Move your mouse over the text to see pop-up windows.
Pronunciation
- We ( W IY1 ) need ( N IY1 D ) an ( AE1 N ) interpreter ( IH2 N T ER1 P R AH0 T ER0 ) .
We เรา: คนเรา, พวกเรา [Lex2] (วี) pron. เรา,พวกเรา,คนเรา,บุคคล, (เสียดสี) ท่าน [Hope] (pro) เรา,พวกเรา [Nontri] /W IY1/ [CMU] (pron) /wiː/ [OALD]
need ความต้องการ: ความจำเป็น, ความขาดแคลน [Lex2] จำเป็น: ต้องการ, ควรทำ [Lex2] ต้องการ: จำเป็นต้องมี [Lex2] (นีด) {needed,needing,needs} n. ความจำเป็น,ความต้องการ,สิ่งที่ต้องการ,สิ่งที่ขาดแคลน,ความคับขัน,ความขัดสน if need be ในกรณีจำเป็น vt.,vi. มีความจำเป็น,จำเป็น,ต้องการ,ประสงค์. ###SW. needer n. [Hope] (n) ความต้องการ,ความจำเป็น,ของจำเป็น,ความขัดสน [Nontri] (vt) ต้องการ,จำเป็น,ประสงค์,ขาด [Nontri] /N IY1 D/ [CMU] (v,vt,n) /niːd/ [OALD]
an หนึ่ง (คำนำหน้าคำนามที่ออกเสียงสระและระบุว่าคำนามนั้นเป็นคำนามที่ไม่ชี้เฉพาะ) [Lex2] ไม่: การปฏิเสธ, การเพิกถอน [Lex2] ต่อต้าน: คัดค้าน [Lex2] เกี่ยวกับ: เป็นของ [Lex2] ตรงที่, ที่ติดกับ เช่น an der Tür ตรงประตู [LongdoDE] |+D บ่งเวลา| ตอน, ช่วง เช่น Am Abend gehen wir zum Restaurant. ตอนเย็นเราไปร้านอาหารกันนะจ๊ะ (สังเกต am = an + นามเพศชายหรือเพศกลาง) [LongdoDE] |m| ปี เช่น 200 ans d'enseignement [LongdoFR] abbr. Anglo- Norman [Hope] /AE1 N/ [CMU] /AH0 N/ [CMU] (conj) /æn/ [OALD] (indef. article) /ən/ [OALD] [a ] หนึ่ง (คำนำหน้าคำนามเพื่อแสดงว่าคำนามนั้นๆ ไม่ชี้เฉพาะ) [Lex2] อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ[Lex2] ใช้เป็นคำเติมหน้าเพื่อเน้นความหมาย[Lex2] ของ[Lex2] บน[Lex2] จาก[Lex2] ไปยัง: ไปสู่ [Lex2] ออก[Lex2] ไม่ (ย่อมาจาก an-) : ปราศจาก, ใช้นำหน้าเสียงพยัญชนะ [Lex2] (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง,อันดับหนึ่ง,สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment,artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ [Hope] /AH0/ [CMU] /EY1/ [CMU] (n (count)) /'ɛɪ/ [OALD] (indef. article) /ə/ [OALD]
interpreter ล่าม: ผู้แปลความ [Lex2] ตัวแปลภาษาเป็นโปรแกรมตัวแปลที่อ่านคำสั่งในโปรแกรมทีละคำสั่ง (ไม่รอจนจบโปรแกรมเหมือนตัวแปลอื่น) แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้นเลย เช่น ตัวแปลที่ใช้แปลโปรแกรมภาษาเบสิก (BASIC) การเรียนวิธีเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ ผู้เรียนจะรู้สึกว่าง่ายและทันใจ เพราะพอใส่คำสั่งเข้าไป เครื่องก็จะรายงานได้ทันทีว่า คำสั่งนั้นถูกหรือผิด ถ้าสั่งให้ทำอะไร ก็จะทำให้เลย ข้อเสียของตัวแปลประเภทนี้ ก็คือ คอมพิวเตอร์จะไม่เก็บคำแปลไว้ หากจะต้องย้อนกลับไปทำคำสั่งนั้นอีก ก็จะต้องแปลใหม่อีกทุกครั้ง ดู compiler ประกอบ [Hope] (n) คนอธิบาย,นักเขียน,นักดนตรี,ตัวละคร,ผู้แปล,ล่าม [Nontri] /IH2 N T ER1 P R AH0 T ER0/ [CMU] (n (count)) /'ɪnt'ɜːʳprɪtər/ [OALD]