติม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | lectotype; neotype | แทนแบบฉบับ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | release | ๑. ปล่อย ๒. ฉบับที่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | release | ๑. ปล่อย๒. ฉบับที่ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | sic | ตามต้นฉบับ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft copy; softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | softcopy: soft copy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft copy; softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | soft copy: softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | secondary evidence of document | พยานเอกสารที่ใช้แทนต้นฉบับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | source | ต้นฉบับ, ต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | source code | รหัสต้นฉบับ, รหัสต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | source code | รหัสต้นฉบับ, รหัสต้นทาง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | source document | เอกสารต้นฉบับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | source language | ภาษาต้นฉบับ, ภาษาต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | source program | โปรแกรมต้นฉบับ, โปรแกรมต้นทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | simplified edition | ฉบับง่าย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | stratotype; type section | ชั้นหินแบบฉบับ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | original net premium income | เบี้ยประกันภัยรับสุทธิตามกรมธรรม์ฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original net retained premium income | เบี้ยประกันภัยรับสุทธิตามกรมธรรม์ฉบับต้นที่คงไว้ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original of the document | ต้นฉบับของเอกสาร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | original slip | สลิปต้นฉบับ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original terms | ข้อกำหนดฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original conditions | เงื่อนไขกรมธรรม์ฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original cover | ความคุ้มครองต้นฉบับ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original deductions | ส่วนลดตามกรมธรรม์ฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original gross premium | เบี้ยประกันภัยรวมตามกรมธรรม์ฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | original | ต้นฉบับ, ต้นกำเนิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | olograph | เอกสารที่เขียนเองทั้งฉบับ [ ดู holograph ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | or as original | หรือตามกรมธรรม์ฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | abridged edition | ฉบับตัดย่อ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | as original | ตามกรมธรรม์ฉบับต้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | apocrypha | ฉบับเคลือบแคลง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | joinder of documents | การรวมความในเอกสารหลายฉบับไว้ในบันทึกเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | boundary-stratotype | เส้นเขตชั้นหินแบบฉบับ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | manuscript | ๑. เอกสารตัวเขียน๒. ต้นฉบับ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | manuscript | ต้นฉบับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | multiversion programming | การเขียนโปรแกรมแบบหลายฉบับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | consolidation act | กฎหมายที่รวมเข้าเป็นฉบับเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | counterpart | คู่ฉบับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | codicil | พินัยกรรมฉบับแก้ไขพินัยกรรมฉบับเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | canon | ฉบับแท้ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | classical analysis | การวิเคราะห์เชิงแบบฉบับ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | classical logic | ตรรกศาสตร์แบบฉบับ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | classical set | เซตแบบฉบับ [ มีความหมายเหมือนกับ crisp set ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | composite-statotype | ชั้นหินแบบฉบับรวม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | document, secondary evidence of | พยานเอกสารที่ใช้แทนต้นฉบับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Uniform title | ชื่อเรื่องแบบฉบับ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Unabridge edition | ฉบับสมบูรณ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Back file | ฉบับล่วงเวลา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Back issue | ฉบับล่วงเวลา, Example: <p>คำว่าฉบับล่วงเวลา (Back issue) หมายถึง วารสารฉบับพิมพ์ในรูปแบบตัวเล่มที่เป็นฉบับเก่า ไม่ใช่ฉบับปัจจุบันที่สำนักพิมพ์ตีพิมพ์หรือผลิตออกมา <p>วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่ง ที่มีความสำคัญต่อการศึกษา ค้นคว้า และวิจัย ในการเป็นช่องทางเสนอ เผยแพร่ และติดตาม ข้อมูลผลงานวิจัยและวิชาการที่ทันสมัยและรวดเร็ว <p>การให้บริการวารสารในรูปแบบฉบับพิมพ์ โดยทั่วไป มี 2 รูปแบบ คือ วารสารฉบับใหม่ และ วารสารฉบับล่วงเวลา (ฉบับเก่า) <p>วารสารฉบับใหม่ ให้บริการในระบบชั้นเปิด จัดวางไว้ที่ชั้นวารสารใหม่ จัดเรียงตามลำดับตัวอักษร โดยแยกเป็นวารสารภาษาไทย และ วารสารภาษาอังกฤษ <p>วารสารฉบับล่วงเวลา ขึ้นอยู่ว่าเป็นวารสารฉบับเก่าแค่ไหน หากย้อนหลังไม่มาก ให้บริการที่ชั้นวารสารล่วงเวลา จัดเรียงตามลำดับตัวอักษร โดยแยกเป็นวารสารภาษาไทย และ วารสารภาษาอังกฤษ เช่นเดียวกัน หากฉบับเก่ามาก มักให้บริการในระบบชั้นปิด ผู้ใช้บริการที่ต้องการ ต้องติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อหยิบให้บริการ <p>วารสารฉบับล่วงเวลา อาจมีทั้งฉบับปลีก และเย็บเล่ม <p>ทั้งนี้ห้องสมุดส่วนใหญ่มีระเบียบกำหนดไว้ ไม่ให้บริการยืมวารสารออกนอกห้องสมุด โดยเฉพาะวารสารฉบับปัจจุบัน วัตถุประสงค์เพื่อให้หมุนเวียนกันใช้อย่างทั่วถึง แต่บางแห่งก็ให้บริการยืมออกได้ แต่ระยะเวลาการยืมจะสั้นกว่าสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ <p>อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันห้องสมุดส่วนใหญ่ได้บอกรับวารสารในรูปแบบออนไลน์หรืออิเล็กทรอนิกส์หรือฐานข้อมูล นอกเหนือจากวารสารฉบับพิมพ์มากขึ้น ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง สืบค้นข้อมูล ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว อีกทั้งยังลดภาระห้องสมุดในการบริหารจัดการตัวเล่ม และประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาเหล่านั้นด้วย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Unabridge dictionary | พจนานุกรมฉบับสมบูรณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Unabridge edition | ฉบับสมบูรณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Abridged dictionary | พจนานุกรมฉบับรวบรัด, พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Adaptation | ฉบับดัดแปลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Anonymous classic | งานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Concise dictionary | พจนานุกรมฉบับย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Copy | ฉบับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Enlarge edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Enlargement | ฉบับขยายตัวพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Expurgated edition | ฉบับตัดทอน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Holograph | ต้นฉบับลายมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Inclusive edition | ฉบับรวมนิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Manuscript | ต้นฉบับตัวเขียน, Example: Manuscript หมายถึง (1) ต้นฉบับตัวเขียน คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสำคัญในการใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนำไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | New edition | ฉบับพิมพ์ครั้งใหม่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Pocket book | พ็อกเกตบุ๊ก, หนังสือฉบับกระเป๋า, Example: เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยใช้เรื่องราวสมมติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความ เพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก (5x7 นิ้ว) เช่นหนังสือนวนิยาย หนังสือคู่มือ เรียกว่า หนังสือฉบับกระเป๋า หรือ Pocket Book ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Pocket dictionary | พจนานุกรมฉบับกระเป๋า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reprint edition | ฉบับพิมพ์ซ้ำ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Revised edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | School dictionary | พจนานุกรมฉบับนักเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Uniform title | ชื่อเรื่องแบบฉบับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Supplement | ฉบับเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | สังเค็ด | ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด [ศัพท์พระราชพิธี] | Cataloging of manuscript | การทำบัตรรายการต้นฉบับตัวเขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Activity | กัมมันตภาพ, <em>การสลาย</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยเวลา ปัจจุบันหน่วยที่ใช้ คือ <em>เบ็กเคอเรล</em> คำนี้ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurement: ICRU No. 33) ให้ความหมายว่า เป็นจำนวนของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่งที่สลายเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที (ดู Becquerel, Bq และ Curie, Ci ประกอบ) [นิวเคลียร์] | release number | ฉบับที่, Example: ตัวเลขที่อยู่ทางขวาของเครื่องหมายจุดทศนิยมในหมายเลขโปรแกรม เมื่อบริษัทซอฟต์แวร์แก้ไขปรับปรุงซอฟแวร์ชุดหนึ่งอย่างขนาดใหญ่แล้ว ก็จะนำซอฟต์แวร์นั้นออกจำหน่ายเป็นรุ่นใหม่ (new version) หมายเลขรุ่นนี้จะอยู่ทางซ้ายมือของเครื่องหมายจุดทศนิยม ต่อมาเมื่อบริษัทซอฟต์แวร์ไปบ้างเล็กน้อย หรือแก้ไขซอฟต์แวร์ให้ถูกต้องมากขึ้น บริษัทอาจจะยังคงเรียกซอฟต์แวร์ใหม่เป็นรุ่นเดิมอยู่ แต่จะเปลี่ยนหมายเลขแสดงฉบับที่ไป [คอมพิวเตอร์] | source code | รหัสต้นฉบับ, Example: คำสั่งและโปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาระดับสูงเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องสำหรับใช้งาน [คอมพิวเตอร์] | Criticism, Textual | การวิเคราะห์ต้นฉบับ [TU Subject Heading] | Limited editions | ฉบับพิมพ์จำกัดจำนวน [TU Subject Heading] | Manuscripts | ต้นฉบับตัวเขียน [TU Subject Heading] | Modernized version | ฉบับถอดความ [TU Subject Heading] | Pirated editions | ฉบับละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading] | Translating | การแปล, ใช้เป็นหัวเรื่องย่อยตามหลังชื่อเรื่องแบบฉบับของงานเขียนอันศักดิ์สิทธิ์ ชื่อเฉพาะของภาษา กลุ่มภาษาและหัวเรื่องตามเนื้อหา [TU Subject Heading] | ASEAN Community | ประชาคมอาเซียน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 เมื่อเดือนตุลาคม 2547 เกาะบาหลี ได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในสามด้านหลักภายในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน [การทูต] | Quadrangle Economic Cooperation | กรอบความร่วมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว และจีน (มณฑลยูนนาน) ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) [การทูต] | Declaration of ASEAN Concord II | ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 ผู้นำประเทศสมาชิก อาเซียนได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่เกาะบาหลี เมื่อเดือนตุลาคม 2547 กำหนดที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน พ.ศ. 2563 [การทูต] | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] | Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Hanoi Plan of Action | แผนปฏิบัติการฮานอย เป็นแผนงานระยะ 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2542-2547 ซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 2 ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 ได้ให้ความเห็นชอบเพื่อใช้เป็นแผนงานฉบับแรกของอาเซียนสำหรับการสร้างเสริม ความร่วมมือของอาเซียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่วิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 [การทูต] | International Covenant on Civil and Political Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 [การทูต] | International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม " เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 " [การทูต] | International Law Commission of the United Nations | คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Madagascar Action Plan | แผนปฏิบัติการมาดากัสการ์ เป็นแผนพัฒนาประเทศมาดากัสการ์ที่เป็นรูปธรรมฉบับแรก นับตั้งแต่มาดากัสการ์ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2503 รัฐบาลมาดากัสการ์ ได้รับงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ (ประมาณ 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) มาจากแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ เป้าหมายหลักของ MAP ได้แก่ การพัฒนาระบบคมนาคม การพัฒนาชนบท การปรับปรุงระบบสาธารณสุข และการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ [การทูต] | Nuclear Test Ban | หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต] |
| - No. | - ฉบับที่ The Little Rascals Save the Day (2014) | This isn't an official Forensic Services report. | นี่มันไม่ใช่รายงานฉบับจริง Basic Instinct (1992) | He sent another one. | "แกมีทุกอย่าง แต่ฉันไม่มี" ส่งมาอีกฉบับแล้ว The Bodyguard (1992) | What do you mean "another one"? | แปลว่าอะไรอีกฉบับ The Bodyguard (1992) | The Nuke Masters special edition! | นุ๊ค มาสเตอร์ ฉบับพิเศษ The Lawnmower Man (1992) | No. The taxi was a Toyota Corolla. | ฉบับที่แท็กซี่ได้ โตโยต้า Corolla In the Name of the Father (1993) | - No. Stop it. | - ฉบับที่หยุดมัน In the Name of the Father (1993) | Mrs Peirce, I am trying to read this document. | นาง Peirce, ฉันพยายาม เพื่ออ่านเอกสารฉบับนี้ In the Name of the Father (1993) | I try write different letter telling them, "So sad, too late. | - ป้าพยายามเขียนจดหมายอีกฉบับ... บอกพวกเขาว่า "ช่างน่าเศร้า สายเกินไปแล้ว แม่เสียแล้ว ตายแล้ว" The Joy Luck Club (1993) | I can't tell them that. Auntie Lindo, you have to write another letter! | - ป้าลินโด ป้าต้องเขียนจดหมายอีกฉบับนะคะ The Joy Luck Club (1993) | Are we in Inglewood? | เราอยู่ใน lnglewood? ฉบับที่ Pulp Fiction (1994) | So, Andy started writing a letter a week, just like he said. | RED: ดังนั้นแอนดี้เริ่มเขียนจดหมายฉบับหนึ่งสัปดาห์ เช่นเดียวกับที่เขากล่าวว่า The Shawshank Redemption (1994) | From now on, I'll write two letters a week, instead of one. | จากนี้ไปฉันจะเขียนจดหมายสองฉบับต่อสัปดาห์แทนหนึ่ง The Shawshank Redemption (1994) | He wrote two letters a week instead of one. | เขาเขียนจดหมายสองฉบับสัปดาห์แทนหนึ่ง The Shawshank Redemption (1994) | I will be hoping that this letter finds you and finds you well. | ผมจะหวังว่าจดหมายฉบับนี้หาคุณ และพบว่าคุณดี The Shawshank Redemption (1994) | Cane mailed him several chapters... of his new book, oh, not two weeks ago. | เคนส่งต้นฉบับมาให้เขา มันเป็นตอนต่างๆ ของหนังสือเล่มใหม่ ราวสองอาทิตย์ก่อน In the Mouth of Madness (1994) | You take the manuscript back to the world for me... that's what you do. | เอาต้นฉบับกลับไปยังโลกแทนฉันด้วย นั่นแหละสิ่งที่แกต้องทำ In the Mouth of Madness (1994) | And that's why I had to destroy the last manuscript. | นั่นคือเหตุผลที่ผมทำลายต้นฉบับทิ้งซะ In the Mouth of Madness (1994) | You delivered that manuscript to me months ago. | คุณนำต้นฉบับนั่นมาส่งให้ผมเมื่อเดือนก่อน In the Mouth of Madness (1994) | That's what's so wonderful about you in that... bestial sort of way. | เธอถึงวิเศษสุดในแบบฉบับ สัตว์ร้ายในป่า Heat (1995) | The interpreter is Hynkel's personal translator, reading from a prepared manuscript. | ล่าม เป็นล่ามส่วนตัวของ เฮนเคิล ได้อ่านจากต้นฉบับดั่งเดิม The Great Dictator (1940) | - Keep your hands up. | ให้มือของคุณขึ้น ตามแบบฉบับ ฉันจะได้รับมันออก Help! (1965) | No. The next of kin, think of them. | ฉบับต่อไปของญาติ, คิดว่าพวก เขา How I Won the War (1967) | Go on. No. Those days are over. | ฉบับวันนั้นมีมากกว่า How I Won the War (1967) | - You could pass for the originals. | คุณสามารถผ่านสำหรับต้นฉบับ Yellow Submarine (1968) | - We are the originals. | เราคือต้นฉบับ Yellow Submarine (1968) | Just one more bill for you to sign, sir. | มีอีกหนึ่งฉบับครับ Blazing Saddles (1974) | Today they even put one in the dog's mouth. | เขาทิ้งไว้ 1 ฉบับในปากหมาด้วย Oh, God! (1977) | That English clergyman sent a number of telegrams yesterday. | นักบวชอังกฤษคนนั้นส่ง โทรเลขหลายฉบับเมื่อบ่ายวานนี้ Gandhi (1982) | I understand one of them even went to the viceroy. | ได้ยินว่าฉบับหนึ่ง ส่งถึงท่านไวซ์รอยด้วย Gandhi (1982) | This letter made it plain how much Grandma loved her grandson Krcun. | จดหมายฉบับนี้ทำให้เป็นเรื่องธรรมดา คุณยายรักหลานชาย Krcun มากแค่ไหน Idemo dalje (1982) | We hope you enjoy Return of Condor Heroes '06 as much as we did. _ | We hope you enjoy Return of Condor Heroes '06 as much as we did. _ อ้างอิงชื่อตัวละครจากหนังสือฉบับปรับปรุงล่าสุด Return of the Condor Heroes (1983) | He knows more about the original than anyone. | ดังนั้นเขาจึงรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ต้นฉบับ กว่าใคร 2010: The Year We Make Contact (1984) | -You see any lights? No, no lights. | คุณเห็นไฟใด ๆ ฉบับที่ไม่มีไฟ 2010: The Year We Make Contact (1984) | Well... this is a piece of an old manuscript. | ดี ... นี้เป็นชิ้นส่วนของต้นฉบับเก่า Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | And they got the negative for all your favorite movies. | และยังมีฟิลม์ต้นฉบับของหนังที่คุณชอบ Day of the Dead (1985) | You know, Mr. Richards told me to keep an eye on you, but I think I'm gonna handle things my own way. | คุณริชาร์ดบอกฉันแล้วว่าให้คอยจับตาดูนายไว้ แต่... ฉันว่าฉันจะจัดการนายตามแบบฉบับของฉัน ให้สะใจดีกว่า.. Mannequin (1987) | You write four copies of a letter. | ท่านเขียนจดหมาย 4 ฉบับ The Princess Bride (1987) | After the last letter he fell off the cliff | หลังจากจดหมายฉบับสุดท้าย เขาตกลงจากหน้าผา 1999 - Nen no natsu yasumi (1988) | I don't think you'll read this letter | ผมไม่คิดว่าพวกเขาจะอ่านจดหมายฉบับนี้ 1999 - Nen no natsu yasumi (1988) | It's my last letter | มันคือจดหมายฉบับสุดท้ายของผม 1999 - Nen no natsu yasumi (1988) | And if, by any chance, you read this letter can you somehow forgive me? | แล้วถ้าด้วยการแลกเปลี่ยน นายอ่านจดหมายฉบับนี้ นายจะให้อภัยผมมั้ย? 1999 - Nen no natsu yasumi (1988) | - Get back to the locker room. | ทํารายงานขี้นมาฉบับ -เขียนให้ดูเป็นไปได้หน่อย Big (1988) | $10 deposit for the sheets. | กรอกข้อความ 3ฉบับ Big (1988) | - Have a pleasant stay. | คนต่อไปค่ะ กรอกข้อความ 3 ฉบับ Big (1988) | - Billy. Yeah? | ฉันไม่ได้จดหมายซักฉบับ เอกสารก็ไม่ได้จดเข้าแฟ้ม Big (1988) | In the April 1962 issue of Jet Magazine, there's a story called "This is Not A Kite." | นิตยสารเจ็ตฉบับ เดือนเมษายน ปี 1962 มีเรื่องของเขา "นี่ไม่ใช่กระบอกเสียง" Field of Dreams (1989) | "Egyptian Mail," morning edition. | "จดหมายชาวอียิปต์," ฉบับเช้า. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | I have an important manuscript for him. It is for Mr Blair. Only for Mr Blair. | ผมมีต้นฉบับที่สำคัญสำหรับเขา มันเป็นเพราะนายแบลร์ เพียง แต่นายแบลร์ The Russia House (1990) | You can't think of any reason why a book editor called Katya Orlova should risk her neck to send you a manuscript? | คุณไม่สามารถคิดว่าเหตุผลที่ว่าทำไมการแก้ไขหนังสือที่เรียกว่าคัทย่า Orlova ใด ๆ ควรจะเสี่ยงคอของเธอที่จะส่งต้นฉบับหรือไม่ The Russia House (1990) |
| แบบฉบับ | [baēpchabap] (n) EN: model ; pattern ; example ; archetype ; ideal ; paradigm ; standard ; prototype ; paragon FR: modèle [ m ] ; standard [ m ] | ฉบับ | [chabap] (n) EN: model ; edition ; issue ; version ; copy ; transcript ; duplicate FR: modèle [ m ] ; exemplaire [ m ] ; copie [ f ] ; édition [ f ] ; numéro [ m ] ; version [ f ] ; volume [ m ] | ฉบับ | [chabap] (n) EN: [ classifier : newspapers ; letters ; manuscripts ; documents ; periodicals ] FR: [ classificateur : journaux ; lettres ; documents manuscrits ] | ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ฉบับคู่มือ | [chabap khūmeū] (n, exp) EN: handy edition | ฉบับกระเป๋า | [chabap krapao] (n, exp) EN: pocket edition ; pocket book FR: édition de poche [ f ] ; livre de poche [ m ] | ฉบับพิมพ์ครั้งแรก | [chabap phim khrang raēk] (n, exp) EN: first edition FR: première édition [ f ] | ฉบับพิสดาร | [chabap phitsadān] (n, exp) EN: unabridged édition ; enlarged edition FR: édition complète [ f ] | ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ฉบับประจำกระเป๋า | [chabap prajam krapao] (n, exp) EN: pocket edition FR: édition de poche [ f ] | ฉบับประจำโต๊ะ | [chabap prajam to] (n, exp) EN: desk edition | ฉบับปรับปรุงแก้ไข | [chabap prapprung kaēkhai] (n, exp) EN: revised edition | ฉบับร่าง | [chabap rāng] (n, exp) EN: draft ; early version ; preliminary outline FR: ébauche [ f ] ; brouillon [ m ] | ฉบับร่าง | [chabap rāng] (adj) EN: draft ; draught | ฉบับรวมเล่ม | [chabap rūam lem] (n, exp) EN: collection ; anthology FR: collection [ f ] | ฉบับสรุปย่อ | [chabap sarup yø] (n, exp) EN: summary | ฉบับสมบูรณ์ | [chabap sombūn] (n, exp) FR: édition complète [ f ] | ฉบับที่ ... | [chabap thī ...] (x) EN: number ... ; issue ... (+ number) FR: numéro ... (+ nb) ; édition ... (+ nb) | ฉบับย่อ | [chabap yø] (n, exp) EN: abridged edition FR: édition abrégée [ f ] | คู่ฉบับ | [khūchabap] (v) EN: duplicate | นิตยสารฉบับที่ ... | [nittayasān chabap thī ...] (n, exp) FR: magazine numéro ... [ m ] ; revue numéro ... [ f ] ; périodique numéro ... [ m ] | ภาษาต้นฉบับ | [phāsā tonchabap] (n, exp) EN: source language | พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน | [Photjanānukrom Chabap Rātchabandittayasathān] (n, prop) EN: Royal Institute Dictionary (RID) FR: Dictionnaire de l'Institut Royal [ m ] | พจนานุกรมฉบับย่อ | [photjanānukrom chabap yø] (n, exp) EN: concise dictionary | ต้นฉบับ | [tonchabap] (n) EN: original ; manuscript ; master copy FR: original [ m ] ; manuscrit [ m ] ; script [ m ] (anglic.) ; copie conforme [ f ] | ต้นฉบับบัญชีราคาสินค้า | [tonchabap banchī rākhā sinkhā] (n, exp) EN: original invoice |
| data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cryptocurrency | (n) เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | blockchain | (n) บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | bitcoin | (n) บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | avatar | (n) อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | augmented reality (AR) | (n) ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber crime | (n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber bully | (n) การระรานทางไซเบอร์, การกลั่นแกล้ง การให้ร้าย การด่าว่า การข่มเหง หรือการรังแกผู้อื่นทางสื่อสังคมต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| abridgement | (n) ฉบับย่อ | abridgment | (n) ฉบับย่อ | arrange | (vt) ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) | arrange | (vi) ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) | arrangement | (n) การปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) | back number | (n) หนังสือพิมพ์/นิตยสารที่เคยตีพิมพแล้วแต่ยังมีค่าอยู่, See also: สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารฉบับที่ออกไปแล้ว, Syn. back issue | conventionalise | (vt) ทำให้เป็นธรรมเนียม, See also: ทำให้เป็นแบบฉบับ, Syn. conventionalize | conventionalize | (vt) ทำให้เป็นธรรมเนียม, See also: ทำให้เป็นแบบฉบับ, Syn. conventionalise | copy | (n) สำเนา, See also: ฉบับสำเนา, เล่มคัดลอก, Syn. duplicate, facsimile | copy-edit | (vt) แก้ไขต้นฉบับ, See also: ปรับปรุงต้นฉบับ, Syn. copyread, subedit | copyist | (n) ผู้ที่ทำงานคัดลอกจากต้นฉบับ | copyread | (vt) แก้ไขต้นฉบับ, See also: ปรับปรุงต้นฉบับ, Syn. copy-edit, subedit | cut | (n) ฉบับตัดต่อ (ภาพยนตร์) | draft | (n) เอกสารฉบับร่าง, See also: ฉบับร่าง, ร่างจดหมาย, แผนร่าง | file | (vt) ส่งต้นฉบับไปที่สำนักพิมพ์, See also: ส่งต้นฉบับไปที่สำนักข่าว | issue | (n) ฉบับ, See also: ชุด, จำนวน, Syn. edition, copy, number | library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย | lobby | (vi) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง, See also: วิ่งเต้น, Syn. solicit, beg | lobby | (vt) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง, See also: วิ่งเต้น | manuscript | (n) ต้นฉบับที่เขียนหรือพิมพ์, See also: ต้นสำเนา, Syn. copy, original | master | (n) ต้นฉบับ, Syn. original, file, copy | original | (adj) ซึ่งเป็นแบบฉบับ, See also: ซึ่งเป็นต้นฉบับ, ที่เป็นอันแรก, Syn. primary, first | original | (n) ต้นฉบับ, See also: ของเดิม, สิ่งต้นแบบ, ต้นแบบ, Syn. prototype, master | pattern | (n) แบบแผน, See also: รูปแบบ, ธรรมเนียม, รูปแบบ, แบบพิมพ์, แบบฉบับ, Syn. practice | quadruplicate | (n) หนึ่งในสำเนาสี่ฉบับ, See also: เอกสารที่ถ่ายเอกสารเหมือนกัน 4 ชิ้น | quadruplicate | (vt) ทำให้เป็นสำเนาสี่ฉบับ | quintuplicate | (n) สำเนา 5 ฉบับ, See also: สำเนาที่เหมือนกัน 5 ฉบับ | quintuplicate | (vt) ทำสำเนา 5 ฉบับ, See also: ผลิตให้เป็น 5 ชิ้น | recension | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: ฉบับปรับปรุงขึ้นใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม, Syn. revision, reprint, new version, emendation | replica | (n) สำเนา, See also: สิ่งที่คัดลอกมา, ฉบับคัดลอก, Syn. copy, duplicate | rewrite | (n) เรื่องราวที่เขียนใหม่, See also: ฉบับปรับปรุงแก้ไข, Syn. reivision | rough | (n) ต้นร่าง, See also: ฉบับร่าง, Syn. draft, outline | scrivener | (n) ผู้จดต้นฉบับ, See also: อาลักษณ์ | Septuagint | (n) พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับเก่า, See also: แปลเป็นภาษากรีกในช่วงศตวรรษที่ 2 และ 3 ก่อนคริสตกาล | text | (n) ต้นฉบับ, See also: ต้นฉบับเดิม, ถ้อยคำเดิม | textual | (n) เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, See also: ที่เกี่ยวกับข้อความ, Syn. verbal, scriptural | tome | (n) เล่มหรือฉบับ | triplicate | (vt) ทำสำเนาสามฉบับ | typically | (adv) อย่างเป็นแบบฉบับ, Syn. essentially, regularly | version | (n) ฉบับ, See also: ชุด, เวอร์ชั่น, Syn. issue | versional | (adj) เกี่ยวกับฉบับหรือชุด, See also: เกี่ยวกับเรื่องราว |
| adaptation | (แอดแดพเท' เชิน) n. การปรับตัว, การปรับให้เหมาะ, สิ่งที่ได้จากการปรับให้เหมาะ, ภาวะที่เหมาะสม, ฉบับแก้ไขปรับปรุง, สิ่งที่แก้ไขปรับปรุง, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, การปรับตัวของรูม่านตา, Syn. version, adjustment, Ant. rigid | autograph | (ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) , สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง, ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน, เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n. | bipartite | (ไบพาร์'ไททฺ) adj. ประกอบด้วย หรือแบ่งออกเป็นสองส่วน, แบบเดียวกัน 2 ฉบับ | bulldog edition | n. หนังสือพิมพ์ฉบับตอนเช้า | canonise | (แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz | canonize | (แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz | classical | (แคลส'ซิเคิล) adj. เกี่ยวกับแบบกรีกและโรมันโบราณ, ชั้นหนึ่ง, ดีเด่น, เป็นแนวหน้า, เกี่ยวกับวรรณคดีสมัยคลาสซิค, ชื่อเสียงโด่งดัง, เป็นมรดกตกทอดแต่โบราณ, เป็นแบบฉบับที่เชื่อถือได้, See also: classicality, classicalness n. -Conf. classic | con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น | copy | (คอพ'พี) n. สำเนา, ฉบับสำเนา, 1เล่ม, 1ฉบับ, 1ชุด, เล่มตัวอย่าง vt., vi. คัดลอก, ลอกแบบ, เลียนแบบ, เอาอย่าง, อัดสำเนา, Syn. reproduce, imitate, Ant. prototype -Conf. facsimile | copyhold | (คอพ'พีโฮลดฺ) n. กรรมสิทธิ์ที่ดินโดยมีหนังสือกรรมสิทธิ์ที่คัดลอกจากต้นฉบับของศาลที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อื่น, กรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก | copyholder | (คอพ'พีโฮลเดอะ) n. ผู้มีกรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก, เครื่องยึดหนังสือ ผู้ช่วยคนตรวจปรุ๊ฟ | copywriter | (คอพ'พีไรเทอะ) n. คนเขียนต้นฉบับ | derivative | (ดีริฟ'วะทิฟว) adj., n. (สิ่งที่, คำ) ซึ่งได้มาจากที่อื่น, เป็นอนุพันธุ์, ซึ่งแตกกิ่งสาขามา, ไม่ใช่ต้นฉบับ, อนุพันธุ์, Syn. derived | desktop publishing | การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน | draft | (ดราฟทฺ) { drafted, drafting, drafts } n. ต้นร่าง, ฉบับร่าง, การร่าง, การวาด, การสเก็ตช์ภาพ, กระแสลมในห้องหรือช่องว่าง, เครื่องเป่าลม, เครื่องควบคุมกระแสลม, การเกณฑ์ทหาร, การลากหรือดึงของ, สิ่งที่ถูกลากหรือดึง, สัตว์ที่ใช้ลากของ, แรงลากหรือแรงดึง, ตั๋วแลกเงิน, การเอาออก, กา | draught | (ดราฟทฺ) n. การลาก, การดึง, การถอน, การดื่ม, การสูบ, การสูด, ปริมาณของเหลวที่ดื่มหนึ่งครั้ง, ปริมาณยาที่ใช้ต่อครั้ง, จำนวนปลาที่จับได้, กระแสลม, หมากรุกยุโรป (ส่วน'checkers'เป็นหมากรุกอเมริกา) , ต้นร่าง, ฉบับร่าง, ตั๋วแลกเงิน, การเกณฑ์ทหาร. vt. ร่าง, ยกร่าง, ออกแบบ, เกณฑ์ท | dtp | (ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน | duplicate | (ดิว'พละเคท) n. จำลอง, สำเนา, ฉบับเทียบ, โรเนียวฉบับคู่, ฉบับก๊อบปี้, สิ่งที่เหมือนกันทุกอย่าง. -Phr. ((n duplicate เป็นสำเนา 2 ใบ, เป็นคู่, เป็นครั้งละ2ฉบับ) . vi. ทำสำเนา, ถ่ายสำเนา, โรเนียว, อัดสำเนา, จำลอง, ทำซ้ำ. -adj. คู่, สองเท่า, เหมือนกันทุกอย่าง. คำศัพท์ย่ | edition | (อิดิช, 'เชิน) n. ฉบับพิมพ์, ฉบับพิมพ์ครั้งที่, การพิมพ์, สิ่งที่คล้ายกันมาก, คนที่คล้ายกันมาก, การเป็นบรรณาธิการ | exponent | (อิคซฺโพ'เนินทฺ) n. ผู้อธิบาย, ผู้ชี้แจง, สิ่งที่อธิบาย, ตัวแทน, แบบฉบับ, สัญลักษณ์, ผู้สนับสนุน, เลขกำลังที่อยู่เหนือสัญลักษณ์, Syn. spokeswoman | gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา | hammurabi | (ฮามูรา'บี) n. ชื่อกษัตริย์องค์หนึ่งของบาบิโลเนีย เป็นผู้ตราประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก | hammurapi | (ฮามูรา'บี) n. ชื่อกษัตริย์องค์หนึ่งของบาบิโลเนีย เป็นผู้ตราประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก | handwriting | (แฮนฺด'ไรทิง) n. ลายมือ, สิ่งที่เขียนด้วยมือ, ต้นฉบับที่เขียนด้วยมือ | issue | (อิช'ชิว) n. การปล่อยออกมา, การออกคำสั่ง, การตีพิมพ์ออกมา, สิ่งที่ปล่อยออก, สิ่งตีพิมพ์, จำนวนหรือปริมาณที่ปล่อยออกมาแต่ละครั้ง, ฉบับ, ชุด, คราว, ปัญหา, ผลที่เกิดขึ้น, บุตร, ทายาท, ทางออก, ผลผลิต, ผลกำไร. -Phr. (at issue ที่กำลังเป็นปัญหา ที่กำลังถกเถียงกัน) vt., vi. ไหล | lobby | (ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb | magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ | mail-merge | การผสานจ่าหน้า (จดหมาย) หมายถึง กระบวนการในการนำชื่อและที่อยู่ของผู้รับซึ่งเก็บรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลไว้ มาผนวกกับจดหมายที่ทำเป็นต้นแบบ จดหมายแต่ละฉบับที่สั่งพิมพ์ออกมา ก็จะมีชื่อผู้รับแต่ละคน จากรายชื่อที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลรายชื่อนั้น ใช้ในการทำจดหมายเวียน โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) เกือบทุกโปรแกรมจะต้องมีคำสั่งให้ทำงานประเภทนี้ได้ | manuscript | (แมน'นิวสคริพทฺ) n., adj. ต้นฉบับ, หนังสือเอกสาร จดหมายหรืออื่น ๆ ที่เขียนด้วยมือ, การเขียนด้วยมือ, ซึ่งเขียนด้วยมือ | object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ | object program | โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ | old testament | n. พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับเก่าหรือเล่มต้นของคริสต์ศาสนา | original | (อะริจ'จิเนิล) adj., n. แรกเริ่ม, ต้นตอ, ต้นฉบับ, เดิม, ซึ่งมีมาแต่เดิม, เป็นราก, เป็นฐาน, ใหม่, สด, เป็นครั้งแรก, เป็นของแท้ , มูลเหตุ, รากฐาน | pocket book | n. หนังสือฉบับกระเป๋า | progenitor | (โพรเจน'นิเทอะ) n. บรรพบุรุษ, ต้นตระกูล, ปฐมาจารย์, รากเง่า, ต้นฉบับ, Syn. forefather | quadruplicate | (โควดรู'พละคิท) n., v. (ทำ) สำเนา4 ฉบับ, 4คน (อัน, ชิ้น...) , คุณด้วย4, See also: quadruplication n., Syn. make fourfold | recension | (รีเซน'เชิน) n. ฉบับปรับปรุงใหม่, การปรับปรุงใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม | revised edition | n. ฉบับแก้ไขปรับปรุง | revision | (รีวิส'เชิน) n. การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงแก้ไข, กระบวนการปรับปรุงแก้ไข, การชำระใหม่, See also: revisional, adj. revisionary adj., Syn. redaction, updating | revision history | ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมหมายถึง ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมแต่ละรุ่นตามลำดับ เช่น ประวัติการปรับปรุงโปรแกรม Adobe Illustrator จากฉบับ 1.0 ถึงฉบับ 3.2 ว่า ฉบับใดปรับปรุงในเรื่องใดบ้าง อย่างนี้เป็นต้น | revisory | (รีไว'ซะรี) adj. เกี่ยวกับ (การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงแก้ไข, กระบวนการปรับปรุงแก้ไข, การชำระใหม่) | scoop | (สโคพ) n. ทัพพี, กระบวย, กระชอน, ถังตัก, พลั่วตัก, ปริมาณดังกล่าว, โพรง, การตักด้วยทัพพี (กระบวย...) , การฉวยโอกาส, การแทง, ข่าวตีพิมพ์ที่ออกก่อนฉบับอื่น, ทำให้เป็นโพรง, ตีพิมพ์ข่าวก่อน vi. ใช้ทัพพ' (กระบวย) ตัก, Syn. trowel, shovel, ladle, spoon | script | (สคริพทฺ) n. ลายมือ, แบบตัวเขียน, เอกสารต้นฉบับ, ฉบับเขียน, ต้นร่าง, ระบบการเขียน, vt. เขียนต้นร่าง, เขียน, ร่าง., See also: scripter n., Syn. handwriting | soul | (โซล) n. วิญญาณ, จิตวิญญาณ, พลังจิต, มนุษย์, บุคคล, ส่วนที่สำคัญ, แก่นสาร, แบบฉบับ, Soul พระผู้เป็นเจ้า. adj. เกี่ยวกับนิโกร, เป็นลักษณะของนิโกร, คุ้นเคยกับนิโกร, เห็นอกเห็นใจนิโกร, Syn. spirit, basis, essence, person | source code | รหัสต้นฉบับรหัสต้นทางหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวต้นฉบับของโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นโปรแกรมที่เครื่องแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) เรียบร้อยแล้ว | target language | ภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ | tenor | (เทน'เนอะ) n. แนวโน้ม, วิถีทางชีวิต, เสียงร้องระดับสูงสุดของผู้ชาย ที่เป็นผู้ใหญ่, ฉบับคัดลอกที่ถูกต้อง. adj. เกี่ยวกับเสียงร้องดังกล่าว | text | (เทคซฺทฺ) n. ต้นฉบับเดิม, ข้อความเดิม, แม่บทเดิม, ใจความ, แบบฉบับการเขียน, เนื้อเพลง, ตำรา, แบบเรียน, หนังสือเรียน, ข้อความสั้น ๆ ในพระคัมภีร์ไบเบิล, อักษรในพระคัมภีร์ไบเบิล, หัวข้อสำคัญ, ตัวพิมพ์., Syn. textbook | textual | (เทคซฺ'ชวล) adj. เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, เกี่ยวกับใจความ, เกี่ยวกับข้อความในพระคัมภีร์ไบเบิล, Syn. literal | transcript | (แทรสซฺ'คริพทฺ) n. สำเนา, บันทึก, ฉบับคัดลอก, ฉบับสำเนา, จานเสียง, หนังสือรับรองผลการศึกษา, แผ่นโลหะบันทึกเสียง |
| autograph | (n) ลายเซ็น, ลายมือ, ต้นฉบับ | copy | (n) ฉบับคัดลอก, ต้นฉบับ, สำเนา, การลอกเลียนแบบ, การก๊อบปี้ | copywriter | (n) คนเขียนต้นฉบับ, คนคิดคำโฆษณา | counterpart | (n) สำเนา, ฉบับเทียบ, ของคู่กัน, สิ่งที่เสริมกัน, สิ่งที่คล้ายกัน | doublet | (n) เสื้อรัดรูปของชาย, ฉบับเทียบ, ฉบับจำลอง, สิ่งที่เป็นคู่ | draft | (n) ฉบับร่าง, การเกณฑ์ทหาร, การสเก็ตภาพ, ใบสั่งจ่ายเงินในต่างประเทศ | draught | (n) การลาก, การดึง, กระแสลม, ตั๋วแลกเงิน, ฉบับร่าง | duplicate | (adj) มีสำเนา, มีสองฉบับ, สองเท่า, ซ้ำ, เหมือนกัน | duplicate | (n) สำเนา, ฉบับคู่, ฉบับก๊อบปี้, ภาพจำลอง | edition | (n) การพิมพ์ครั้งหนึ่งๆ, ฉบับพิมพ์ครั้งที่, จำนวนพิมพ์ครั้งที่ | example | (n) ตัวอย่าง, แบบอย่าง, แบบฉบับ, อุทาหรณ์ | exponent | (n) ผู้ชี้แจง, ผู้อธิบาย, ตัวแทน, แบบอย่าง, แบบฉบับ, สัญลักษณ์ | extra | (n) สิ่งพิเศษ, สิ่งที่ใหญ่กว่าปกติ, สิ่งที่เพิ่มเติม, ฉบับพิเศษ | facsimile | (n) สำเนา, ฉบับก๊อบปี้ | issue | (n) การออกไป, ปัญหา, ผลลัพธ์, ผลประโยชน์, การส่งออกไป, รุ่น, ชุด, ฉบับ | manuscript | (n) ต้นฉบับ | norm | (n) มาตรฐาน, แบบฉบับ, แบบแผน, รูปแบบ, ค่าเฉลี่ย | original | (adj) ดั้งเดิม, แรกเริ่ม, เป็นราก, เป็นต้นฉบับ | pattern | (n) กระสวน, แบบฉบับ, แบบแผน, หุ่น, ลวดลาย, ตัวอย่าง, แบบเสื้อ | progenitor | (n) ต้นตระกูล, บรรพบุรุษ, ครู, ผู้เบิกทาง, ต้นฉบับ | revision | (n) การแก้ไขใหม่, การทบทวน, การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงใหม่ | script | (n) ตัวเขียน, ต้นฉบับ, ลายมือ, ต้นร่าง | soul | (n) จิตใจ, วิญญาณ, คน, บุคคล, แก่นสาร, แบบฉบับ | text | (n) หัวข้อ, ต้นฉบับ, ตัวหนังสือ, แบบเรียน, เนื้อหา, ใจความ | translation | (n) การแปล, การแปลง, ฉบับแปล, การถอดความ, การย้าย | typify | (vt) ทำเป็นแบบอย่าง, ทำเครื่องหมาย, ทำเป็นแบบฉบับ | volume | (n) หนังสือ, ฉบับ, ปริมาตร, เล่ม, ปริมาณ, ชุดแผ่นเสียง |
| counterpart | (n) คู่ฉบับ | Creative Common | (n) สัญญาอนุญาตให้ผู้อื่นนำสำเนาผลงานของผู้เขียน ผู้ประพันธ์ หรือผู้สร้างไปเผยแพร่ผลงานต่อ ซึ่งมีอยู่หลายแบบ โดยผู้สร้างสามารถเลือกได้ว่าจะให้อนุญาตแบบไหน ซึ่งได้แก่ "ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง" (Attribution) "ไม่ใช้เพื่อการค้า" (Noncommercial) "ไม่แก้ไขต้นฉบับ" (No Derivative Works) และ "ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน" (Share Alike), Syn. copyleft | cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง | interim | (adj) ฉบับกลาง (interim report = รายงานฉบับกลาง) | pantheism | (n) เทพนิยม (เทียบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หน้า 539) | Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ | phrase book | (n) หนังสือสอนภาษาฉบับย่อ | ปรัตถะ | (n) ประโยชน์เพื่อคนอื่น, ประโยชน์ผู้อื่น มาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า 152 |
| 原紙 | [げんし, genshi] (n) ต้นฉบับ พิมพ์เขียว | 草案 | [そうあん, souan] (n) เอกสารฉบับร่าง | 草案 | [そうあん, souan] (n) เอกสารฉบับร่าง | 文案 | [ぶんあん, bun'an] (n) ฉบับร่าง (ของบทความต่างๆ) | เรอกุโตะ | [ぶんあん] (n, vi, vt, modal, ver) เลิกกันในฉบับ ภาษา ประเทศ โอซาว่า, See also: S. เรกุโตะ | 巻 | [かん, kan] (n) เล่ม , ฉบับ เช่น ฉบับที่ 10 , เล่มที่ 10 | 原稿 | [げんこう, genkou] ต้นฉบับ | 投稿 | [とうこう, toukou] ส่ง(ต้นฉบับให้สำนักพิมพ์) , ปล่อย, ลง(ภาพ วิดิโอ หรือบทความ ลงอินเตอร์เน็ต) | 朝刊 | [ちょうかん, choukan] (adj) ฉบับเช้า |
| 部 | [ぶ, bu] TH: ฉบับ | 号 | [ごう, gou] TH: ฉบับที่ EN: issue |
| original | (adj) ที่เป็นต้นแบบ, ต้นฉบับ, ของแท้ เช่น Die originale Sacher Torte bekommt man nur bei dem Hotel Sacher. ขนมเค้ก Sacher ต้นตำรับหาทานได้ที่โรงแรม Sacher เท่านั้น, See also: authentisch, A. gefälscht, nachgemacht, Syn. echt | kriegen | (vt, jargon) |kriegte, hat gekriegt, etw.(A)| ได้รับ เช่น Sie hat einen Brief gekriegt. เธอได้รับจดหมายหนึ่งฉบับ, See also: erhalten, Syn. bekommen | Sonderausgabe | (n) |die, pl. Sonderausgaben| ฉบับพิมพ์พิเศษ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |