ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อักษร, -อักษร- |
เบย | เลย เป็นคำแผลงที่มาจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือพิมพ์ข้อความ เนื่องจากแป้นตัวอักษร ล ลิง และ บ ใบไม้ อยู่ใกล้กัน จึงทำให้เกิดการพิมพ์ผิดได้บ่อยครั้ง จนเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าพิมพ์ว่า เบย จะหมายความถึง เลย และยังแฝงถึงความรู้สึกเล่นๆ สนุกๆ ไม่จริงจัง กรณีที่พบบ่อย เช่นคำว่า จังเลย อาจแผลงได้เป็น จุงเบย เช่น เจ๊บจุงเบย (เจ็บจังเลย), ฮาจุงเบย (ฮา จังเลย) |
|
| ถถถถถ | (slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต) หัวเราะ หรือ 55555 (hahahahaha) เนื่องจากบนคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ทั่วไป ปุ่มอักษร ถ จะตรงกับเลข 5 ในภาษาอังกฤษ และผู้พิมพ์มักลืมกดปุ่มเปลี่ยนภาษาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน ตั้งใจจะพิมพ์ 55555 เลยกลายเป็น ถถถถถ เมื่อมีการพิมพ์ผิดกันบ่อยครั้ง จึงถือกันว่าคำว่า ถถถถถ ก็ใช้แทนความหมายของ 55555 ไป |
| ลายลักษณ์อักษร | บริษัทอยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำจรรยาบรรณธุรกิจเป็นลายลักษณ์อักษร |
| อักษร | (n) character, See also: letter, alphabet, Syn. อักขระ, ตัวอักษร, ตัวหนังสือ, Count Unit: ตัว | อักษร | (n) orthography rule, Syn. อักขระสมัย, Count Unit: ตัว, Thai Definition: วิชาหนังสือ | กลอักษร | (n) Thai jingle, Example: การแต่งบทร้อยกรองในภาษาไทยมีกลอักษรแฝงไว้มาก, Thai Definition: กลบทที่ซ่อนเงื่อนไว้ให้อ่านฉงน | ตัวอักษร | (n) letter, See also: character, alphabet, Syn. ตัวหนังสือ, ตัวอักขระ, ตัวเขียน, Example: ภาษาไทยมีตัวอักษรที่เป็นพยัญชนะถึง 44 ตัว ทำให้ยากที่คนต่างชาติจะเรียนรู้ได้เร็ว, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์แทนเสียงในภาษามนุษย์ | ตัวอักษร | (n) letter, See also: character, alphabet, Syn. ตัวหนังสือ, ตัวอักขระ, ตัวเขียน, Example: ภาษาไทยมีตัวอักษรที่เป็นพยัญชนะถึง 44 ตัว ทำให้ยากที่คนต่างชาติจะเรียนรู้ได้เร็ว, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์แทนเสียงในภาษามนุษย์ | ผันอักษร | (v) vary the tone in pronouncing words or letters according to the rules of grammar, See also: conjugate, decline, Example: นักเรียนกำลังหัดผันอักษร, Thai Definition: เปลี่ยนเสียงพยัญชนะให้สูงต่ำไปตามวรรณยุกต์ | ศุภอักษร | (n) letter of the a vassal King, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายของเจ้าประเทศราช | สัทอักษร | (n) phonetic alphabet, Example: คนที่ศึกษาวิชาว่าด้วยเรื่องเสียงจำเป็นที่จะต้องรู้สัทอักษร, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้แทนเสียงในวิชาสัทศาสตร์ | อักษรควบ | (n) cluster consonant | อักษรต่ำ | (n) low-tone consonants, See also: low-class letters, Count Unit: ตัว, Thai Definition: พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ 3 เสียง มี 2 รูป มี 24 ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ | อักษรย่อ | (n) abbreviation, See also: acronym, Syn. ตัวย่อ, Example: อาร์ปา” เป็นอักษรย่อมาจากชื่อขององค์การโครงการวิจัยชั้นสูงของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ, Count Unit: ตัว | อักษรสูง | (n) high-level consonant, See also: high-class letter, Count Unit: ตัว, Thai Definition: พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันได้ 3 เสียง มี 2 รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ่ เป็นเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท คำตายพื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด้วยด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท | อักษรเลข | (n) numerical code, Thai Definition: วิธีเขียนหนังสือลับโบราณ ใช้ตัวเลขแทนสระ | อักษรเลข | (n) secretary of the provincial governor, Thai Definition: ตำแหน่งในคณะกรมการปกครองท้องที่มีมาแต่โบราณ, ต่อมาใช้เรียกผู้ทำหน้าที่เลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด | แปรอักษร | (v) transform a cheering team into letters or pictures, Example: ขบวนพาเหรดกำลังแปรอักษรเป็นรูปต่างๆ อย่างสวยงาม, Thai Definition: แปรรูปกองเชียร์ให้เห็นเป็นตัวอักษรหรือภาพต่างๆ | อักษรกลาง | (n) medium tone consonant, See also: middle-class letters, Example: ข้อความ “ไก่จิกเด็กตายบนปากโอ่ง” แม้ว่าจะพิลึก แต่ก็ช่วยให้หลายคนรู้ว่า อักษรกลางในภาษาไทยมีตัวอะไรบ้าง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงสามัญ ผันได้ครบ 4 รูป 5 เสียง มีรูปวรรณยุกต์กับเสียงวรรณยุกต์ตรงกัน คำตายมีพื้นเสียงเป็นเสียงเอกผันได้ 4 เสียงมี 3 รูปคือพื้นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโทผันด้วยวรรณยุกต์ ๊ เป็นเสียงตรีผันด้วยวรรณยุกต์ ๋ เป็นเสียงจัตวา | อักษรกล้ำ | (n) diphthong, Syn. อักษรควบกล้ำ, Example: ลักษณะดังที่ท่านเจ้าคุณเล่ามานี้คือการเรียนรู้เรื่องอักษรกล้ำ เครื่องหมายวรรณยุกต์ ตลอดจนเครื่องหมายหนังสือ, Count Unit: ตัว | อักษรสมัย | (n) method of reading and writing, Syn. อักขรสมัย, Thai Definition: วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน | อักษรไขว้ | (n) crossword puzzle, Syn. อักษรปริศนา | แป้นอักษร | (n) key, See also: keyboard, Syn. คีย์บอร์ด, แป้นพิมพ์, Example: ในระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ผู้เรียนจะเรียนโดยใช้แป้นตัวอักษรและจอโทรทัศน์ที่เชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์, Thai Definition: แป้นอักษรบนเครื่องพิมพ์ดีดที่นิ้วกด | อักษรสาสน์ | (n) diplomatic letter, Syn. อักษรสาสน, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศ ซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ | สัมผัสอักษร | (n) alliteration, See also: initial rhyme, beginning rhyme, head rhyme, Syn. สัมผัสพยัญชนะ, Example: ในการสัมผัสท้ายวรรคบางคนนิยมสัมผัสอักษรเท่านั้น, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: คำคล้องจองที่ใช้อักษรตัวเดียวกัน หรือตัวอักษรประเภทเดียวกัน คือ มีเสียงเหมือนกัน แต่รูปไม่เหมือนกัน | อักษรปริศนา | (n) crossword puzzle, Syn. อักษรไขว้ | อักษรศาสตร์ | (n) arts, See also: liberal arts, literature, Example: แม้ว่าเธอจะเรียนอักษรศาสตร์มาก็ตาม แต่เธอก็มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มากพอๆ กัน, Thai Definition: วิชาการหนังสือ เน้นในด้านภาษาและวรรณคดี | พิสูจน์อักษร | (v) proofread, See also: proof, Example: เธอพิสูจน์อักษรอยู่ที่หนังสือพิมพ์มติชน, Thai Definition: ตรวจแก้ไขคำผิด | อักษรตัวเล็ก | (n) small letter | อักษรตัวใหญ่ | (n) capital letter | คณะอักษรศาสตร์ | (n) Faculty of Arts, Example: นักแสดงที่เล่นละครเวทีส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาจากคณะอักษรศาสตร์, Count Unit: คณะ, Thai Definition: ภาควิชาที่ว่าด้วยการศึกษาวิชาการหนังสือ เน้นในด้านภาษาและวรรณคดี | ลายลักษณ์อักษร | (n) writing, Example: แผนงานการติดตั้งระบบต้องถูกจัดทำขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร, Thai Definition: ข้อความอันเขียนเป็นหนังสือ | ปริศนาอักษรไขว้ | (n) crossword puzzle, Example: เกมปริศนาอักษรไขว้ที่เล่นกันอยู่ในปัจจุบันมาจากเกมอักษรไขว้รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดของอาเธอร์ วีนน์, Count Unit: ชุด, Thai Definition: ปริศนาที่จะต้องตอบโดยการเติมคำลงในตารางสี่เหลี่ยมที่กำหนดให้ช่องละ 1 อักษร แล้วให้อ่านได้ใจความทั้งในแนวยืนและแนวนอน | อักษรศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts, See also: B.A., Syn. อ.บ. | อักษรศาสตรบัณฑิต | (n) bachelor of arts, See also: B.A. | อักษรศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Arts, See also: M.A., Syn. อ.ม. | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | (n) master of arts, See also: A.M. | อักษรศาตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Philosophy, See also: Ph.D., Syn. อ.ด. | อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต | (n) Master of Arts, See also: M.A, Example: สมเด็จพระเทพฯ ทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิตใน พ.ศ. 2524 | อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Arts, See also: D.A, Example: ผลงานของท่านควรแก่การยกย่องบูชา และประกาศเกียรติคุณเชิดชูถึงขั้นอักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต |
| กลอักษร | (กน-, กนละ-) น. กลบทที่ซ่อนเงื่อนไว้ให้อ่านฉงน ตัวอย่างว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตก กระไรเลยระกำใจ จะจากไกลไม่เคย ให้อ่านว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตกโอ้อกเอ๋ย กระไรเลยระกำใจกระไรเลย จะจากไกลไม่เคยจะจากไกล. (กลอักษรงูกลืนหาง). | ปริศนาอักษรไขว้ | น. ปริศนาที่จะต้องตอบโดยการเติมคำลงในตารางสี่เหลี่ยมที่กำหนดให้ช่องละ ๑ อักษร แล้วให้อ่านได้ใจความทั้งในแนวยืนและแนวนอน. | แปรอักษร | ก. ทำให้มีตัวอักษรหรือภาพปรากฏขึ้น โดยใช้คนจำนวนมากที่อยู่บนอัฒจันทร์ ยกกระดาษ ผ้า หรือวัสดุอื่น ๆ ขึ้นมาพร้อม ๆ กัน ให้เห็นเป็นตัวหนังสือหรือภาพ (มักใช้ประกอบในการเชียร์กีฬา การแสดงกลางแจ้ง หรือกิจกรรมสำคัญ ๆ ). | ผันอักษร | ก. เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์, ผันวรรณยุกต์ ก็ว่า. | พิสูจน์อักษร | ก. ตรวจและแก้ไขที่ผิดในการพิมพ์หนังสือ. | ลายลักษณ์อักษร | น. เครื่องหมายขีดเขียนเป็นตัวหนังสือ เช่น เรื่องนี้ควรบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. | ศุภอักษร | น. สาส์นของเจ้าประเทศราช. | สัทอักษร | (สัดทะอักสอน) น. อักษรและเครื่องหมายที่กำหนดใช้แทนเสียงประเภทต่าง ๆ เช่น สัญลักษณ์แทนเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และเครื่องหมายพิเศษแทนการออกเสียงอื่น ๆ. | สัมผัสอักษร | น. สัมผัสพยัญชนะที่มีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน เช่น จำใจจำจากเจ้า จำจร (ตะเลงพ่าย), คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง (หลักภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ). | อักษร, อักษร- | (อักสอน, อักสอระ-, อักสอน-) น. ตัวหนังสือ, วิชาหนังสือ เช่น ฉลาดรอบรู้ในอักษรสยาม. | อักษรกลาง | (อักสอน-) น. พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ครบ ๔ รูป ๕ เสียง มีรูปวรรณยุกต์กับเสียงวรรณยุกต์ตรงกัน เช่น กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า คำตายมีพื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันได้ ๔ เสียง มี ๓ รูป คือ พื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ๊ เป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ๋ เป็นเสียงจัตวา เช่น จะ จ้ะ จ๊ะ จ๋ะ มี ๙ ตัว คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ. | อักษรต่ำ | (อักสอน-) น. พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ ๓ เสียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ่ เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงตรี เช่น คา ค่า ค้า คำตายสระสั้น พื้นเสียงเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ่ เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ๋ เป็นเสียงจัตวา เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ คำตายสระยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ๋ เป็นเสียงจัตวา เช่น คาก ค้าก ค๋าก มี ๒๔ ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ. | อักษรบฏ | (อักสอระบด) น. แผ่นผ้าที่เขียนสระ พยัญชนะ ใช้ในการเรียนการสอนในสมัยโบราณ, ที่ใช้แผ่นกระดาษติดผ้าหรือแผ่นกระดาษแทนก็มี. | อักษรลักษณ์ | (อักสอระลัก, อักสอนลัก) น. จดหมาย, ในบทกลอนมักใช้ว่า ลักษณ์. | อักษรเลข | (อักสอระเลก, อักสอนเลก) น. วิธีเขียนหนังสือลับโบราณ ใช้ตัวเลขแทนสระ | อักษรเลข | ตำแหน่งในคณะกรมการปกครองท้องที่มีมาแต่โบราณ, ต่อมาใช้เรียกผู้ทำหน้าที่เลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด. | อักษรศาสตร์ | (อักสอระสาด, อักสอนสาด) น. วิชาการหนังสือ เน้นในด้านภาษาและวรรณคดี. | อักษรสมัย | (อักสอนสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. | อักษรสาส์น | (อักสอนระสาด, อักสอนสาด) น. จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, เขียนเป็น อักษรสาสน (อ่านว่า อักสอนสาน) ก็ได้. | อักษรสูง | (อักสอน-) น. พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันได้ ๓ เสียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ่ เป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท เช่น ขา ข่า ข้า คำตายพื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ้ เป็นเสียงโท เช่น ขะ ข้ะ มี ๑๑ ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห. | ก | (กอ) พยัญชนะตัวที่ ๑ เรียกว่า กอ ไก่ เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น กก ปาก สัก. | ก หัน | น. อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก. | กระจายนะมณฑล | น. ชื่อกลบท วรรคต้นใช้อักษรสูงนำหน้า วรรคที่ ๒ ใช้อักษรกลาง วรรคที่ ๓ ใช้อักษรตํ่า ตัวอย่างว่า สมเด็จพระศิริวิบุลกิตติ์ กำจัดจากโศกวิโยคหา ค่อยตรึกตรองฉลองคุณพระชนมา (ชุมนุมตำรากลอน). | กรัม | (กฺรำ) น. หน่วยมาตราชั่งนํ้าหนัก ตามมาตราเมตริก มีอัตรา = ๑๐๐ เซนติกรัม หรือ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ แห่งกิโลกรัม, อักษรย่อว่า ก. | กลมกลืนกลอน | (-กฺลอน) น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ แสนเสียดายกรายนาฏช่าง แสนเสียดายงอนงามเจ้า ให้อ่านว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ห่างหาย แสนเสียดายกรายนาฏช่างนาฏกราย แสนเสียดายงอนงามเจ้างามงอน (จารึกวัดโพธิ์). | กล้ำ | (กฺลํ้า) ก. ควบ เช่น กลํ้าอักษร อักษรกลํ้า, ทำให้เข้ากัน, กลืนกัน, เช่น กลํ้าเสียง เสียงกลํ้า, กล้ำกลืน, ฝืนใจ, เช่น กัลยาจะกลํ้าอำความตาย (อิเหนา). | กะรัตหลวง | น. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต. | กัณฐชะ | น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดที่เพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดที่เส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. | การันต์ | (การัน) น. “ที่สุดอักษร”, ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่นตัว “ต์” ในคำว่า “การันต์”, (ปาก) เรียกตัวอักษรที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ เช่น ล์ ว่า ล การันต์ ค์ ว่า ค การันต์. | กิโลกรัม | น. ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนัก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า กก., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล หรือ โล. | กิโลเมตร | น. ชื่อมาตราวัด เท่ากับ ๑, ๐๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า กม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล. | กิโลลิตร | น. ชื่อมาตราตวง เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๑ ลูกบาศก์เมตร, อักษรย่อว่า กล. | เกวียนหลวง | น. มาตราตวงตามแบบราชการ มีอัตราเท่ากับ ๒, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๒ กิโลลิตร, อักษรย่อว่า กว. | ข | (ขอ) พยัญชนะตัวที่ ๒ เรียกว่า ขอ ไข่ เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น มุข เลข. | ข่าวพาดหัว | น. ข่าวสำคัญที่นำมาพิมพ์เป็นหัวเรื่องในหน้าแรกของหนังสือพิมพ์ด้วยอักษรขนาดใหญ่เพื่อให้เกิดความสนใจ. | เขมร ๑ | (ขะเหฺมน) น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย ลาว และเวียดนาม มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้ เรียกว่า อักษรขอม. | เข้ารหัส | ก. เปลี่ยนสารธรรมดาให้เป็นสารลับด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตัวอักษรอื่นแทนอักษรที่ต้องการจะใช้ หรือสลับตำแหน่งอักษรของข้อความนั้น หรือใช้สัญลักษณ์แทนซึ่งรู้กันเฉพาะผู้ที่รู้กุญแจรหัสเท่านั้น. | ฃ | (ขอ) พยัญชนะตัวที่ ๓ เรียกว่า ฃอ ขวด เป็นอักษรสูง ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว. | ค | (คอ) พยัญชนะตัวที่ ๔ เรียกว่า คอ ควาย เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค. | คชนาม | น. นามราหู, อักษรชื่อที่ขึ้นต้นด้วย ย ร ล ว. | คณ-, คณะ | หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ | คมในฝัก ๒ | น. ชื่อเพลงยาวกลบทและกลอักษร. | คฤนถ์ | (คฺรึน) น. ตัวอักษรแบบหนึ่งของอินเดียภาคใต้ที่ใช้เขียนตำรา. | คำ ๒ | น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท | คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. | คืบ ๑ | มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค. | คุลาซ่อนลูก | น. ชื่อกลอักษรชนิดหนึ่ง. | ฅ | (คอ) พยัญชนะตัวที่ ๕ เรียกว่า ฅอ คน เป็นอักษรต่ำ ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว. | ฆ | (คอ) พยัญชนะตัวที่ ๖ เรียกว่า ฆอ ระฆัง เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น เมฆ. | ง | (งอ) พยัญชนะตัวที่ ๗ เรียกว่า งอ งู เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากงหรือแม่กง เช่น บาง ทอง. |
| positive law | บทบัญญัติแห่งกฎหมาย, กฎหมายที่ตราเป็นลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | phonetic alphabet | สัทอักษร [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | lex non scripta (L.) | กฎหมายที่ไม่ได้ตราเป็นลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lex scripta (L.) | กฎหมายที่ตราเป็นลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lexico-graphic order | ลำดับอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | lexico-graphic order | อันดับอักษร [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | licence | ๑. หนังสืออนุญาต, ใบอนุญาต๒. การอนุญาต (เป็นลายลักษณ์อักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | letter | ๑. ผู้ให้เช่า๒. หนังสือ๓. ตัวอักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | letter of credence | อักษรสาสน์ตราตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Lettered Rules | กฎตามตัวอักษร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, unwritten | กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, positive | บทบัญญัติแห่งกฎหมาย, กฎหมายที่ตราเป็นลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | literal construction; literal method | วิธีตีความตามตัวอักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | literal equation | สมการเชิงตัวอักษร [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | literal meaning of the words | ถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | literal method; literal construction | วิธีตีความตามตัวอักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Shift key | แป้นเปลี่ยน(ชุดอักษร) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Shift key | แป้นเปลี่ยน(ชุดอักษร) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | statute | บทกฎหมาย, กฎหมายลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft font | ชุดแบบอักษรเฉพาะคราว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | acrostic | อักษรกล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | alphanumeric mode | ภาวะตัวอักษรเลข [ มีความหมายเหมือนกับ character mode และ text mode ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | alphanumeric mode | ภาวะตัวอักษรเลข [ มีความหมายเหมือนกับ character mode และ text mode ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | anagram | คำสลับอักษร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | alliteration | การสัมผัสอักษร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | alliterative verse | บทร้อยกรองสัมผัสอักษร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | affidavit | คำให้การที่เป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีการสาบาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alphabet | ชุดตัวอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | alphabet | ชุดตัวอักษร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alphabetic | -ตัวอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | alphabetic code | รหัสตัวอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | alphabetic string | สายตัวอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | alphameric; alphanumeric | ตัวอักษรเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | alphameric; alphanumeric | ตัวอักษรเลข [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alphanumeric; alphameric | ตัวอักษรเลข [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ananym | คำย้อนอักษร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | advice on evidence | คำแถลงการณ์ปิดคดี (เป็นลายลักษณ์อักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | certification | การรับรองเป็นลายลักษณ์อักษร, การให้คำรับรองเป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | call of the House | การเรียกชื่อสมาชิกสภา (ตามลำดับอักษรชื่อ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | case sensitive | ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | credentials | ๑. อักษรสาสน์ตราตั้ง, พระราชสาสน์ตราตั้ง (การทูต)๒. ตราสารแต่งตั้ง (ผู้แทนในการประชุมระหว่างประเทศ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Caps Lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | Caps Lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | calligraphy | อักษรวิจิตร [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | close of pleadings | สิ้นกำหนดยื่นคำให้การเป็นลายลักษณ์อักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitution, unwritten | รัฐธรรมนูญไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitution, written | รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | diacritic | เครื่องหมายเสริมสัทอักษร [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | digraph | ทวิอักษร [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | digest | ประชุมย่อคำพิพากษาบรรทัดฐาน (เรียงตามอักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Alphabetizing | การเรียงลำดับอักษร [เทคโนโลยีการศึกษา] | Alphabetizing | การเรียงลำดับอักษร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Optical characters recognition | การรู้จำตัวอักษร (โปรแกรมแปลงภาพเอกสารเป็นข้อความ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Alphanumeric characters | อักขระอักษรเลข, Example: อักขระที่รวมทั้งตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z ตัวเลข 0-9 และอักขระพิเศษที่เราสามารถพิมพ์ด้วยแป้มพิมพ์ได้ ตลอดจนอักขระควบคุมต่างๆ ที่ใช้ควบคุมเครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์] | American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ, Example: รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] | Kinds | ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, Example: ตัวอย่าง DE1234A1 หมายถึงคำโฆษณาที่ยื่นขอเปิดเผยให้สาธารณะตรวจสอบ ส่วน DE1234C1 หมายถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ได้รับอนุมัติของสำนักงานสิทธิบัตรเยอรมนี [ทรัพย์สินทางปัญญา] | font | แบบอักษร [คอมพิวเตอร์] | Braille Typewriter | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่, Example: ความหมายเดียวกับ Perkins Brailler [Assistive Technology] | Optical Character Recognition Program | โปรแกรมแปลงข้อความบนกระดาษเป็นข้อความในคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และรู้จำตัวพิมพ์หรือตัวเขียน โดยการสแกนตัวอักษรหรือข้อความ ด้วยแสง นำมาวิเคราะห์ภาพตัวอักษรหรือข้อความนั้น เพื่อแปลงมาเป็นรหัสตัวอักษรเพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป [Assistive Technology] | Slate and stylus | อุปกรณ์สำหรับเขียนอักษรเบรลล์, แผ่นและเข็ม สำหรับเขียนอักษรเบรลล์ลงบนกระดาษ อุปกรณ์นี้ ประดิษฐ์ โดย Charles Barbier and Louis Braille ประกอบด้วย แผ่นรองเขียนอักษรเบรลล์ ทำด้วยพลาสติก เหล็ก หรือไม้ และเข็มดันกระดาษ ตัวแผ่นเจาะเป็นช่องอักษรเบรลล์สำหรับสร้างจุดเบรลล์ ๒ แถวๆ ละ ๓ จุด รวม ๒๘ ช่องต่อ ๑ บรรทัด แผ่นหลังเป็นที่วางกระดาษ มีบานพับปิดเปิดระหว่าง ๒ แผ่น [Assistive Technology] | Perkins Brailler | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่, Example: ความหมายเดียวกับ Braille Typewriter [Assistive Technology] | Abbreviations | อักษรย่อ [TU Subject Heading] | Abbreviations, English | อักษรย่อภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] | Abbreviations, Thai | อักษรย่อภาษาไทย [TU Subject Heading] | Alphabet | ตัวอักษร [TU Subject Heading] | Alphabetizing | การเรียงลำดับอักษร [TU Subject Heading] | Braille | อักษรเบรลล์ [TU Subject Heading] | Calligraphy | การประดิษฐ์ตัวอักษร [TU Subject Heading] | Chinese characters | ตัวอักษรจีน [TU Subject Heading] | Code words | อักษรรหัส [TU Subject Heading] | Computer fonts | แบบตัวอักษรคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] | Crossword puzzles | ปริศนาอักษรไขว้ [TU Subject Heading] | Devanagari alphabet | อักษรเทวนาครี [TU Subject Heading] | Graphology | การทำนายโชคชะตาจากลายอักษร [TU Subject Heading] | Jawi alphabet | อักษรยาวี [TU Subject Heading] | Phonetic alphabet | สัทอักษร [TU Subject Heading] | Transliteration | การถอดตัวอักษร [TU Subject Heading] | Trials (Libel) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยลายลักษณ์อักษร) [TU Subject Heading] | Truetype fonts | แบบตัวอักษรคอมพิวเตอร์ระบบทรูไทพ์ [TU Subject Heading] | Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] | credentials, letters of credence | " 1. อักษรสาส์นตราตั้ง พระราชสาส์นตราตั้ง (การทูต) หมายถึง หนังสือแต่งตั้งเอกอัครราชทูตจากประมุขของรัฐผู้ส่ง ถึงประมุขของรัฐผู้รับ 2. ตราสารแต่งตั้ง (ผู้แทนในการประชุมระหว่างประเทศ) " [การทูต] | Excellency | เป็นคำแสดงตำแหน่งที่ใช้เรียกตัวเอกอัครราชทูต ทั้งโดยวาจาและโดยลายลักษณ์อักษร เป็นคำที่เริ่มใช้กันตั้งแต่สมัยทำสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Treaty of Westphalia) เมื่อ ค.ศ. 1648 และได้นำมาใช้ทั่วทวีปยุโรปหลังจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนา (ค.ศ. 1815) แต่ถ้าบังเอิญเอกอัครราชทูตของประเทศหนึ่งใดเป็นบุคคลเชื้อพระวงศ์ แทนที่จะเรียกเอกอัครราชทูตผู้นั้นด้วยคำว่า Excellency ก็ให้เรียกด้วยคำว่า ?Royal Highness? แทนแต่เดิมคำ ?Excellency? ซึ่งเป็นคำเติมหน้าชื่อแสดงตำแหน่งนี้ใช้เรียกเฉพาะตัวเอกอัครราชทูตเท่า นั้น แต่ในทางปฏิบัติ ทุกวันนี้ได้นิยมใช้เรียกตัวอัครราชทูต (Ministers) เช่นกัน ส่วนภริยาของเอกอัครราชทูตนั้นก็ได้รับการยกย่องโดยใช้คำ Excellency ด้วย แต่สำหรับเอกอัครราชทูตที่เป็นสตรี สามีของเธอจะไม่ได้รับเรียกเช่นนั้น นอกจากนั้น คำแสดงตำแหน่งนี้ยังใช้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีหลายประเทศได้นำไปใช้เรียกประมุขของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีด้วย แต่การปฏิบัติดังนี้ย่อมแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ส่วนเลขาธิการสหประชาชาตินั้น ใช้เรียกกันเป็นทางการว่า Excellency และสำหรับกรณีที่ไม่เป็นทางการก็เรียกว่า Mr. Secretary-General [การทูต] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] | Alphabet book | หนังสือสอนตัวอักษร, Example: <p>Alphabet book หมายถึง หนังสือสอนตัวอักษรสำหรับเด็กเล็ก โดยแสดงตัวอักษรพร้อมด้วยคำที่เกี่ยวข้องที่ตรงกับภาพซึ่งมักจะเริ่มต้นด้วยตัวอักษรที่กำหนด บางครั้ง ใช้จังหวะที่สอดคล้องในบทกวี หรือใช้เพียงแค่ประโยคเดียวเพื่อเน้นตัวอักษรที่กำลังเรียนรู้ โดยมีภาพประกอบตัวอักษรในแต่ละหน้า เพื่อสอนอ่านให้กับเด็กเล็ก ตัวอย่างของหนังสือนี้ ได้แก่ หนังสือ ก. ไก่ และ หนังสือ A B C <p>หนังสือ ก. ไก่ มีประวัติวิวัฒนาการมายาวนาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 มีการนำเอา ก ข ไปเขียนควบคู่กับตัวหวย จากนั้นจึงมีการคิดคำกำกับ ก ข ครบทั้ง 44 ตัว เพื่อให้เด็กจดจำได้ง่ายในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสมัยรัชกาลที่ 7 เริ่มมีการผูกกลอน เพื่อให้เด็กท่องจำได้ง่ายยิ่งขึ้น และมีกลอนกำกับ ก ข ตามมาอีกมากมาย แต่กลอนที่คนรุ่นปัจจุบันจำได้มากที่สุด คือ กลอนของบริษัทประชาช่าง จำกัด เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นมา (อเนก นาวิกมูล, 2536) <p>ในต่างประเทศ หนังสือ Alphabet Book มีวิวัฒนาการเริ่มต้นจาก Hornbooks ซึ่งปรากฏขึ้นครั้งแรกในศตวรรษที่ 15 ในยุโรปและอเมริกา แต่แรก Hornbook ทำด้วยแผ่นไม้มีด้ามถือ มีแผ่นหนังที่เขียนตัวอักษรติดไว้บนแผ่นไม้ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนสำหรับเด็กเล็ก ในศตวรรษที่ 18 มีการใช้กระดาษแข็งและพิมพ์ตัวอักษรบนกระดาษแข็ง เรียกว่า Battledores ใน Battledores นี้มีภาพประกอบด้วย จนกระทั่งปลายศตวรรษที่ 19 เมื่อการพิมพ์มีวิวัฒนาการดีขึ้นและมีความสะดวกในการเย็บเล่มหนังสือมากขึ้น จึงได้เริ่มมีการจัดพิมพ์หนังสือ ABC ในแบบที่หลากหลายมากขึ้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Alphabetization | การเรียงลำดับอักษร, Example: Alphabetization หมายถึง การเรียงลำดับอักษรในภาษานั้น ๆ ซึ่งนำมาใช้กับการจัดเรียงรายการในหนังสืออ้างอิง หรือบรรณานุกรม หรือการเรียงบัตรรายการของห้องสมุด โดยปรกติเป็นรายการผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง การเรียงลำดับอักษรนิยมใช้มากที่สุด 2 แบบ คือ การเรียงแบบอักษรต่ออักษร (letter-by-letter) และการเรียงแบบคำต่อคำ (word-by-word) <p>การเรียงแบบอักษรต่ออักษร เป็นการจัดเรียงโดยดูจากอักษรแต่ละตัว โดยไม่คำนึงว่าเป็นคำหรือไม่เป็นคำ ดังตัวอย่าง <p> New <p> Newel <p> Newfoundland <p> New Haven <p> Newton <p> New York <p> การเรียงแบบคำต่อคำ เป็นการจัดเรียงโดยดูจากอักษรทั้งหมดซึ่งประกอบกันเข้าเป็นคำแล้ว ดังตัวอย่าง <p> Book <p> Book binding <p> Book of English essays <p> Book of famous ship <p> Booking <p> Books [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Mooney viscosity | ความหนืดของยางดิบหรือยางคอมพาวด์ ทดสอบด้วยเครื่องวัดความหนืด Mooney viscometer ซึ่งเครื่องวัดดังกล่าวมีจานโลหะหมุนอยู่ในห้องใส่ยางภายใต้อุณหภูมิและความ ดันตามที่กำหนดไว้ การหมุนของจานโลหะในยางทำให้เกิดแรงบิด (torque) ขึ้น และจะขับให้สปริงรูปตัวยูเกิดการเคลื่อนที่ ใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาดการเคลื่อนที่ให้ออกมาเป็นมาตรที่เรียกว่า Mooney Viscosity เช่น 50 ML 1+4 (100C) 50 หมายถึง ค่าความหนืดที่วัดได้ในหน่วยมูนนี่ M หมายถึง Mooney L หมายถึง จานหมุนขนาดใหญ่ (ถ้าใช้จานหมุนขนาดเล็กให้ใช้อักษร S) 1 หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการอุ่นยางก่อนทดสอบ เป็นนาที 4 หมายถึง เวลาที่ใช้ในการทดสอบ เป็นนาที 100 degree C หมายถึง อุณหภูมิที่ใช้ในการทดสอบ [เทคโนโลยียาง] | Abbreviations | อักษรย่อ, คำย่อ [การแพทย์] | Braille | อักษรเบรลล์ [การแพทย์] | Figure Ground | อักษรจากพื้นภาพ [การแพทย์] | geometric mean (G.M.) | ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (มัชฌิมเรขาคณิต), ค่ากลางของข้อมูลชุดหนึ่งใช้อักษรย่อ G.M. หาได้จากสูตร เมื่อ Xi เป็นข้อมูลตัวที่ i และ N เป็นจำนวนข้อมูลทั้งหมด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | harmonic mean (H.M.) | มัชฌิมฮาร์มอร์นิก (เอชเอ็ม), ค่ากลางของข้อมูลชุดหนึ่งที่ได้จากการหารจำนวนข้อมูลทั้งหมดด้วยผลบวกของส่วนกลับของข้อมูลชุดนั้น ใช้อักษรย่อ H.M. [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | summation sign | เครื่องหมายรวมยอด, อักษรภาษากรีก เขียนแทนด้วย ∑ โดยทั่วไปหมายถึงผลบวกของตัวแปร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | direct current (DC) | กระแสตรง (ดีซี), กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรไฟฟ้าในทิศทางเดียวตลอดเวลา ใช้อักษรย่อ DC [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | alternating current (AC) | กระแสสลับ (เอซี), กระแสไฟฟ้าซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเป็นคาบทั้งในทิศและขนาดของกระแส ใช้อักษรย่อ AC [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | horse power (H.P.) | กำลังม้า, หน่วยของกำลัง ใช้อักษรย่อ H.P. 1 H.P. = 746 วัตต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | atomic mass unit | หน่วยมวลอะตอม, หน่วยมวลอะตอม หน่วยของมวลอะตอม ใช้อักษรย่อ u 1 u มีค่าเท่ากับ 1/12 เท่าของมวล C-12 หนึ่งอะตอม 1 u = 1.66 x 10-27kg [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | acid dissociation constant | ค่าคงที่การแตกตัวของกรด, ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่โมเลกุลหรือไออนที่เป็นกรดทำปฏิกิริยากับน้ำให้ไฮโดรเนียมไอออน นิยมใช้อักษรย่อ Ka เป็นค่าที่บอกให้ทราบว่ากรดใดจะแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+ ได้มากน้อยเพียงใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | symbol | สัญลักษณ์, เครื่องหมายหรือตัวอักษรที่ตกลงกันตั้งขึ้นแทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น แทนชื่อธาตุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | palindrome | พาลินโดรม, คำหรือวลีที่สามารถเขียนตัวอักษรเรียงย้อนกลับจากหลังไปหน้า หรือจากซ้ายไปขวา แล้วยังคงอ่านออกเสียงได้เหมือนเดิม เช่น กก, ยาย, DAD, MOM ซึ่งพาลินโดรม เป็นภาษากรีก แปลว่า วิ่งกลับไปที่เดิมอีก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Grade System, Letter | ระบบกำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นตัวอักษร [การแพทย์] |
| Guv, guv, where you going? Where's me letters? | Guv, guv, ที่คุณจะไปไหม ของฉันอยู่ที่ไหนตัวอักษร? In the Name of the Father (1993) | See you tomorrow morning, Scully. Bright and early. | นี่เป็นเหตุผลว่า ทำไม พวกเขาใส่อักษร "I" ไว้ในคำว่า F.B.I. Deep Throat (1993) | Come on. Let's get into character. | มาใน ให้ของได้รับเป็นตัวอักษร Pulp Fiction (1994) | - Respect for one's elders shows character. | - เคารพผู้อาวุโสคนหนึ่งแสดงให้เห็นตัวอักษร Pulp Fiction (1994) | - I have character. | - ฉันมีตัวอักษร Pulp Fiction (1994) | - Because you are a character doesn't mean that you have character. - [ Chuckles ] | - เพราะคุณเป็นตัวละครที่ไม่ได้หมายความว่าคุณมีตัวอักษร - [ หัวเราะหึ ๆ ] Pulp Fiction (1994) | Take a letter. | จดเป็นตัวอักษร The Great Dictator (1940) | Look, Giddy, a man of letters. | ดูหวิวคนของตัวอักษร Pinocchio (1940) | Just some letters on one of the fins. | มีเเต่ตัวอักษรไม่กี่ตัว บนครีบปีกข้างนึง Beneath the Planet of the Apes (1970) | The main character figured in a number of the previous stories | ตัวอักษรหลัก... ...เป็นรูปในตัวเลข of the เรื่องราวก่อนหน้า Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Today we'll write in Latin letters. | วันนี้เราจะเขีย- นเป็นตัวอักษรละติน Idemo dalje (1982) | Well, I've written a few letters for you. | ดีฉันได้เขียนตัวอักษรไม่กี่สำหรับคุณ Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | I see your name everywhere in a book, a crossword puzzle... a newspaper. | ฉันเห็นชื่อเธอทุกที่ ในหนังสือ, ในปริศนาอักษรไขว้... หนังสือพิมพ์. Cinema Paradiso (1988) | But in the Latin alphabet, Jehovah begins with an "I." | ในอักษรภาษาลาติน, ยะโฮวา เริ่มด้วย "I." Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | - Let's begin with the letter. | - ขอเริ่มต้นด้วยตัวอักษร The Russia House (1990) | I shall wish a book jacket that is only letters. No sensational drawings. Yes? | ฉันจะขอให้แจ็คเก็ตหนังสือที่เป็นตัวอักษรเท่านั้น ไม่มีภาพวาดที่น่าตื่นเต้น ใช่? The Russia House (1990) | He telephoned. He said "I have some medicine for you." Medicine is a letter. | เขาโทรศัพท์ เขากล่าวว่า "ผมมียาบางอย่างสำหรับคุณ." ยาเป็นตัวอักษร The Russia House (1990) | British Intelligence showed you the letter for the first time in Lisbon? | หน่วยสืบราชการลับของอังกฤษแสดงให้เห็นว่าคุณเป็นตัวอักษรเป็นครั้งแรกในลิสบอน? The Russia House (1990) | I've left a letter behind me just in case they don't know the difference. | ฉันซ้ายตัวอักษรที่อยู่ข้างหลังผมเพียงในกรณีที่พวกเขาไม่ทราบความแตกต่าง The Russia House (1990) | What Russian novel, embracing more than 500 characters is set in the Napoleonic Wars? | สิ่งที่รัสเซียนวนิยายกอดมากกว่า 500 ตัวอักษร ... ... ตั้งอยู่ในโปเลียน? Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | Sorry, honey, I gotta go. There´s an onslaught of initials coming at me. | ไปล่ะนะ เจ้าแม่อักษรย่อบุกแล้ว Nothing to Lose (1997) | We're doing this whole black literature unit. | เราจะต้องเรียนเรื่องทั้งหมดเกี่ยวกับอักษรของคนผิวดำ American History X (1998) | All fucking lawyers gots initials in the middle of their names | พวกทนายเฮงซวย มีชื่ออักษรย่ออยู่ตรงกลาง The Legend of 1900 (1998) | In Hebrew, characters and numbers. | - ในตัวเลขและตัวอักษรฮีบรู Pi (1998) | The true name, which only the Cohanim knew, was 216 letters long. | พระนามแท้จริง ซึ่งมีแต่ โคฮานิม เท่านั้นที่รู้ มีความยาว 216 ตัวอักษร Pi (1998) | It's an anagram. What's it prove? | มันเป็น Anagram (การสลับอักษรเพื่อให้ได้คำใหม่) พิสูจน์อะไร? Brokedown Palace (1999) | And the symbol for radium and the abbreviation for regular army. | และก็รู้จักสัญลักษณ์แสดงเรเดียม และก็อักษรย่อของกองทัพ The Story of Us (1999) | Four letters, "feeling of psychological discomfort." | สี่ตัวอักษร "จิตใจไม่สดชื่น" The Story of Us (1999) | -Five-Ietter word. | - ห้าตัวอักษร The Story of Us (1999) | It was just a clue in a crossword puzzle. | มันบอกใบ้เป็นนัยอยู่แล้ว ในเกมทายตัวอักษรนี่นา The Story of Us (1999) | Maybe you need new letters. | คุณอาจต้องการตัวอักษรใหม่นะ Ken Park (2002) | Character. What kind of a character? | ตัวอักษร ชนิดของตัวอักษรหรือไม่ Showtime (2002) | - Isabelle! - The first letter of the first word. | - ตัวอักษรแรกของคำล่ะ The Dreamers (2003) | One, uh, minor note here. | หนึ่ง, อ่า, ตัวอักษรเล็กๆตรงนี้. Toy Story (1995) | of civilizations out there... | จะมีอักษรล้าน Contact (1997) | - Give me the letters for her password. | - ขอตัวอักษรที่เป็นรหัสผ่าน. National Treasure (2004) | Gentlemen... why is this word capitalised? | ท่านสุภาพบุรุษ... ทำไมคำนี้ถึงใช้อักษรตัวใหญ่ ? National Treasure (2004) | When Ben Franklin was only 15 years old he secretly wrote 14 letters to his brother's newspaper pretending to be a middle-aged widow named Silence Dogood. | ตอน เบน แฟรงคลินอายุ 15 เขาเขียนอักษรลับ 14 ตัว ไปให้หนังสือพิมพ์ของพีชาย โดยปลอมเป็นหม้ายวัยกลางคน ชื่อ ไซเรนท์ ดูกู๊ด. National Treasure (2004) | - What's an Ottendorf cipher? | - อะไรคืออักษรไขว้ อ๊อดโทด๊อฟr? National Treasure (2004) | - It's an Ottendorf cipher. | - มันคืออักษรไขว้ อ๊อดโทด๊อฟ. National Treasure (2004) | Each of these three numbers corresponds to a word in a key. | อักษร3ตัวของแต่ละชุด บอกถึงคำของกุญแจ. National Treasure (2004) | Go get the last four letters. | ไปเอาอักษร4ตัวสุดท้ายได้แล้ว. National Treasure (2004) | Well, I thought the cipher was the map. | ฉันคิดว่าอักษรไข้วเป็นแผนที่. National Treasure (2004) | No, the cipher was a way to find the way to read the map. | ไม่ใช่ ! อักษรไขว้เป็นรหัส เพื่อหาวิธีอ่านแผนที่. National Treasure (2004) | Just a bunch of letters. | แค่ตัวอักษร. National Treasure (2004) | I think it's a mistake to think of these letters as meaning something. | ฉันคิดว่ามันเป็นความผิดพลาดที่จะคิดว่าตัวอักษรเหล่านี้เป็นความหมายอะไรบางอย่าง Cubeº: Cube Zero (2004) | I mean half of them don't even notice the letters, Let alone map them. | ผมหมายถึงครึ่งหนึ่งของพวกเขาไม่ได้แจ้งให้ทราบตัวอักษรนับประสาแผนที่พวกเขา Cubeº: Cube Zero (2004) | No it happens, and then she'll figure out the letters and uhh... sail through. | ไม่มีมันเกิดขึ้นและแล้วเธอก็จะคิดออกตัวอักษรและเอ่อ ... แล่นเรือผ่าน Cubeº: Cube Zero (2004) | We don't even know what the letters mean yet. | เราไม่ได้รู้ว่าสิ่งที่ตัวอักษรยังหมายถึง Cubeº: Cube Zero (2004) | Yeah but we've got letters that so far tell us absolutely nothing. | ใช่ แต่เรามีตัวอักษรที่จนถึงขณะนี้บอกเราไม่มีอะไรแน่นอน Cubeº: Cube Zero (2004) |
| อักษร | [aksøn] (n) EN: letter (of alphabet) ; alphabet FR: lettre (de l'alphabet) [ f ] ; consonne [ f ] ; caractère (alphabétique) [ m ] ; alphabet [ m ] | อักษรโบราณ | [aksøn bōrān] (n, exp) EN: paleography | อักษรควบ | [aksøn khūap] (n, exp) EN: consonant cluster ; compound consonants FR: doublet consonantique [ m ] ; séquence consonantique [ f ] | อักษรกล้ำ | [aksøn klam] (n, exp) EN: diphthong FR: diphtongue [ f ] | อักษรกลาง | [aksøn klāng] (n, exp) EN: medium tone consonant ; middle-class letters FR: consonne moyenne [ f ] | อักษรล้วน | [aksøn lūan] (n) FR: allitération [ f ] | อักษรปริศนา | [aksøn pritsanā] (n, exp) EN: crossword puzzle FR: mots croisés [ mpl ] | อักษรโรมัน | [aksøn rōman] (n, exp) EN: Roman alphabet ; Latin alphabet FR: alphabet roman [ m ] | อักษรสามหมู่ | [aksøn sām mū] (n, exp) FR: les trois classes de consonnes [ fpl ] ; les trois classes consonantiques [ fpl ] | อักษรศาสตร์ | [aksønsāt] (n) EN: arts ; liberal arts ; literature | อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต | [aksønsāt dutsadibandit] (n, exp) EN: Doctor of Arts; D.A | อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต | [aksønsāt mahābandit] (n, exp) EN: Master of Arts ; M.A. | อักษรเสียงกลาง | [aksøn sīeng klāng] (n, exp) EN: medium tone consonant ; middle-class letters FR: consonne moyenne [ f ] | อักษรเสียงสูง | [aksøn sīeng sūng] (n, exp) EN: high-level consonant ; high-class letter FR: consonne haute [ f ] | อักษรเสียงต่ำ | [aksøn sīeng tam] (n, exp) EN: low-tone consonants ; low-class letters ; low consonant FR: consonne basse [ f ] | อักษรสูง | [aksøn sūng] (n, exp) EN: high-level consonant ; high-class letter FR: consonne haute [ f ] | อักษรต่ำ | [aksøn tam] (n, exp) EN: low-tone consonants ; low-class letters ; low consonant FR: consonne basse [ f ] | อักษรไทย | [aksøn Thai] (n, exp) EN: Thai alphabet FR: alphabet thaï [ m ] | อักษรตัวเล็ก | [aksøn tūa lek] (n, exp) EN: small letter FR: lettre minuscule [ f ] | อักษรตัวใหญ่ | [aksøn tūa yai] (n, exp) EN: capital letter FR: lettre capitale [ f ] ; lettre majuscule [ f ] ; capitale [ f ] | อักษรย่อ | [aksøn yø] (n) EN: abbreviation ; acronym FR: abréviation [ f ] ; acronyme [ m ] | อักษรศาสตร์ | [aksørasāt = aksønsāt] (n) EN: arts ; liberal arts ; literature FR: littérature [ f ] | บัตรเรียงอักษร | [bat rīeng aksøn] (n, exp) EN: card index FR: fichier de cartes [ m ] | จัดตามลำดับอักษร | [jat tām lamdap aksøn] (v, exp) EN: order alphabeticall ; arrange alphabeticall FR: classer alphabétiquement | การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง | [kān thøt aksøn Thai pen aksøn Rōman baēp thāi sīeng] (n, exp) EN: Thai romanization FR: romanisation du thaï [ f ] | คณะอักษรศาสตร์ | [khana aksønsāt] (n, exp) EN: faculty of arts | ขนาดอักษร | [khanāt aksøn] (n, exp) EN: font size FR: taille de la police (de caractères) [ f ] | คีย์ตัวอักษร | [khī tūa aksøn] (n, exp) EN: aphabetic keys FR: touche alphabétique [ f ] ; clavier alphabétique [ m ] | กลุ่มอักษรกลาง | [klum aksøn klāng] (n, exp) FR: classe des consonnes moyennes [ m ] | กลุ่มอักษรสูง | [klum aksøn sūng] (n, exp) FR: classe des consonnes hautes [ f ] | กลุ่มอักษรต่ำ | [klum aksøn tam] (n, exp) FR: classe des consonnes basses [ f ] | กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร | [kotmāi thī mai pen lāilakaksøn] (n, exp) EN: unwritten law FR: loi non écrite [ f ] | ลายลักษณ์อักษร | [lāilakaksøn] (n) EN: writing | ลำดับอักษร | [lamdap aksøn] (n, exp) EN: alphabetical order FR: ordre alphabétique [ m ] | ปริศนาอักษรไขว้ | [pritsanā-aksønkhwai] (n) EN: crossword puzzle FR: mots croisés [ mpl ] = mots-croisés [ mpl ] | รหัสตัวอักษร | [rahat tūa-aksøn] (n, exp) EN: alphabetic code | เรียงตามอักษร | [rīeng tām aksøn] (v, exp) EN: sort FR: classer par ordre alphabétique ; trier alphabétiquement | เรียงตามอักษร | [rīeng tām aksøn] (adj) EN: alphabetical FR: alphabétique | เรียงตามลำดับอักษร | [rīeng tām lamdap aksøn] (adj) EN: alphabetical | เรียงตามตัวอักษร | [rīeng tām tūa-aksøn] (adj) EN: alphabetical FR: alphabétique | สายตัวอักษร | [sāi tūa aksøn] (n, exp) EN: alphabetic string FR: chaîne alphabétique [ f ] | สัมผัสอักษร | [samphat aksøn] (n, exp) EN: alliteration ; initial rhyme ; beginning rhyme ; head rhyme | สัทอักษรสากล | [sat aksøn sākon] (n, exp) EN: International Phonetic Alphabet (IPA) | สัทอักษร | [sattha-aksøn] (n) EN: phonetic alphabet | ตามลำดับอักษร | [tām lamdap aksøn] (adv) EN: alphabetically FR: alphabétiquement | ตามตัวอักษร | [tām tūa-aksøn] (adv) EN: literally FR: à la lettre | ตัวอักษร | [tūa-aksøn] (n) EN: alphabetic character ; script ; alphabet FR: lettre (de l'alphabet) [ f ] ; caractère alphabétique [ m ] ; alphabet [ m ] | ตัวอักษรไท | [tūa-aksøn thai] (n, exp) EN: Thai alphabet FR: alphabet thai [ m ] | ตัวอักษรทั้งหมด | [tūa-aksøn thangmot] (n) EN: alphabet FR: alphabet [ m ] | ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง | [tūa-aksøn thī mai øksīeng] (n, exp) EN: silent letter FR: lettre silencieuse [ f ] ; lettre muette [ f ] |
| Silent Wave Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Nikon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร AF-S, See also: SWF, USM | Ultra Sonic Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Canon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร USM, See also: USM, SWF | military police | (n) สารวัตรทหาร อักษรย่อคือ สห. | blog | (n) เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้, See also: weblog, web diary, Syn. online diary | anagram | (n) การเรียงอักษรเพื่อให้เกิดคำใหม่ เช่น A large list of funny and interesting anagrams, which are words or phrases that can be reordered to form new words or phrases. | RWY | (abbrev) อักษรย่อของ runway ทางวิ่งของเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วจะมีตัวเลข 2 หลักแสดงต่อทางด้านหลังเพื่อแสดงทิศที่มุ่งไป, See also: TWY |
| a | (n) อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ | A.B. | (abbr) อักษรศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Artium Baccfalaureus เท่ากับ Bachelor of Arts), See also: ศิลปศาสตรบัณฑิต | abbreviation | (n) อักษรย่อ, See also: คำย่อ, ตัวย่อ, ชื่อย่อ, Syn. acronym, initialism | affidavit | (n) คำให้การที่เป็นลายลักษณ์อักษร | aleph | (n) ชื่อของอักษรตัวแรกในภาษาฮิบรู | alliterate | (vi) สัมผัสอักษร | alliterate | (vt) สัมผัสอักษร | alliteration | (n) การสัมผัสอักษร | alphabet | (n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. letters, syllabary, characters | alphabetic | (adj) ที่เรียงตามลำดับอักษร, Syn. alphabetical | alphabetical | (adj) ที่เรียงตามลำดับอักษร, Syn. alphabetic | alphabetize | (vt) จัดตามลำดับอักษร, Syn. arrange alphabetically | beta | (n) อักษรตัวที่ 2 ของภาษากรีก (ตัวย่อคือ b) | braille | (n) ระบบการพิมพ์อักษรเบลล์สำหรับคนตาบอด | braille | (vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์ | C | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ | c | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ | cap | (n) อักษรตัวใหญ่, Syn. capital letter | capital letter | (n) ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ | capitalize | (vt) ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ | capitalize | (vi) ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ | card catalog | (n) กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษร, Syn. card index | card index | (n) กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษร, Syn. card catalog | caret | (n) สัญลักษณ์รูปตัววีคว่ำที่ใช้ในการตรวจพิสูจน์อักษร (เพื่อแสดงว่ามีส่วนที่ต้องเติมเข้าไป) | cedilla | (n) สัญลักษณ์ที่วางใต้ตัวอักษร C เพื่อแสดงว่าออกเสียงเหมือนเสียง S ไม่ใช่เสียง K (ในภาษาฝรั่งเศส) | character | (vt) สลักอักษร, See also: แกะสลักอักษร, Syn. engrave | character | (n) อักษร, See also: อักขระ, สัญลักษณ์, ตัวอักษร, Syn. grapheme, graphic symbol | crossword | (n) ปริศนาอักษรไขว้, Syn. crossword puzzle | crossword puzzle | (n) ปริศนาอักษรไขว้, Syn. crossword | cue | (n) อักษรคิว, See also: อักษร q | cursive | (adj) ที่เขียนแบบตัวอักษรต่อกันไป | dirty word | (idm) คำสบถ, See also: คำหยาบ, คำสี่ตัวอักษร ต้องห้าม | delta | (n) อักษรกรีกตัวที่ 4 (ตัวอักษรย่อคือ d) | diacritic | (n) เครื่องหมายแสดงการออกเสียงบนหรือล่างตัวอักษร | diphthong | (n) การออกเสียงสระควบ, See also: การออกเสียงอักษรควร, Syn. triphthong, voice | diphthong | (n) อักษรควบ, See also: สระควบ | elite | (n) ตัวพิมพ์ดีดแบบหนึ่ง มีขนาด 12 ตัวอักษรต่อความยาว 1 นิ้ว, See also: แบบของตัวพิมพ์ที่มีขนาด 12 ตัวอักษรต่อ 1 นิ้ว น้อยกว่า 5 ตัวอักษรต่อ 1 เซนติเมตร | FA | (abbr) อักษรย่อของชมรมฟุตบอล (Football Association) | Faculty of Arts | (n) คณะอักษรศาสตร์ | flourish | (n) การตกแต่งตัวอักษรด้วยการขมวดหัวหรือใช้เส้นโค้ง, Syn. curlicue, embellishment | hectogram | (n) หน่วยการชั่งน้ำหนักตามมาตราเมตริกมีค่าเท่ากับ 100 กรัม ใช้อักษรย่อ hg., See also: เฮกโตกรัม, Syn. hectogramme | hektogram | (n) หน่วยการชั่งน้ำหนักตามมาตราเมตริกมีค่าเท่ากับ 100 กรัม ใช้อักษรย่อ hg. | hieroglyphic | (adj) เกี่ยวกับอักษรอียิปต์โบราณ | in black and white | (idm) อย่างเป็นทางการ, See also: เป็นลายลักษณ์อักษร | know one's ABC | (idm) เข้าใจตัวอักษร, See also: รู้พื้นฐานของบางสิ่ง | initial | (vt) ลงชื่อแรก, See also: เซ็นชื่อแรก / อักษรแรกของชื่อ, Syn. underwrite, sign, endorse, inscribe | initial | (n) อักษรแรกของชื่อ | italic | (n) ตัวอักษรแบบตัวเอน | italic | (adj) ที่เอนไปทางขวา (ตัวอักษร) | joule | (n) หน่วยวัดพลังงานทางฟิสิกส์ (อักษรย่อคือ J) |
| * | เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ | a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ | a.b. | abbr. Artium Baccalaureus (Bachelor of Arts, อักษรศาสตรบัณฑิต) able-bodied seaman (ทหารหรือชั้นสอง) | a.m. | abbr. Master of Arts อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. a. m. | abecedarian | (เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน | acronym | (แอค' โรนิม) n. คำย่อจากพยัญชนะตัวแรกหลายคำ. -acronymic adj. คำย่อรัสพจน์หมายถึง คำย่อที่เกิดจากการนำอักษรตัวแรก หรือกลุ่มอักษรบางตัวมาสร้างขึ้นเป็นคำใหม่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่สองตัวขึ้นไป นิยมออกเสียงเหมือนคำปกติ เช่น DOS ซึ่งเอาอักษร D มาจากคำว่า Disk อักษร O มาจาก คำ Operating และ S มาจากคำว่า System คำนี้จะอ่านออกเสียงว่า "ดอส" แทนที่จะอ่านว่า ดีโอเอส คำย่อประเภทนี้ นิยมใช้กันมากใน วงการคอมพิวเตอร์ เช่น BASIC ซึ่งย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ก็อ่านว่า "เบสิก" | adscript | (แอด' สคริพท) adj., n. เขียนตามหลัง, อักษรที่เขียนตามหลัง | affidavit | (แอฟฟิเด'วีท) n. คำให้การเป็นลายลักษณ์อักษร (written statement made on oath) | aitch | (เอค) n. ตัวอักษร H, h | alcoholics anonymous | สมาคมอดเหล้าของอเมริกา ใช้อักษรย่อว่า AA หรือ A. A. | aleph | (อา' ลิฟ) n. อักษรตัวแรกของพยันะ Hebrew | alfa | (แอล' ฟา) n. อักษรสื่อสารที่หมายถึง A | alliterate | (อะลิท' เทอเรท) vt., vi. สัมผัสอักษรพยางค์, ทำให้คำแรกสัมผัสอักษรกัน | alliteration | (อะลิทเทอเร' เชิน) n. การสัมผัสอักษร, วิธีสัมผัสอักษรพยางค์ (of a word group) | alphabet | (แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. | alphabetic character | ตัวอักษรหมายถึงตัวอักขระที่เป็นตัวอักษร เช่น A-Z หรือ ก-ฮ (ไม่รวมตัวเลข หรือหรือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายพิเศษต่าง ๆ) มีความหมายเหมือน alphabet | alphabetic code | รหัสตัวอักษร <คำแปล>เป็นรหัสตัวอักษรที่ส่งเข้าคอมพิวเตอร์แล้วคอมพิวเตอร์สามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำได้ ตัวอักษร 1 ตัวจะใช้รหัสเป็นชุดของบิต 1 ชุดเรียกว่า "ไบต์" (byte) ดู byte ประกอบ | alphabetic string | สายตัวอักษรหมายถึงตัวอักขระหลาย ๆ ตัวที่เมื่อนำมาต่อกันแล้วสื่อความหมายบางอย่างและสามารถนำไปเก็บในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสื่อชนิดต่าง ๆ ได้มีความหมายเหมือน character string | alphabetical | (แอลฟาเบท' ทิเคิล) adj. เรียงตามอักขรานุกรม, เรียงตามอักษร, เกี่ยวกับอักษรหรืออักขระ., Syn. alphatic | alphameric | อักขระที่เป็นตัวเลขอักษรเลขหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข | alphanumeric characters | หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข | alt key | แป้นสลับเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ ALT (ย่อมาจาก alternate) อยู่บนแป้น แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล | alternate key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ (มีคำ ALT อยู่บนแป้น) แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล | angstrom | (แอง' สทรอม) n. หน่วยความยาวที่เท่ากับ 1/10 ของมิลลิไมครอน, มีอักษรย่อว่า A, A.U., a.u. | ansi character set | ชุดตัวอักขระของแอนซีหมายถึง การกำหนดตัวอักขระต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์ใช้ ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ โดยปกติจะประกอบด้วยตัวอักษรธรรมดาซึ่งมีอยู่ 26 ตัว (A-Z) และตัวเลข 10 ตัว (0-9) และยังมีสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เช่น % | apheresis | (อะเฟอ'รีซิส) n. การขาดอักษรหรือขาดเสียงตอนเริ่มต้นคำ เช่น account เป็น count. -apheretic adj. | apocopate | (อะพอด'คะเพท) vt. ทำให้สั้นโดยการขาดอักษรหรือพยางค์ท้ายของคำ (shorten) | apocope | (อะพอค'โคพี) n. อักษรหรือพยางค์ตัวสุดท้ายขาดหายไป. -apocopic adj. | asterisk | (แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ | astronomical unit | หน่วยความยาวที่เท่ากับระยะทางระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก ยาวประมาณ 93 ล้านไมล์ ใช้อักษรว่า AU | attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น | automatic data processing | ขบวนการป้อนข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้อักษรย่อว่า ADP | b.a. | abbr. Bachelor of Arts อักษรศาสตรบัณฑิต, British America | backspace key | ปุ่มย้อนถอยหลัง <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ บางทีมีขนาดยาวกว่าแป้นพิมพ์อื่น บางทีมีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรหันหัวลูกศรไปทางซ้าย (บางทีมีคำ BS) โปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรมกำหนดไว้ว่า การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถอยไปทางซ้าย 1 ตัวอักษร และลบตัวอักษรทางซ้ายนั้นออกให้ด้วย | bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น | baud | (บอด) เป็นหน่วยวัดความเร็วของการถ่ายโอนข้อมูลผ่านโมเด็ม 1 บอดเท่ากับจำนวนบิตที่ส่งได้ใน 1 ครั้ง ถ้าส่งได้ครั้งละ 2 บิต 1 บอดก็จะเท่ากับ 2 บิต โมเด็มจะดีหรือไม่ ก็ดูที่ความเร็วจากหน่วยวัดนี้ โดยปกติ เท่าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีขนาดความเร็ว 300 บอด (ประมาณ 37 ตัวอักษร) และ 1, 200 บอด (ประมาณ 150 ตัวอักษร) | beta | (เบ'ทะ) n. อักษรตัวที่สองของพยัญชนะกรีก, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มอะตอมในสารประกอบ, สารประกอบ isomer, อนุภาค beta | binary code | รหัสฐานสองหมายถึง การใช้รหัสเลขฐานสองแทนตัวอักษร ตัวเลข และตัวอักขระ พิเศษต่าง ๆ โดยใช้เพียงเลข 0 และ 1 รหัสที่นิยมใช้กันอยู่มีหลายรหัสเช่น เอ็บซีดิก (EBCDIC) , แอสกี (ASCII) , บีซีดี (BCD) คอมพิวเตอร์ของแต่ละบริษัทจะเลือกใช้รหัสหนึ่งในการแทนข้อมูล | bit | (บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ | bitmapped font | แบบอักษรบิตแมปหมายถึง แบบอักษรที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ รวมตัวกันที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) เมื่อขยายขนาดให้ใหญ่ จะเห็นรอยหยัก ๆ ไม่เรียบสวย กับทั้งยังเปลืองที่เก็บมาก ดู bitmapped image ประกอบ | bookish | (บุค'คิช) adj. ชอบอ่านหนังสือ, ชอบศึกษา, หนอนหนังสือ, เกี่ยวกับหนังสือ, เกี่ยวกับอักษรศาสตร์, See also: bookishness n., Syn. erudite | built-in font | แบบอักษรที่ติดมากับเครื่องพิมพ์เครื่องพิมพ์ทุกเครื่องจะมีแบบอักษรที่ติดมากับเครื่องอย่างน้อยหนึ่งแบบ แต่ผู้ใช้ก็สามารถติดตั้งเพิ่มเติมได้ | bullet | (บูล'ลิท) { bulletted, bulletting, bullets } n. กระสุนปืน, กระสุน, หัวกระสุน, ลูกตะกั่ว, ลูกกลม เล็ก. vi. เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วมาก, Syn. shot เครื่องหมายนำสายตา จุดนำหมายถึงสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ที่นำมาวางหน้าข้อความ หรือหัวข้อเพื่อเน้นให้ดูเด่นหรือเห็นชัดขึ้นเช่น* ตัวอักษร* ตัวเลข* เครื่องหมายต่าง ๆ | byte | (ไบทฺ) n. หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่ากับ 1 อักขระหรือ 8 บิต, ข้อมูลจำนวน 8 บิต, ชุดของบิต (bit) ซึ่งคอมพิวเตอร์จัดไว้สำหรับเก็บข้อมล 1 ชุด คอมพิวเตอร์ต่างชนิดจะจัดชุดของบิตไว้ไม่เท่ากัน เช่น เครื่อง IBM 360 จัดบิตไว้เป็นชุด ๆ ละ 8 บิต เรียกว่า ไบต์ โดยปกติ ใช้เป็นหน่วยวัดขนาดของหน่วยความจำ หรือจานบันทึกว่า มีขนาดเก็บได้กี่ตัวอักษร หน่วยวัดที่ใช้กันนั้น วัดกันเป็นกิโลไบต์ (kilobyte) เรียกว่า K byte เท่ากับประมาณ 1 พันไบต์ หรือหนึ่งพันตัวอักษร, เมกะไบต์ (mega byte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านไบต์ , กิกะไบต์ (gigabyte) เท่ากับประมาณ 1 พันล้านไบต์ และเทราไบต์ (terabyte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านล้านไบต์เช่น เราอาจพูดว่า ฮาร์ดดิสก์ในเครื่องนี้มีขนาดความจุ 2 กิกะไบต์ (หมายความว่าสามารถเก็บข้อความได้สองพันล้านตัวอักษร) อนึ่ง หน่วยวัดที่นิยมใช้มีดังนี้ 1 KB (kilobyte) = 1, 024 ไบต์ 1 MB (Megabyte) = 1, 048, 576 ไบต์ (หรือ 1, 024 Kbytes) 1 GB (gigabyte) = 1, 073, 741, 824 ไบต์ (หรือ 1, 024 Mbytes) 1 TB (terabyte) = 1, 099, 511, 627, 776 ไบต์ (หรือ 1, 024 Gbytes) | capitalize | (แคพพิท'ทะไลซ) { capitalized, capitalised, capitalizing, capitalising, capitalizes, capitalises } vt. เขียนหรือพิมพ์ด้วยอักษรตัวใหญ่, เสนอทุนให้, ให้ทุน, ประเมินค่าของหลักทรัพย์หรือหุ้น, ใช้ประโยชน์ของ, See also: capitalisation n. ดู capitalize, capitalizat | caps lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ Caps lock อยู่บนแป้น ปกติจะมีในเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดาด้วย หากกดแป้นนี้ไว้ครั้งหนึ่งแล้ว ถ้าเป็นการพิมพ์ภาษาอังกฤษ จะมีผลทำให้การกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรทุกตัวออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ไปตลอด เหมือนกดแป้น Shift ไปพร้อมกัน แต่ถ้าพิมพ์ภาษาไทย การกดแป้นนี้ไว้ตั้งแต่แรก แล้วไปกดแป้นอื่น ก็จะเท่ากับเป็นการพิมพ์ตัวที่อยู่ข้างบนของแป้นพิมพ์ เช่น ฤ ฆ ฏ 1 2 หากต้องการยกเลิก ให้กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง | card code | รหัสบัตรหมายถึง รหัสที่ใช้กับบัตร มีลักษณะเป็นรูสี่เหลี่ยมที่เจาะในแต่ละคอลัมน์ของบัตร เช่น ถ้าเจาะตำแหน่งคอลัมน์ที่ 12 และ 1 หมายถึงอักษร A ถ้าเจาะที่ตำแหน่งคอลัมน์ที่ 0 และ 9 หมายถึงอักษร Z เป็นต้น รหัสนี้บางทีเรียกรหัสฮอลเลอริท (Hollerith code) เพราะดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Dr. Hermann Hollerith) เป็นผู้กำหนดไว้ ดู card ประกอบ | card punch | อุปกรณ์เจาะบัตรหมายถึง อุปกรณ์แสดงผล (output device) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องเจาะบัตร หรือ เครื่องที่ใช้บันทึกข้อความลงบนบัตรด้วยการเจาะรู ซึ่งเป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษอื่น ๆ ต่างกับเครื่องเจาะบัตรที่เรียกว่า keypunch กล่าวคือ keypunch เป็นเครื่องเจาะบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ (คนเป็นผู้เจาะ) แต่ card punch เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดู keypunch เปรียบเทียบ | card sorter | เครื่องเรียงบัตร <คำแปล>หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้สำหรับเรียงลำดับบัตรที่มีข้อมูลเจาะไว้แล้ว เครื่องนี้จะสามารถอ่านข้อมูลบนบัตรแล้วจัดการเรียงลำดับให้ เช่น ถ้าเป็นจำนวนเลข ก็จะเรียงจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย หรือถ้าเป็นตัวอักษร อาจเรียงตามลำดับตัวอักษรให้ก็ได้ | cardamom | n. กระวานคอลัมน์ (ของบัตร) สดมภ์ (ของบัตร) หมายถึง คอลัมน์หรือตำแหน่งเจาะตามแนวตั้งของบัตร บัตรทั่วไปจะมี 80 คอลัมน์ ในการเจาะแต่ละคอลัมน์นั้น ถ้าเจาะรูเดียว จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวเลข ถ้าเจาะ 2 รูในหนึ่งคอลัมน์จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวอักษร ถ้าเจาะ 1-3 รู อาจเป็นเครื่องหมายบางตัว เช่น + (บวก) - (ลบ) ฯลฯดู Hollerith code ประกอบ |
| affidavit | (n) คำให้การเป็นลายลักษณ์อักษร | alga | (n สาหร่าย, อักษร) a | alliteration | (n) การเล่นอักษร, การสัมผัสอักษร | alphabet | (n) ตัวพยัญชนะ, ตัวอักษร, อักขระ | alphabetical | (adj) ตามตัวอักษร | alphabetize | (vt) เรียงตามตัวอักษร | anagram | (n) คำที่ได้จากการสลับที่ตัวอักษร | character | (n) ความประพฤติ, ลักษณะ, อุปนิสัย, ตัวอักษร, เครื่องหมาย, ตัวละคร | cipher | (n) รหัส, อักษรไขว้, สัญลักษณ์ลับ | code | (n) ประมวลกฎหมาย, อักษรลับ, สัญญาณลับ, รหัส | consonant | (n) ตัวอักษร, ตัวพยัญชนะ | copyreader | (n) คนตรวจสอบ, บรรณาธิการ, คนพิสูจน์อักษร | initial | (n) อักษรไขว้, คำย่อ, ชื่อย่อ, ชื่อแรก | key | (n) ลูกกุญแจ, เงื่อนไข, แป้นอักษร, หัวใจ, ระดับเสียง, สลัก, คู่มือ | keyboard | (n) แป้นตัวอักษร, ก้านดีดเปียโน | letter | (n) จดหมาย, ตัวอักษร, ตัวหนังสือ, เอกสาร, หนังสือ, ตัวพิมพ์ | letters | (n) อักษรศาสตร์, วรรณคดี, การประพันธ์ | literal | (adj) ตามตัวอักษร, แท้จริง | literally | (adv) เป็นไปตามตัวอักษร, อย่างแท้จริง | literary | (adj) ทางวรรณคดี, เกี่ยวกับการประพันธ์, ในเชิงอักษรศาสตร์ | literature | (n) วรรณกรรม, วรรณคดี, การประพันธ์, อักษรศาสตร์ | monogram | (n) ชื่อย่อ, พระปรมาภิไธยย่อ, อักษรไขว้ | tittle | (n) เครื่องหมายบนตัวอักษร, จุด, ชิ้นน้อย, อนุภาค | verbal | (adj) เกี่ยวกับคำกริยา, ตามตัวอักษร, เป็นวาจา | verbatim | (adv, adj) ทุกตัวอักษร, คำต่อคำ, ทุกคำ |
| alphabetize | [อัลฟ่าบีไทส์] (aux, verb) เรียงตามลำดับตัวอักษร | BBier | [บีบี'เออร์] (n) นักพกบีบี, สิ่งมีชีวิตที่มีชื่อจริง และนามสกุลเป็นรหัสอักษรและเลข8ตัว | cfs : container freight station | [ซีเอ็ฟเอ็ส : คอนเท็นเน่อร์เฟรจสเตชั่น] (n) บริการนำสินค้าใส่ตู้และนำออกจากตู้ที่สถานีขนถ่ายสินค้าในตู้คอนเท็นเน่อร์ ผู้ส่งออกต้องนำตัวสินค้าไปส่งมอบให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งที่ต้นทาง เพื่อให้ผู้ประกอบการขนส่งบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์ให้ CFS Charge จะเรียกเก็บจากผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้าแล้วแต่กรณีของ INCOTERMS® หากขึ้นต้นด้วยตัวอักษร C เช่น CPT หรือ CIP จะเก็บจากผู้ส่งออก หากขึ้นต้นด้วยอักษร F เช่น FCA จะเก็บจากผู้นำเข้า และค่าบริการนี้จะรวมถึงเมื่อตู้สินค้าถึงปลายทางตัวแทนผู้ประกอบการที่ปลายทางจะทำการเปิดตู้นำสินค้าออกให้ที่ CFS เช่นเดียวกัน : awp | hashtag | (n, uniq) ดัชนีถ้อยคำ, เครื่องหมาย # นำหน้าอักษร, keywords | ideographic | [ไอดีออแกรฟ'ฟิค] (adj) ภาพแสดงความหมาย ตัวอักษรแสดงความหมาย เช่น ตัวอักษรภาษาจีน | infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network | kerning | [เคิน-นิ่ง] (n) การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัว "อักษรสองตัว" ให้มากขึ้นจากระยะปกติที่กำหนดไว้ในมาตรฐานของรูปแบบตัวอักษรนั้นๆ ส่วนใหญ่พบได้ในโปรแกรมพิมพ์งานต่างๆ เช่น Microsoft Word เป็นต้น เช่น การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัวอักษร "ก" กับ "า" ในคำว่า "การ" จะได้ผลเป็น "ก าร" (มีช่องว่างหนึ่งช่องระหว่าง ก ไก่ กับสระอา //อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Kerning, See also: tracking, Syn. kern Image: | knowledge management | (n) เป็นวิชาที่ว่าด้วยการจัดการความรู้ มีตัวอักษรย่อ (KM) คือ การจัดการความรู้ในองค์กรไม่ให้หายไป (สมองไหล) - เมื่อมีสมาชิกในองค์กรคนหนึ่งคนใดหายไปเพื่อไม่ให้ความรู้หายไปด้วย | lettering | การประดิษฐ์ตัวอักษร | oz | (abbrev) อักษรย่อของหน่วยวัดน้ำหนักเป็นออนซ์ | Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ | philological | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องภาษาที่ใช้ในอักษรศาสตร์ เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ | phonetic alphabet | (n) อักษรสะกดคำ(หรือเรียกเป็นบาลีให้ยากว่า สัทอักษร) เช่น Delta หมายถึงอักษร D หรือ Echo หมายถึงอักษร E เป็นต้น | phonetic alphabet | (n) คำสะกดอักษร(หรือเรียกเป็นบาลีให้ยากว่า สัทอักษร) เช่น Delta หมายถึงอักษร D หรือ Echo หมายถึงอักษร E เป็นต้น | sdrawkcab | (n, vt) การกลับด้านตัวอักษร เหมือนส่องกระจก | shit hit the fan | (phrase) คำอุทานเมื่อมีเรื่องร้ายแรงเกิดขึ้น หรือเมื่อความผิดที่ปกปิดเป็นที่ปรากฏต่อสาธารณะ (แปลตามตัวอักษรคือ อุจจาระถูกใบพัดลมหมุนปัดกระจายไปทั่ว) | Virus { m, n } | Viren { pl } | (n) ต้องการความหมายของอักษร | Virus { m, n } | Viren { pl } | (n) ต้องการความหมายของอักษร | yogh | ตัวอักษรภาษาอังกฤษสมัยกลาง ใช้แทนเสียง วาย (y) | 表記 | [ひょうき] (n) การเขียนแสดงเสียงด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์, การถอดเสียง |
| | 太字 | [ふとじ, futoji] (n) อักษรตัวหนา | 振り仮名 | [ふりがな, furigana] (n) การกำหนดเสียงอ่านอยู่ด้านบนของตัวอักษรคันญิ | ゲラ | [げら, gera] (jargon) proof-reading, พิสูจน์อักษร | 象形文字 | [しょうけいもじ, shoukeimoji] (n) อักษรภาพ | 指示文字 | [しじもじ, shijimoji] (n) อักษรสัญลักษณ์ | 文字通り | [もじどおり, mojidoori] (exp) ตามตัวอักษร |
| ゴシック | [ごしっく, goshikku] TH: กอธิค เป็นชื่อของฟอนต์อักษรที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ EN: gothic | 分かち書き | [わかちがき, wakachigaki] TH: การเขียนเว้นวรรคระหว่างคำโดยมากเขียนเป็นอักษรฮิรางานะ | 文字 | [もじ, moji] TH: ตัวอักษร EN: letter (of alphabet) | 字源 | [じげん, jigen] TH: ที่มาของตัวอักษร EN: construction of character | 国字 | [こくじ, kokuji] TH: อักษรที่ญี่ปุ่นคิดค้นขึ้นเอง ใช้เทียบกับอักษรจีนที่ญี่ปุ่นยืมจากจีนมาใช้ EN: native script | 国字 | [こくじ, kokuji] TH: อักษรคานะ ฮิรางานะและคาตาคานะ EN: kana | 国字 | [こくじ, kokuji] TH: อักษรคันจิที่คิดขึ้นเองในภาษาญี่ปุ่น EN: kanji made in Japan |
| Buchstabe | (n) |der, pl. Buchstaben| ตัวอักษร | Wort | (n) |das, pl. Wörter| คำ, คำศัพท์ (คำเดี่ยวที่ไม่ได้สอดคล้องกัน) เช่น Wieviele Wörter fehlen dir noch in dem Kreuzworrätsel. เธอยังขาดอีกกี่คำในปริศนาอักษรไขว้ |
| alphabet | (n) |m, pl. -s| ตัวอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) | consonne | (n) |f, pl. -s| พยัญชนะ, สระอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) é: e accent aigu è: e accent grave ê: e accent circonflexe ë: e tréma ç ตัวอักษรที่เรียกว่า cédille (เซดีย์) ใช้เปลี่ยงเสียงคำที่ขึ้นต้นด้วย ca, co, cu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ค ให้เป็น ça, ço, çu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ส |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |