ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ไม่มีสี, -ไม่มีสี- |
คลอโรฟอร์ม | (คฺลอ-) น. ของเหลวไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นหอมหวาน มีสูตร CHCl3 ใช้เป็นยาสลบและตัวทำละลาย. | คาร์บอนไดออกไซด์ | น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทำนํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทำความเย็น. | คาร์บอนมอนอกไซด์ | (-มอน็อก-) น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีนํ้าเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏในแก๊สจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ใช้เตรียมเมทิลแอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรม. | ซินนามิก | น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C6H5CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒ ºซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓ ºซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม. | น้ำ | น. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยนํ้าหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส มีประโยชน์มาก เช่นใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก, โบราณถือว่าเป็น ธาตุ ๑ ในธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นนํ้าหรือเหลวเหมือนนํ้า เช่น นํ้าตา นํ้าปลา นํ้าส้ม | ไนโตรเจน | น. ธาตุลำดับที่ ๗ สัญลักษณ์ N เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี มีปรากฏอยู่ประมาณร้อยละ ๘๐ ในบรรยากาศ ธาตุนี้มีความสำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต โดยเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนและกรดนิวคลิอิก. | ปลาแดง | น. ชื่อปลานํ้าจืดไม่มีเกล็ด พวกปลาเนื้ออ่อน ชนิด Phalacronotus bleekeri (Günther)หรือ Micronema bleekeri (Günther) ปากเชิดขึ้น มีหนวด ๒ คู่ หนวดที่ขากรรไกรบนยาวไม่ถึงขอบแผ่นปิดเหงือก หนวดที่ขากรรไกรล่างสั้นมากคล้ายปลาน้ำเงิน แต่มีกลุ่มฟันที่กระดูกฐานจมูกเรียงเป็นแถบมีมุมแหลมคล้ายหัวลูกศร ลำตัวมีสีเงินอมแดงหรือชมพู ไม่มีครีบหลัง ครีบก้นใสไม่มีสี อาศัยอยู่ตามแม่น้ำลำคลองหรือแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่ที่มีความเป็นธรรมชาติ กินสัตว์อื่น, เนื้ออ่อน นาง ชะโอน หรือ เกด ก็เรียก. | ม่ง ๑ | น. ชื่อหนึ่งของปลาทะเลในกลุ่มปลาหางแข็ง หางกิ่ว หรือสีกุน โดยเฉพาะที่มีขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ ในวงศ์ Carangidae มีลำตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย หน้าครีบก้นมีหนามแข็ง ๒ อันพับลงในร่องได้ คอดหางแคบ เกล็ดบนเส้นข้างตัวใหญ่เป็นเหลี่ยมแข็งโดยเฉพาะที่บริเวณคอดหาง ไม่มีสีฉูดฉาด อยู่รวมกันเป็นฝูง เช่น ชนิด Caranx sexfasciatus Quoy & Gaimard, C. melampygus Cuvier, C. ignobilis (Forsska&npsp;ํl), Carangoides gymnostethus (Cuvier), C. fulvoguttatus (Forsska&npsp;ํl) และ Alectis ciliaris (Bloch) ปลาเหล่านี้บางชนิดอาจมีขนาดยาวได้ถึง ๑.๔ เมตร, กะมง กะม่ง หรือ ม่ง ก็เรียก. | มีเทน | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไวไฟ มีสูตร CH4 มีปรากฏในที่ซึ่งมีสารอินทรีย์ผุพังเน่าเปื่อย ในบ่อถ่านหิน ในแก๊สธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง และใช้ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์โปรตีนเป็นต้น. | เมทิลแอลกอฮอล์ | น. แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง มีสูตร CH3OH ลักษณะเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีจุดเดือด ๖๔.๖ °ซ. จุดไฟติด เป็นพิษ เมื่อดื่มเข้าไปจะทำให้ตาบอดได้ ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำละลาย เชื้อเพลิง และใช้สังเคราะห์สารเคมีบางอย่าง เช่น ฟอร์มาลดีไฮด์, เมทานอล ก็เรียก. | ยูริก | น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C5H4N4O3 ลักษณะเป็นของแข็ง ไม่มีสี ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีปรากฏอยู่เป็นจำนวนน้อยในปัสสาวะและในโลหิต ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเกาต์ คือมีอาการบวมปวดบริเวณข้อกระดูก จะปรากฏมีเกลือโซเดียมและโพแทสเซียมของกรดนี้เกาะอยู่ที่ข้อกระดูกนั้น ๆ เรียกว่า กรดยูริก. | หน้าซีด | ว. มีสีหน้าไม่สดใสหรือไม่มีสีเลือดเพราะอดนอน ตกใจ หรือถูกจับได้ว่าทำผิดเป็นต้น. | หน้าเผือด, หน้าเผือดสี | น. หน้าไม่มีสีเลือด. | ออกซิเจน | น. ธาตุลำดับที่ ๘ สัญลักษณ์ O เป็นแก๊ส มีปนอยู่ในอากาศประมาณร้อยละ ๒๐ โดยปริมาตร ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่ติดไฟ แต่ช่วยให้ไฟติด มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการหายใจและการเผาไหม้เป็นต้น ใช้จุดกับแก๊สอะเซทิลีนเพื่อเชื่อมหรือตัดโลหะ ในทางแพทย์ใช้ช่วยการหายใจของคนไข้. | อะเซทิลีน | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C2H2 ลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี เป็นพิษ จุดไฟติด ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่นนำไปจุดกับแก๊สออกซิเจนได้เปลวไฟออกซิอะเซทิลีนซึ่งร้อนจัดจนใช้เชื่อมและตัดโลหะได้ ใช้เป็นสารตั้งต้นเพื่อสังเคราะห์สารอื่นได้มากมาย. | อีเทอร์ | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่ง มีสูตรทั่วไปเป็น R–O–R โดยทั่วไปมักหมายถึง ไดเอทิลอีเทอร์ ซึ่งมีสูตร C2H5–O–C2H5 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี มีจุดเดือด ๓๔.๖ ํซ. ไวไฟมาก ใช้ประโยชน์เป็นยาดมสลบ เป็นตัวทำละลาย และใช้นำไปเตรียมสารเคมีอื่น. | เอทิลแอลกอฮอล์ | น. แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C2H5OH ลักษณะเป็นของเหลว ใสไม่มีสี มีจุดเดือด ๗๘.๕ ํซ. จุดไฟติด ดื่มเข้าไปทำให้เกิดอาการมึนเมา เป็นองค์ประกอบสำคัญของสุราเมรัยทุกประเภท ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำละลาย เป็นเชื้อเพลิงและใช้สังเคราะห์สารเคมีอื่นได้มากมาย. | แอมโมเนีย | น. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร NH3 ลักษณะเป็นแก๊สไม่มีสี กลิ่นฉุน ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทำปุ๋ย กรดไนตริก ใยสังเคราะห์ เป็นตัวทำความเย็น. | ไฮโดรเจน | (-โดฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๑ สัญลักษณ์ H เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไวไฟมาก เบาที่สุดในบรรดาแก๊สทั้งสิ้น ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์แก๊สแอมโมเนีย เมทิลแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมทำให้นํ้ามันพืชแข็งตัว. | ไฮโดรเจนซัลไฟด์ | (-โดฺร-) น. แก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า เป็นแก๊สพิษ ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและกำมะถัน มีสูตร H2S เกิดขึ้นในธรรมชาติเนื่องจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกำมะถัน, แก๊สไข่เน่า ก็เรียก. | ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ | (-โดฺร-) น. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร H2O2 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค และตัวฟอกจาง. |
| achromatic | ไม่ติดสี, -ย้อมไม่ติด, ไม่มีสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
|
| Ammonia | ก๊าซไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก ละลายน้ำได้สารละลายมีฤทธิ์เป็นด่าง ใช้เป็นสารรักษาสภาพของน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] | Colorless | ไม่มีสี [การแพทย์] | nicotine | นิโคติน, สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C10H14N2 ไม่มีสี เป็นสารมีพิษละลายได้ในน้ำ มีอยู่ในใบยาสูบ ใช้เป็นยาฆ่าแมลง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pyridoxine | ไพริดอกซิน, วิตามินบี 6, วิตามิน B6 สูตรเคมีคือ C8H11NO3 เป็นผลึกรูปเข็มไม่มีสี ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เกิดการบวม คันผิวหนัง ผมร่วง ปวดตามมือตามเท้า ประสาทเสื่อม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | leucocyte [ white blood cell ] | เซลล์เม็ดเลือดขาว, เม็ดเลือดที่ไม่มีสี ค่อนข้างใส รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 - 25 ไมครอน มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ เม็ดเลือดขาวมีหลายชนิด ทำหน้าที่ต่อต้านและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าไปในร่างกาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | propionic acid | กรดโพรพิออนิก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CH3CH2COOH เป็นของเหลวไม่มีสี เกลือแคลเซียมหรือเกลือโซเดียมของกรดนี้ใช้เป็นสารกันบูด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | glycerol | กลีเซอรอล, สารประกอบอินทรีย์พวกแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C3H8O3 เป็นของเหลวข้น ไม่มีสี มีจุดเดือด 290oC ละลายน้ำได้ เป็นองค์ประกอบสำคัญของไขมันหรือน้ำมัน เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลีเซอริน ใช้ในอุตสาหกรรมทำยา เครื่องสำอาง สบู่ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | silica | ซิลิกา, สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ SiO2 จุดหลอมเหลว 1, 700°C จุดเดือด 2, 230°C เป็นของแข็งไม่มีสี ในธรรมชาติอยู่ในรูปของทราย ควอตซ์ และหินบางชนิด ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว เครื่องดินเผา และทำผงขัด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | neon | นีออน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 10 สัญลักษณ์คือ Ne เป็นแก๊สเฉื่อย ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น จุดหลอมเหลว -248.6°C จุดเดือด -246.0°C พบในบรรยากาศประมาณร้อยละ 0.19 โดยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nitrogen | ไนโตรเจน, ธาตุในหมู่ V ของตาราง ธาตุ เลขอะตอม 7 สัญลักษณ์ N เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีในอากาศประมาณร้อยละ 78.03 โดยปริมาตร จุดหลอมเหลว -209.9°C จุดเดือด -195.67°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pentyl alcohol [ amyl alcohol ] | เพนทิลแอลกอฮอล์, แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CH3(CH2)3CH2OH ไม่มีสี เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า amyl alcohol [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | freon | ฟรีออน, สารประกอบอินทรีย์พวกคลอโรฟลูออโรคาร์บอนสลายตัวยาก ไม่มีสี และไม่ติดไฟ ทำให้เป็นของเหลวหรือเป็นไอได้ง่าย ใช้เป็นสารทำให้เกิดความเย็นในเครื่องทำความเย็นหรือทำให้เกิดแรงดันในกระป๋องสเปรย์ต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | phenolphthalein | ฟีนอล์ฟทาลีน, สารเคมีชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C20H14O4 ผลึกสีขาว ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ใช้เป็นอินดิเคเตอร์ ฟีนอล์ฟทาลีนในสารละลายที่มี pH ต่ำกว่า 8.3 จะไม่มีสีและในสารละลายที่มี pH สูงกว่า 10.4 จะมีสีชมพูแก่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | morphine | มอร์ฟิน, สารแอลคาลอยด์ที่ได้จากฝิ่น สูตรเคมีคือ C17H19NO3 เป็นผลึกไม่มีสี จุดหลอมเหลว 254oC มีสมบัติช่วยระงับความเจ็บปวด ทำให้นอนหลับ และเป็นยาเสพติด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | methane | มีเทน, สารประกอบไฮโดรคาร์บอนพวกแอลเคน สูตรเคมีคือ CH4 เป็นแก๊สไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก๊สธรรมชาติ แก๊สมีเทนอาจได้จากการหมักมูลสัตว์และนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงราคาถูก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | methanol [ methyl alcohol ] | เมทานอล, แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CH3OH จุดเดือด 64.6°C ไม่มีสี ละลายได้ในน้ำและตัวทำละลายบางชนิด แอลกอฮอล์ชนิดนี้เป็นพิษต่อร่างกาย ถ้าดื่มเข้าไปอาจทำให้ตาบอดหรือเสียชีวิตได้ ใช้เป็นเชื้อเพลิงและตัวทำละลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | methyl bromide | เมทิลโบรไมด์, สารเคมีชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CH3Br เป็นแก๊สไม่มีสีหนักกว่าอากาศ ใช้เป็นยาพ่นฆ่าแมลง และใช้สังเคราะห์สารอินทรีย์อื่น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | oxygen | ออกซิเจน, ธาตุในหมู่ VI ของตารางธาตุ เลขอะตอม 8 สัญลักษณ์ 0 เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ช่วยในการเผาไหม้ จุดหลอมเหลว -218.9°C จุดเดือด -183°C มีในอากาศประมาณร้อยละ 21 โดยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | acetylene [ ethyne ] | อะเซทิลีน, แก๊สชนิดหนึ่งติดไฟง่ายไม่มีสี ไม่มีกลิ่น สูตรเคมีคือ C2H2 เตรียมได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคาร์ไบด์กับน้ำ หรือได้จากการแตกสลายโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่โดยอาร์กไฟฟ้าใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น จุดตะเกียงให้แสงสว่าง เชื่อโลหะ บ่มผลไม้ เป็นสารตั้ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | argon | อาร์กอน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 18 สัญลักษณ์ Ar เป็นแก๊สเฉื่อยไม่มีสีและกลิ่น มีปนอยู่ในอากาศร้อยละ 0.94 จุดหลอมเหลว -189.2oC จุดเดือด -185.7oC [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ether | อีเทอร์, สารอินทรีย์ซึ่งมีสูตรโครงสร้างทั่วไป คือ R - O - R´ เช่น ไดเอทิลอีเธอร์(C2H5 - O - C2H5) เป็นของเหลวไม่มีสี ใช้เป็นยาสลบและตัวทำละลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ethanol [ ethyl alcohol ] | เอทานอล, แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C2H5OH เป็นของเหลวไม่มีสี มีจุดหลอมเหลว -144oC จุดเดือด 78.4oC ละลายได้ในน้ำและตัวทำละลายบางชนิด ใช้เป็นเชื้อเพลิง ตัวทำละลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ethylene | เอทิลีน, แก๊สชนิดหนึ่งไม่มีสี ติดไฟง่าย สูตรเคมีคือ C2H4 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | helium | ฮีเลียม, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 2 สัญลักษณ์ He เป็นแก๊สเฉื่อยไม่มีสีและกลิ่น ไม่ติดไฟ มีความหนาแน่นน้อย จุดเดือด -268.94oC ใช้บรรจุในลูกบัลลูน และผสมกับออกซิเจนในเครื่องช่วยหายใจของนักประดาน้ำ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | isoprene | ไอโซปรีน, สารประกอบไฮโดรคาร์บอนจำพวกแอลคีน สูตรเคมีคือ C5H8 เป็นของเหลวไม่มีสี จุดเดือด 34.1°C ไม่ละลายในน้ำ แต่ละลายได้ในแอลกอฮอล์และอีเทอร์ได้จากการกลั่นทำลายยางดิบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ozone | โอโซน, ออกซิเจนรูปหนึ่ง ในแต่ละโมเลกุลจะมี 3 อะตอม เป็นแก๊สไม่มีสี มีความว่องไวต่อการทำปฏิกิริยา จุดเดือด -112.4°C จุดหลอมเหลว - 249.7°C มีกลิ่นเฉพาะตัว ใช้เป็นตัวเติมออกซิเจนในปฏิกิริยาเคมี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ammonia | แอมโมเนีย, แก๊สไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก สูตรเคมีคือ NH3 ละลายน้ำได้สารละลายเป็นเบส ใช้ในอุตสาหกรรมทำวัตถุระเบิดและทำปุ๋ย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | krypton | คริปทอน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ ใช้สัญลักษณ์ Kr เลขอะตอม 36 เป็นแก๊สเฉื่อยไม่มีสี มีจุดหลอมเหลว -156.7°C จุดเดือด -153.3°C มีอยู่ในบรรยากาศจำนวนน้อยมาก ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | carbon dioxide | คาร์บอนไดออกไซด์, สารประกอบของคาร์บอนกับออกซิเจน สูตรเคมี คือ CO2 เป็นแก๊สไม่มีสี ละลายน้ำได้ดี ใช้ในอุตสาหกรรมน้ำอัดลม ทำน้ำแข็งแห้ง ใช้ดับไฟ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | carbon monoxide | คาร์บอนมอนอกไซด์, สารประกอบของคาร์บอนกับออกซิเจน สูตรเคมีคือ CO เป็นแก๊สไม่มีสีและกลิ่น แต่เป็นพิษ เกิดจากการเผาไหม้อย่างไม่สมบูรณ์ของคาร์บอน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | calcite | แคลไซต์, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) มีสีขาว สีเทาหรือไม่มีสี มีความแข็ง 3 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | diamond | เพชร, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของธาตุคาร์บอนรูปหนึ่ง มีความแข็งมากที่สุดคือ 10 เป็นแร่หายาก ความถ่วงจำเพาะประมาณ 3.51 ปกติไม่มีสี แต่อาจมีสี เช่น เหลือง น้ำเงินดำ เป็นรัตนชาติที่มีราคาสูง ใช้เป็นผงขัดในการเจียระไน เพชร พลอย และใช้ตัดกระจก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | gypsum | ยิปซัม, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบพวกแคลเซียมซัลเฟตและน้ำ (CaSO42.2H2O) ส่วนมากจะใสไม่มีสี แต่อาจพบชนิดที่มีสี เช่น สีเทา สีแดงมีความแข็ง 2 ความถ่วงจำเพาะมีค่าระหว่าง 2.2-2.4 ใช้ในอุตสาหกรรมทำปูนซีเมนต์ ทำเป็นแผ่นบุฝาผนังและเพดานห้อง เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | mica | ไมกา, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบพวก KAl2(AlSi3)O10.(OH.F)2 มีความแข็ง 2 - 2.5 ความถ่วงจำเพาะ 2.76 - 3.1 เมื่อเป็นแผ่นบาง ๆ จะโปร่งใส ไม่มีสีแต่ถ้าซ้อนกันหลาย ๆ ชั้นจะเกิดเป็นสีต่าง ๆ ได้ เช่น เหลือง เขียว แดงเป็นต้น ใช้ทำฉนวนไฟฟ้าและวัตถุทนไฟ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | orthoclase | ออร์โทเคลส, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบโพแทสเซียมอะลูมิเนียมซิลิเกต สูตรเคมีคือ K(AlSi3)O8 มีสีขาว สีเทา สีแดงเข้ม หรือไม่มีสี ความแข็ง 6 เกิดปนอยู่ในหินอัคนีชนิดต่าง ๆ เช่น หินแกรนิต ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบและอุตสาหกรรมแก้วเป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | quartz | ควอรตซ์, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบออกไซด์ของซิลิคอน (SiO2) ส่วนมากเป็นผลึกใส ไม่มีสี หรือสีขาวขุ่น อาจพบมีสีม่วง ชมพู เขียว เป็นต้น มีความแข็งประมาณ7 ความถ่วงจำเพาะ = 2.6 โดยทั่วไปเรียกว่า แร่เขี้ยวหนุมาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | topaz | โทแพซ, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบอะลูมิเนียมฟลูออโรซิลิเกต สูตรเคมีคือAl2SiO44(F.OH)2 ความแข็ง 8 มีสีเหลือง ชมพู น้ำเงิน เขียว หรือไม่มีสี สีที่นิยมใช้เป็นแร่รัตนชาติ คือ สีเหลือง เรียกว่า บุษราคัม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | zircon | เพทาย, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบเซอร์โคเนียมซิลิเกต (ZrSiO4) มีความแข็ง7.5 ความถ่วงจำเพาะ 4.6 - 4.8 มีความวาวแบบเพชร ใส ไม่มีสี หรือมีสี เช่น น้ำตาล เขียว แดง เป็นต้น นิยมใช้เป็นแร่รัตนชาติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | ไม่มีสี | [mai mī sī] (adj) EN: colourless FR: incolore |
| achromatic | (adj) ที่ไม่มีสี, Syn. colorless | alcohol | (n) แอลกอฮอล์, See also: สารชนิดหนึ่งไม่มีสี ติดไฟได้, Syn. ethyl alcohol | carbon monoxide | (n) คาร์บอนมอนอกซ์ไซด์, See also: ก๊าซชนิดหนึ่งไม่มีสีไม่มีกลิ่น มีพิษต่อร่างกาย มีสัญลักษณ์ CO | chloroform | (n) คลอโรฟอร์ม, See also: ของเหลวไม่มีสีทำให้หมดสติเมื่อสูดดม | colorless | (adj) ที่ไม่มีสี | colourless | (adj) ที่ไม่มีสี | ethene | (n) ก๊าซที่ไม่มีสี ติดไฟได้ ใช้ในการผลิตโพลิเมอร์และสารเคมีชนิดอื่นๆ และใช้ในการทำให้ผลไม้สุก, Syn. ethylene | ethylene | (n) ก๊าซเอธิลีน ไม่มีสีติดไฟได้, Syn. ethene | eugenol | (n) น้ำมันที่ไม่มีสีจากต้นกานพลู, See also: น้ำมันที่ไม่มีสีจากต้นกานพลู ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวดในทางทันตกรรมและใช้ทำน้ำหอม | helium | (n) ุก๊าซเฉื่อยชนิดหนึ่งไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีสัญลักษณ์คือ He, See also: ก๊าซฮีเลี่ยม | methane | (n) ก๊าซธรรมชาติชนิดหนึ่งไม่มีสีและกลิ่น ไวไฟ, See also: ก๊าซมีเทน | neutral | (adj) ซึ่งไม่มีสี, Syn. drab, indeterminate | oxalic acid | (n) สารมีพิษซึ่งไม่มีสี | pale | (adj) ไม่มีสี, See also: สี ซีด, Syn. white, colorless, Ant. colorful, colored | rhinestone | (n) พลอยเทียมไม่มีสีชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายเพชร | thin | (adj) (สี) ซีด, See also: สี จาง, ไม่มีสี, Syn. pale | vodka | (n) เหล้าวอดกา, See also: เหล้ารัสเซีย ไม่มีสี | white | (adj) เกือบไม่มีสี, See also: จาง, ซีด, Syn. ashen, pale, pallid, wan, Ant. colorful | wishy-wash | (adj) ไม่มีสีสัน, See also: จืดชืด, ไม่น่าสนใจ, Syn. bland, flavorless, insipid, Ant. tasteful |
| black-and-white | adj. มีเพียงสีดำและขาวเท่านั้น, เกี่ยวกับระบบที่มีเพียง2ค่า, ไม่มีสี, ไม่ระบายสี', เขียนหรือพิมพ์, Syn. writing or print | gas plasma display | จอภาพก๊าซพลาสมาหมายถึง จอภาพพิเศษที่ออกแบบให้ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) จอภาพชนิดนี้จะให้ความสว่างเรืองรองออกเป็นสีส้ม ดูคล้าย ๆ กับกัมมันตภาพรังสี ใช้กำลังไฟสูง ราคาแพง และมักจะไม่มีสี (มีแต่สีขาว/ดำ) ปัจจุบันจอโทรทัศน์ก็ใช้จอแบบเดียวกันนี้ แต่มีสีสันสวยงาม | stoney | (สโท'นี) adj. เต็มไปด้วยหิน, มีหินมาก, เหมือนกัน, แข็งเหมือนหิน, ไร้ความรู้สึก, ไร้ความปรานี, ไม่มีสีหน้า, ทารุณ, โหดเหี้ยม, ใจแข็ง, ถังแตก, ไม่มีเงินเลย, ตกอกตกใจ., See also: stonily adv. stoniness n., Syn. icy, heartless | stony | (สโท'นี) adj. เต็มไปด้วยหิน, มีหินมาก, เหมือนกัน, แข็งเหมือนหิน, ไร้ความรู้สึก, ไร้ความปรานี, ไม่มีสีหน้า, ทารุณ, โหดเหี้ยม, ใจแข็ง, ถังแตก, ไม่มีเงินเลย, ตกอกตกใจ., See also: stonily adv. stoniness n., Syn. icy, heartless | thin | (ธิน) adj., adv., vt., vi. (ทำให้หรือกลายเป็น) บาง, ผอม, น้อย, (เลี้ยง) เล็ก, อ่อน, จาง, ซีด, ใส, กระจัดกระจาย, ขาดส่วนสำคัญ, ไม่มีสี., See also: thinly adv. thinness n., Syn. slim, skinny |
| | Cellophane noodle | [(เซลโล-แพน นูเดิล)] (n, adj) วุ้นเส้น ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากแป้งของถั่วเขียวเส้นเล็กๆกลมๆยาวๆ ไม่มีสี |
| farblos | (adj) ที่ไม่มีสี | Autobahn | (n) |die, pl. Autobahnen| ทางด่วน, ถนนแบบมีสองฝั่ง รถสวนกันวิ่งคนละฝั่ง ไม่มีสี่แยกไฟแดงหรือรถเลี้ยวตัด ทางแยกออก หรือแยกเข้า จะทำเป็นทางยกระดับ หรือไม่ก็ลอดใต้ดินไป รถวิ่งได้ตลอดไม่มีหยุด เริ่มสร้างครั้งแรกในประเทศเยอรมนี ปัจจุบันในประเทศอื่นๆ เรียกกันด้วยชื่อต่างๆ กันไป เช่น Express way (ทางด่วน), Motorway (ทางสำหรับรถ), Freeway (แปลตรงตัวคือ ทางที่วิ่งแล้วไม่ต้องเสียตังค์), Tollway (แปลตรงตัวก็คือวิ่งแล้วต้องเสียต้งค์), highway, superhighway |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |