ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: มีกลิ่น, -มีกลิ่น- |
ชงโค | (name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ |
|
| กระโฉม | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Limnophila rugosa (Roth) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลำต้นและกิ่งอวบน้ำ สีม่วง ใบรูปไข่ ค่อนข้างหนา ด้านล่างมีขน ขอบหยักห่าง ๆ ก้านใบแบน ๆ โคนก้านโอบกิ่งหรือลำต้น ดอกเล็ก ๆ สีม่วงแกมชมพู กลางเหลือง ออกเป็นกระจุกที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ทุกส่วนของไม้นี้มีกลิ่นหอม ใช้เป็นอาหาร และใช้ทำยาได้, ผักโฉม ก็เรียก เช่น ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน (เห่เรือ). | กระโดงแดง | ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chionanthus microstigma (Gagnep.) P. S. Green ในวงศ์ Oleaceae ใบยาวรี หนาแข็ง ปลายใบแหลม ออกตรงข้ามกัน เมื่อแห้งหมาดใช้มวนบุหรี่ได้ มีกลิ่นหอมฉุน, ประดงแดง หรือ ฝิ่นต้น ก็เรียก | กระต่ายจาม | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Centipeda minima (L.) A. Braun et Asch. ในวงศ์ Compositae ขึ้นตามพื้นที่ลุ่มตํ่า แฉะ ต้นเตี้ยติดดินคล้ายต้นผักเบี้ย ใบเล็กเว้าข้างทั้ง ๒ ด้าน ปลายใบแหลมคล้ายสามง่าม ใบมีกลิ่นเหม็น ใช้ทำยาได้ แต่เป็นพิษต่อปศุสัตว์, กระต่ายจันทร์ สาบแร้ง หญ้ากระจาม หญ้าจาม หรือ เหมือดโลด ก็เรียก. | กระวาน ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Amomum testaceum Ridl. ในวงศ์ Zingiberaceae ชอบขึ้นในป่าดิบชื้นตามภูมิประเทศที่เป็นเขาทางจันทบุรีและตราด ผลค่อนข้างกลม สีนวล มี ๓ พู มีกลิ่นหอมฉุน ใช้ปรุงอาหารและทำยา. | กระออบ | ว. มีกลิ่นหอม. | กระไอ ๑ | ว. มีกลิ่นเหม็นแสดงว่าจวนจะบูด เช่น ข้าวเหม็นกระไอ, สะไอ ก็ว่า. | กล้วยไม้ | น. ชื่อพรรณไม้หลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Orchidaceae ลักษณะต้น ใบ และช่อดอกต่าง ๆ กัน บางชนิดเกาะตามต้นไม้และหิน บางชนิดขึ้นอยู่บนพื้นดิน บางชนิดมีดอกงาม บางชนิดมีกลิ่นหอม, พายัพเรียก เอื้อง. | กลิ่น ๑ | (กฺลิ่น) น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยจมูก คือ เหม็น หอม และอื่น ๆ, บางทีใช้หมายความว่า เหม็น เช่น แกงหม้อนี้เริ่มมีกลิ่น, โดยปริยายหมายความว่า ลักษณะไม่น่าไว้วางใจ เช่น เรื่องนี้ชักมีกลิ่น การประมูลครั้งนี้เริ่มส่งกลิ่น. | กะทัง | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Litsea monopetala (Roxb.) Pers. ในวงศ์ Lauraceae มีมากทางปักษ์ใต้ ใบเมื่อขยี้มีกลิ่นฉุนคล้ายการบูร ไม้ใช้ก่อสร้างบ้านเรือนได้. | กะล่อน ๑ | น. ชื่อมะม่วงชนิด Mangifera caloneura Kurz ในวงศ์ Anacardiaceae ผลเล็ก เนื้อไม่มีเสี้ยน เมื่อสุกมีกลิ่นหอมแรง, ขี้ไต้ ก็เรียก. | ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า | น. แก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า มีสูตร H2S เกิดขึ้นจากการเสื่อมสลายของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกำมะถัน ในธรรมชาติมักมีปรากฏละลายอยู่ในบ่อนํ้าร้อนและในแหล่งนํ้าแร่บางแห่ง. | การบูรป่า | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Adenosma indiana (Lour.) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ขึ้นตามป่าเต็งรัง ต้นสูงประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ขอบใบจักถี่ ใบมีกลิ่นคล้ายกลิ่นใบกะเพรา โหระพา แต่อ่อนกว่า ดอกเล็กสีม่วง ออกเป็นช่อเรียวยาวตามง่ามใบและที่ปลายยอด, กระต่ายจาม ข้าวคำ หรือ พริกกระต่าย ก็เรียก. | กำแพงขาว | น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ใบคล้ายหมากผู้หมากเมีย ต้นและใบเขียว มีลายดั่งว่านเสือ แต่ลายเบา มีพรายปรอท หัวเหมือนกระชาย ตุ้มรากกลมทอดไปยาว หัวมีกลิ่นหอม ใช้อยู่คงเขี้ยวเขานองา, อีกชนิดหนึ่งเรียก มายาประสาน เป็นว่านประสานบาดแผล. | กำยาน ๒ | ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่ง มีกลิ่นหอม เรียกว่า กล้วยกำยาน. | แกง ๓ | น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Pentatomidae ส่วนใหญ่ลำตัวสีน้ำตาลหรือน้ำตาลอ่อน ยาว ๒.๕-๓.๐ เซนติเมตร เมื่อถูกตัวจะปล่อยของเหลว มีกลิ่นฉุน ชนิดที่พบทั่วไป เช่น ชนิด T essaratoma javamicaThunberg, T. papillosa (Drury) ดูดกินน้ำเลี้ยงใบลิ้นจี่หรือลำไย, แมลงแคง ก็เรียก. | ไก่กอม | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลาง ๒ ชนิด ในสกุล Ehretiaวงศ์ Ehretiaceae คือ ชนิด E. acuminata R. Br. ขอบใบจักถี่ ผลกลมเล็ก กินได้และชนิด E. timorensis Decne. ดอกเล็กมาก สีขาว ออกเป็นช่อแยกแขนง มีกลิ่นหอม. | ขอนดอก | น. ท่อนไม้ของต้นตะแบก พิกุล และบุนนาค ที่ผุราขึ้นเป็นจุดขาว ๆ มีกลิ่นหอม ใช้เป็นเครื่องยาไทย. | ข่า ๒ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Alpinia galanga (L.) Willd. ในวงศ์ Zingiberaceae มีเหง้า ลำต้นเป็นกอ สูง ๑-๓ เมตร ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ยอด เหง้ามีกลิ่นฉุน ใช้ปรุงอาหารและทำยาได้. | ข่าต้น | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Cinnamomum ilicioides A. Chev. ในวงศ์ Lauraceae เปลือกและเนื้อไม้มีกลิ่นหอม, พายัพเรียก พลูต้น. | ข้าวตอก ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Serissa japonica (Thunb.) Thunb. ในวงศ์ Rubiaceae ใบเล็กรูปไข่ เมื่อขยี้มีกลิ่นเหม็น ดอกสีขาวเล็ก ๆ เป็นพรรณไม้ต่างประเทศ ปลูกเป็นไม้ดัดหรือไม้ประดับ. | ขิง | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Zingiber officinale Roscoe ในวงศ์ Zingiberaceae เหง้ามีกลิ่น รสเผ็ด ใช้ประกอบอาหารและทำยาได้, ขิงแกลง หรือ ขิงแครง ก็เรียก. | ขี้เต่า | น. เมือกเหงื่อไคลที่ติดอยู่ตามรักแร้ มีกลิ่นเหม็น. | โขง | ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขลง ก็ว่า. | โขลง ๒ | (โขฺลง) ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขง ก็ว่า. | ไข่เน่า ๒ | น. ชื่อแก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า. (ดู ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า). | คนทีสอ | (คน-) น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex trifolia L. ในวงศ์ Labiatae มักขึ้นในที่โล่งริมนํ้า สูงได้ถึง ๖ เมตร ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ท้องใบสีนวล เมื่อขยี้มีกลิ่นฉุน ดอกสีครามอ่อน ใช้ทำยาได้, คนทิสอ โคนดินสอ หรือ สีสอ ก็เรียก, พายัพเรียก สีเสื้อน้อย หรือ ผีเสื้อน้อย. | คลอรีน | (คฺลอ-) น. ธาตุลำดับที่ ๑๗ สัญลักษณ์ Cl เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีกลิ่นฉุนชวนสำลัก เป็นแก๊สพิษ ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าในอุตสาหกรรมผลิตกรดเกลือในการผลิตผงฟอกจาง ยาฆ่าแมลงหลายชนิด เช่น ดีดีที มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบสำคัญ. | คลอโรฟอร์ม | (คฺลอ-) น. ของเหลวไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นหอมหวาน มีสูตร CHCl3 ใช้เป็นยาสลบและตัวทำละลาย. | คลุ้ง ๑ | มีกลิ่นตลบ (มักใช้แก่กลิ่นเหม็น). | ควีนสิริกิติ์ | (คฺวีนสิหฺริกิด) น. ชื่อกล้วยไม้พันธุ์ Cattleya‘Queen Sirikit’ ในวงศ์ Orchidaceae เป็นลูกผสม ดอกใหญ่ สีขาว ปากเหลือง สวยงามมากและมีกลิ่นหอม. | คันธมาทน์ | ว. ที่มีกลิ่นหอมทำให้สัตว์มัวเมา. | คันธหัตถี | น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม, ช้าง ๑๐ ตระกูล คือ ๑. กาฬาวกหัตถี ๒. คังไคยหัตถี ๓. ปัณฑรหัตถี ๔. ตามพหัตถี ๕. ปิงคลหัตถี ๖. คันธหัตถี ๗. มงคลหัตถี ๘. เหมหัตถี ๙. อุโบสถหัตถี ๑๐. ฉัททันตหัตถี. | คาร์บอลิก | น. สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก. | คาวปลา | ว. เรียกน้ำที่ขับถ่ายจากช่องคลอดภายหลังคลอดลูกแล้วประมาณ ๓-๔ วัน ปรกติมีกลิ่นคาวเล็กน้อย ว่า นํ้าคาวปลา. | คุดทะราด | น. ชื่อโรคติดต่อชนิดหนึ่ง เป็นแผลเรื้อรัง บางรายแผลนั้นบานเหวอะหวะออก มีกลิ่นเหม็น เป็นแม่แผลให้เกิดแผลอื่นจำพวกเดียวกันพุออกไปอีก. | เครื่องร่ำ | น. สิ่งที่ใช้อบให้มีกลิ่นหอม เช่น กำยาน. | เครื่องหอม | น. สิ่งต่าง ๆ ที่มีกลิ่นหอม เช่น แป้งร่ำ น้ำอบไทย, สิ่งที่ทำให้มีกลิ่นหอม เช่น ชะมดเช็ด กำยาน พิมเสน. | ง่าม ๒ | น. ชื่อมดชนิด Pheidologeton diversus (Jerdon) ในวงศ์ Formicidae สีนํ้าตาลแก่จนเกือบดำตลอดตัว มีกลิ่นเฉพาะตัว อยู่กันเป็นฝูง ในฝูงจะพบมดเฝ้ารังมีขากรรไกรเป็นง่ามใหญ่ ลำตัวยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร ส่วนมดงานลำตัวยาวเพียงประมาณ ๓ มิลลิเมตร. | จตุทิพยคันธา | (-ทิบพะยะ-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นหอมดังยาทิพย์ไว้ ๔ อย่าง คือ ดอกพิกุล รากชะเอมเทศ รากมะกล่ำเครือ รากขิงแครง. | จันทน์เทศ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Myristica fragrans Houtt. ในวงศ์ Myristicaceae รกหุ้มเมล็ดมีกลิ่นหอมฉุนเรียก ดอกจันทน์ เมล็ดมีกลิ่นหอมฉุนเช่นกัน เรียก ลูกจันทน์ ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นพรรณไม้ที่นำเข้ามาจากหมู่เกาะอินเดียตะวันออก. | ชะมดต้น | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Abelmoschus moschatusMedik. subsp. moschatus ในวงศ์ Malvaceae ดอกสีเหลือง โคนกลีบสีนํ้าตาลเข้ม เมล็ดมีกลิ่นคล้ายกลิ่นชะมดเช็ด ใช้ทำยาได้, ฝ้ายผี ก็เรียก. | ช้าเลือด | น. ชื่อไม้เถาชนิด Caesalpinia mimosoides Lam. ในวงศ์ Leguminosae เถามีหนามมาก ใบเป็นฝอยคล้ายใบมะขาม ดอกเป็นช่อสีเหลือง มีฝัก ใบและช่อมีกลิ่นเหม็นคล้ายกลิ่นตัวเรือด ใช้ทำยาได้, ปู่ย่า ก็เรียก. | ชี ๒ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Coriandrum sativum L. ในวงศ์ Umbelliferae ทั้งต้นมีกลิ่น ใช้เป็นผัก เรียกว่า ผักชี ดอกเล็กสีขาว ผลกลมมีกลิ่นฉุน เมื่อแก่ใช้เป็นเครื่องเทศ, ชีลา หรือ หอมป้อม ก็เรียก. | ชูกลิ่น | ก. ทำให้มีกลิ่นหอมขึ้น. | ซัด ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Trigonella foenumgraecumL. ในวงศ์ Leguminosae เมล็ดใช้ทำยาได้ และใช้ต้มชุบผ้าให้มีกลิ่นหอม เรียกว่า ลูกซัด. | ดีปลี | (-ปฺลี) น. ชื่อไม้เถา ในสกุล Piper วงศ์ Piperaceae คือ ชนิด P. retrofractum Vahl มีรากตามข้อของลำต้นเพื่อยึดเกาะ ผลอัดแน่นเป็นช่อ ทุกส่วนมีกลิ่น โดยเฉพาะผลกลิ่นหอมฉุน รสเผ็ดร้อน ใช้เป็นเครื่องเทศและทำยาได้. | โดร | (โดน) ก. หอม, มีกลิ่นหอมที่ฟุ้งไป, เช่น กระทึงทองลำดวนโดร รสอ่อน พี่แม่ (กำสรวล). | ได้แดด | ก. ได้รับแสงแดดพอเพียง เช่น ตากผ้าถ้าได้แดดจะไม่มีกลิ่นอับ. | ตกมัน | ว. ลักษณะที่ต่อมน้ำมันที่ขมับของช้างบวมโตและมีน้ำมันใส ๆ ไหลออกมา ช้างตัวผู้จะมีอารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว ดุร้าย มีกลิ่นสาบฉุน, เรียกช้างที่มีอาการเช่นนั้น ว่า ช้างตกมัน. | ตรีคันธวาต | (-ทะวาด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นสำหรับแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลเร่วใหญ่ ผลจันทน์เทศ กานพลู. |
| | Aromatic plants | พืชที่มีกลิ่นหอม [TU Subject Heading] | Essences and essential oils | สารที่มีกลิ่นหอมและน้ำมันหอมระเหย [TU Subject Heading] | Essences and essential oils industry | อุตสาหกรรมสารที่มีกลิ่นหอมและน้ำมันหอมระเหย [TU Subject Heading] | Halitosis | ภาวะมีกลิ่นปาก [TU Subject Heading] | Ammonia | ก๊าซไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก ละลายน้ำได้สารละลายมีฤทธิ์เป็นด่าง ใช้เป็นสารรักษาสภาพของน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] | Empyreumatic | มีสีดำและมีกลิ่น [การแพทย์] | Enterocolitis | ลำไส้เล็กและใหญ่อักเสบ, การอักเสบในลำไส้, อุจจาระเป็นน้ำเหลวและมีกลิ่นเหม็นมาก, ลำไส้เล็กอักเสบ [การแพทย์] | butanoic acid | กรดบิวทาโนอิก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C3H7COOH เป็นของเหลว มีจุดเดือด 163.3 °C ใช้ในการเตรียมกลิ่นสังเคราะห์ เช่น เมื่อรวมกับเมทิลแอลกอฮอล์จะได้สารมีกลิ่นเหมือนมะละกอสุก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | neon | นีออน, ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มีเลขอะตอม 10 สัญลักษณ์คือ Ne เป็นแก๊สเฉื่อย ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น จุดหลอมเหลว -248.6°C จุดเดือด -246.0°C พบในบรรยากาศประมาณร้อยละ 0.19 โดยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nitrogen | ไนโตรเจน, ธาตุในหมู่ V ของตาราง ธาตุ เลขอะตอม 7 สัญลักษณ์ N เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีในอากาศประมาณร้อยละ 78.03 โดยปริมาตร จุดหลอมเหลว -209.9°C จุดเดือด -195.67°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | oxygen | ออกซิเจน, ธาตุในหมู่ VI ของตารางธาตุ เลขอะตอม 8 สัญลักษณ์ 0 เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ช่วยในการเผาไหม้ จุดหลอมเหลว -218.9°C จุดเดือด -183°C มีในอากาศประมาณร้อยละ 21 โดยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | acetylene [ ethyne ] | อะเซทิลีน, แก๊สชนิดหนึ่งติดไฟง่ายไม่มีสี ไม่มีกลิ่น สูตรเคมีคือ C2H2 เตรียมได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคาร์ไบด์กับน้ำ หรือได้จากการแตกสลายโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่โดยอาร์กไฟฟ้าใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น จุดตะเกียงให้แสงสว่าง เชื่อโลหะ บ่มผลไม้ เป็นสารตั้ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ozone | โอโซน, ออกซิเจนรูปหนึ่ง ในแต่ละโมเลกุลจะมี 3 อะตอม เป็นแก๊สไม่มีสี มีความว่องไวต่อการทำปฏิกิริยา จุดเดือด -112.4°C จุดหลอมเหลว - 249.7°C มีกลิ่นเฉพาะตัว ใช้เป็นตัวเติมออกซิเจนในปฏิกิริยาเคมี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | ammonia | แอมโมเนีย, แก๊สไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก สูตรเคมีคือ NH3 ละลายน้ำได้สารละลายเป็นเบส ใช้ในอุตสาหกรรมทำวัตถุระเบิดและทำปุ๋ย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | vanilla | วานิลลา, พืชชนิดหนึ่งมีมากในอเมริกาใต้ นำเมล็ดมาสกัดได้สารอินทรีย์ สูตรเคมีคือC8H8O3 เป็นผลึกสีขาว จุดหลอมเหลว 81-82 °C จุดเดือด 285 °C มีกลิ่นหอม นิยมใช้ผสมอาหาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Lochia, Foul Smell | น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น [การแพทย์] | Lochia, Foul Smelling | น้ำคาวปลาที่มีกลิ่นเหม็น [การแพทย์] |
| ไม่มีกลิ่น | [mai mī klin] (adj) FR: inodore | มีกลิ่น | [mī klin] (v, exp) EN: smell FR: sentir ; dégager une odeur | มีกลิ่นหอม | [mī klin høm] (adj) EN: aromatic FR: aromatique ; parfumé | มีกลิ่นแล้ว | [mī klin laēo] (v, exp) EN: smell sour | มีกลิ่นรุนแรง | [mī klin runraēng] (v, exp) FR: dégager une forte odeur ; exhaler une forte odeur |
| dill | (n) ผักชีลาว (สามารถใช้รับประทานหรือใช้ประดับก็ได้ เมื่อแก่ออกดอกสีเหลืองเล็กๆ ลักษณะใบเป็นท่อนเล็กๆแหลมๆมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว) | hot basil | [ฮอท เบซิล] (n) กะเพรา ซึ่งพืชสมุนไพรไทยชนิดหนึ่ง ใช้ปรุงอาหาร ทำให้มีกลิ่นหอมฉุน และร้อน และดับคาวได้ มีทั้งกระเพราแดง (red hot basil) และกะเพราขาว(white hot basil) |
| aether | (n) สารอีเทอร์, See also: สารอีเทอร์ที่ใช้เป็นตัวละลาย มีกลิ่นหอม, Syn. ether | aromatic | (n) พืชหรือยาที่มีกลิ่นหอม | bay | (n) ต้นอบเชยเดือน, See also: ใบพืชที่มีกลิ่นหอมใช้ปรุงอาหาร | benzine | (n) น้ำมันเบนซิน, See also: น้ำมันซึ่งกลั่นจากต้นไม้ สัตว์หรือถ่านหิน ไวไฟ มีกลิ่นหอม ใช้ผสมน้ำมันและทำสี | camphor | (n) สารสีขาวมีกลิ่นฉุน, See also: การบูร | carbon monoxide | (n) คาร์บอนมอนอกซ์ไซด์, See also: ก๊าซชนิดหนึ่งไม่มีสีไม่มีกลิ่น มีพิษต่อร่างกาย มีสัญลักษณ์ CO | catnip | (n) ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีกลิ่นดึงดูดแมว, Syn. catmint | ephedrine | (n) สารอัลคาลอยด์สีขาวไม่มีกลิ่นช่วยบรรเทาอาการคัดจมูก ขยายรูม่านตาและกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง | eucalyptus | (n) ต้นยูคาลิปตัส, See also: ต้นไม้ที่มีแหล่งกำเนิดในออสเตรเลียมีใบหยาบและมีกลิ่นหอม น้ำมันของต้นไม้ชนิดนี้สามารถ | fetid | (adj) ซึ่งมีกลิ่นเน่าเหม็น, Syn. foul, stinking | flowery | (adj) ที่มีกลิ่นของดอกไม้ | fragrantly | (adv) อย่างมีกลิ่นหอม, See also: อย่างหอมหวาน, Syn. aromatically, redolently, Ant. fetidly, stinkingly | frankincense | (n) ยางสนที่มีกลิ่นหอม (ชื่อในภาษาละตินคือ Boswellia sacra), Syn. olibanum | funky | (adj) ซึ่งมีกลิ่นเหม็น (คำสแลง), Syn. musty, smelly | gamey | (adj) ซึ่งมีกลิ่นฉุน, See also: มีกลิ่นรุนแรง, Syn. strong-tasting, tangy | gamy | (adj) ซึ่งมีกลิ่นฉุน, See also: มีกลิ่นรุนแรง, Syn. strong-tasting, tangy | halitosis | (n) ภาวะที่มีกลิ่นปาก, Syn. bad breath | helium | (n) ุก๊าซเฉื่อยชนิดหนึ่งไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีสัญลักษณ์คือ He, See also: ก๊าซฮีเลี่ยม | henbane | (n) พืชจำพวก Hyoscyamus niger ใบมีหนามขนและมีกลิ่นเหม็น เป็นพืชที่ใช้ทำยาพิษ | lilac | (n) พืชไม้ดอกสีม่วงแดงหรือสีขาวที่มีกลิ่นหอม | Limburger | (n) ชีสชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นแรง | malodorous | (adj) เหม็น, See also: ซึ่งมีกลิ่นไม่น่าดม, ซึ่งมีกลิ่นไม่ดี, ซึ่งมีกลิ่นเหม็น | malodorous | (adj) ซึ่งมีกลิ่นเหม็น, Syn. infested, ill-smelling, odorous, stinking | malodorously | (adv) อย่างมีกลิ่นเหม็น | malodorousness | (n) การมีกลิ่นเหม็น | musky | (adj) ซึ่งมีกลิ่นหอม, See also: ซึ่งมีกลิ่นหอมจากน้ำหอม | musty | (adj) เหม็นอับ, See also: ซึ่งมีกลิ่นเหม็นสาบ, ซึ่งมีกลิ่นหืนเพราะขึ้นรา, Syn. stale, mouldy | nosegay | (n) ช่อดอกไม้ช่อเล็กๆ (ที่มีกลิ่นหอม), Syn. bouquet, corsage, posy | odoriferous | (adj) ที่มีกลิ่นหอม, Syn. odorous, fragrant, Ant. stinking, foul | odoriferously | (adv) โดยมีกลิ่นแรง, See also: อย่างมีกลิ่นหอม, อย่างสิ่งกลิ่นฉุน | odorless | (adj) ที่ไม่มีกลิ่น, See also: ไร้กลิ่น | odorous | (adj) ที่มีกลิ่นหอม, Syn. aromatic, fragrant, Ant. foul, putrid | odorously | (adv) อย่างมีกลิ่นแรง, Syn. stinkingly, odoriferously | oregano | (n) ต้นไม้ที่มีกลิ่นหอม ใช้ทำอาหาร | peppermint | (n) พืชจำพวก Mentha piperita มีกลิ่นหอม | peppery | (adj) เผ็ดร้อน, See also: มีกลิ่นหรือรสพริกไทย, Syn. hot, pungent, piquant, spicy, Ant. insipid | potpourri | (n) ของผสมระหว่างกลีบดอกไม้กับเครื่องเทศเพื่อให้มีกลิ่นหอม, Syn. hodgepodge, mixture, sachet, Ant. uniformity | quince | (n) ผลไม้ขนาดเล็ก มีกลิ่นหอม ใช้ทำแยม | quince | (n) ต้นไม้ขนาดเล็กที่ให้ผลเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอม | redolent | (adj) ซึ่งมีกลิ่นหอม, Syn. sweet-smelling | reeky | (adj) ซึ่งมีกลิ่นเหม็น | savory | (adj) มีรสชาติ, See also: รสอร่อย, ทำให้พอใจ, ทำให้ถูกใจ, ดึงดูดใจ, เผ็ดแต่มีกลิ่นหอม, สนุกสนาน, Syn. palatable, pleasing, appetizing | savoury | (adj) มีรสชาติ, See also: รสอร่อย, ทำให้พอใจ, ทำให้ถูกใจ, ดึงดูดใจ, เผ็ดแต่มีกลิ่นหอม, สนุกสนาน, Syn. palatable, pleasing, appetizing | scented | (adj) ี่มีกลิ่นหอม, See also: หอมกรุ่น, ที่สัมผัสกลิ่นได้, Syn. odorous, perfumed, sweet-scented | skunky | (adj) มีกลิ่นเหม็น, Syn. odorous | smelly | (adj) ซึ่งมีกลิ่นเหม็น | stinkbug | (n) แมลงตัวแบนชนิดหนึ่งมีกลิ่นเหม็น | stinking | (adj) มีกลิ่นเหม็น, See also: ส่งกลิ่นเหม็น, Syn. malodorous, smelly | stinky | (adj) มีกลิ่นเหม็น, See also: ส่งกลิ่นเหม็น, Syn. malodorous, fetid, smelly | smell to | (phrv) มีกลิ่นแรงมาก, Syn. stink to |
| alliaceous | (แอลลิเอ'เชียส) adj. เกี่ยวกับพืชจำพวก ต้นหมอหรือกระเทียม ซึ่งมีกลิ่นหรือรสของต้นหอมหรือกระเทียม (garlic, onion, leek) | allspice | (ออล' สไพซ) ต้นไม้จำพวก Pimenta officinalis เป็นต้นไม้ที่มีกลิ่นน่าดม | ambrosia | (แอมโบร' เซีย) n. อาหาร เครื่องดื่ม หรือเครื่องหอมของเทพยดา, สิ่งที่มีรสอร่อยหรือมีกลิ่นน่าดม. -ambrosial, ambrosian adj., Syn. delicious food | anisole | (แอน' นิโซล) n. ของเหลวชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอม , ใช้ในเครื่องหอม ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และเป็นยาฆ่าพยาธิ | aromatic | (แอระแมท'ทิค) adj. ซึ่งมีกลิ่นหอม, เกี่ยวกับสารประกอบที่มีกลิ่นหอม -n. พืชยาหรือวัตถุที่มีกลิ่นหอม-aromaticity n. (spicy) | aromatise | (vt.) ทำให้มีกลิ่นหอม. -aromatis (z) ation n. (อะโร'มะไทซ) | balmy | (บาล์'มี) adj. บรรเทา, ชุ่มชื้น, นิ่ม, เย็นคล้ายยาหม่อง, มีกลิ่นหอม, โง่, See also: balminess n. ดูbalmy, Syn. pleasant, Ant. irritating | bilgy | (บิล'จี) adj. มีกลิ่นเหม็นคล้ายน้ำสกปรกใต้ท้องเรือ | elixir | (อีลิค'เซอะ) n. สารละลายแอลกอฮอล์ที่มีกลิ่นหอมและรสหวานใช้ทำเป็นน้ำยา, ยาแก้สารพัดโรค (panacea) | fetid | (เฟท'ทิด, ฟี'ทิด) adj. ซึ่งมีกลิ่นเหม็น., See also: fetidly, foetidly adv. fetidness, foetidness n., Syn. stinking | foetid | (เฟท'ทิด, ฟี'ทิด) adj. ซึ่งมีกลิ่นเหม็น., See also: fetidly, foetidly adv. fetidness, foetidness n., Syn. stinking | fragrant | (เฟร'เกรินทฺ) adj. หอม, มีกลิ่นหอม, น่ายินดี., See also: fragrantly adv. fragrantness n., Syn. perfumed | fruity | (ฟรูท'ที) adj. คล้ายผลไม้, มีกลิ่นรุนแรง, มีกลิ่นฉุน, หลานม | fusty | (ฟัส'ที) adj. มีกลิ่นเหม็นอับ, เก่าแก่, ล้าสมัย, คร่ำครึ, หัวโบราณ, ดื้อรั้น, หัวแข็ง., See also: fustily adv. fustiness n., Syn. moldy, must | gamy | (เกมมี่) adj. มีกลิ่นเหม็นสาบ, มีกลิ่นแรง, กล้า, ชอบชกต่อยหาเรื่อง เสื่อมเสียชื่อเสียง., See also: gamily adv. gaminess n. | heinous | (เฮ'นัส) adj. น่าเกลียด, น่าชัง, มีกลิ่นเหม็น, โหดเหี้ยมที่สุด., See also: heinously adv. heinousness n., Syn. atrocious | hircine | (เฮอ'ไซน์) adj. เกี่ยวกับแพะ, ซึ่งมีกลิ่นแพะ, เต็มไปด้วยราคะ | lavender | (แลฟ'เวินเดอะ) n. สีม่วงอ่อน, พืชไม้ดอกสีม่วงอ่อนที่มีกลิ่นหอมจำพวก Lavendula, ดอกไม้แห้งของพืชดังกล่าว, น้ำหอมกลิ่นลาเวนเดอร์, น้ำชำระล้างกลิ่นลาเวนเดอร์ | lilac | (ไล'แลค) n. พืชไม้ดอกสีม่วงแดงหรือสีขาวที่มีกลิ่นหอมดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ (shrub) | mastiche | (แมส'ทิคิ, แมส'ทิคซ) adj. ยางไม้มีกลิ่นหอม่ | mastix | (แมส'ทิคิ, แมส'ทิคซ) adj. ยางไม้มีกลิ่นหอม่ | musty | (มัส'ที) adj. มีกลิ่นเหม็นอับ, ล้าสมัย, เก่าแก่, คร่ำครึ, เซื่องซึม, จืดชืด., See also: mustily adv. mustiness n., Syn. stale, moldy | obnoxious | (อับนอค'เชิส) adj. น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, ได้รับอันตรายหรือสิ่งเลวได้ง่าย, มีกลิ่นเหม็น., See also: obnoxiousness n., Syn. objectionable | odorant | (โอ'ดะรันทฺ) n. สิ่งที่มีกลิ่น | peppery | (เพพ'พะรี) adj. คล้ายพริก, มีกลิ่นหรือรสพริกไทย, เผ็ด, เผ็ดร้อน, ฉุน, โกรธง่าย, โมโห, Syn. quick-tempered, hot-tempered | potpourri | (โพพรี', โพ'พูรี, พอทพัว'รี) n. ของผสมระหว่างกลีบดอกกุหลาบหรือดอกอื่น ๆ กับเครื่องเทศในหม้อเพื่อให้มีกลิ่นหอม, ดนตรีหรือท่วงทำนองผสมผเส, ของผสม | rancidity | (แรนซิด'ดิที) n. กลิ่นเหม็นหืนหรือเหม็นเน่า, การมีกลิ่นเหม็นดังกล่าว | redolent | (เรด'ดะเลินทฺ) adj. มีกลิ่นน่าดม, มีกลิ่นหอม, หอมกรุ่น, ทำให้หวนระลึกถึง, See also: redolence n. redolency n. adv. | reed organ | n. หีบเพลงประเภทชักชนิดหนึ่งที่มีกลิ่น | savor | (เซ'เวอะ) n. รส, รสชาติ, กลิ่น, คุณสมบัติเฉพาะ, ลักษณะเฉพาะ, อำนาจกระตุ้นใจ, ความอร่อย, การทำให้ตื่นเต้น, แรงดึงดูด, เสน่ห์, ความเจริญอาหาร, ชื่อเสียง, ความบริสุทธิ์. vi. มีรส, มีรสชาด, มีกลิ่น, แนะนำ, ให้ข้อคิดเห็น, เพลิดเพลินสนุกสนาน. vt. แต่งกลิ่น, ปรุงกลิ่น, ทำให้มีรสชาด | savory | (เซ'เวอรี) adj. มีรสชาด, รสอร่อย, ทำให้พอใจ, ทำให้ถูกใจ, ดึงดูดใจ, เผ็ดแต่มีกลิ่นหอม, สนุกสนาน n. อาหารเผ็ดแต่มีกลิ่นหอม, อาหารกระตุ้นให้หิว., See also: savoriness n. savouriness n., Syn. pleasing, palatable, appetizing, reputab | savour | (เซ'เวอะ) n. รส, รสชาติ, กลิ่น, คุณสมบัติเฉพาะ, ลักษณะเฉพาะ, อำนาจกระตุ้นใจ, ความอร่อย, การทำให้ตื่นเต้น, แรงดึงดูด, เสน่ห์, ความเจริญอาหาร, ชื่อเสียง, ความบริสุทธิ์. vi. มีรส, มีรสชาด, มีกลิ่น, แนะนำ, ให้ข้อคิดเห็น, เพลิดเพลินสนุกสนาน. vt. แต่งกลิ่น, ปรุงกลิ่น, ทำให้มีรสชาด | savoury | (เซ'เวอรี) adj. มีรสชาด, รสอร่อย, ทำให้พอใจ, ทำให้ถูกใจ, ดึงดูดใจ, เผ็ดแต่มีกลิ่นหอม, สนุกสนาน n. อาหารเผ็ดแต่มีกลิ่นหอม, อาหารกระตุ้นให้หิว., See also: savoriness n. savouriness n., Syn. pleasing, palatable, appetizing, reputab | scent | (เซนทฺ) n. กลิ่น, กลิ่นเฉพาะ, รอยกลิ่น, กลิ่นสาป, น้ำหอม, ประสาทดมกลิ่น, การดมกลิ่น, เหยื่อตกปลา, เหยื่อล่าสัตว์. vt. ดมกลิ่น, ได้กลิ่น, ทำให้มีกลิ่น, ใส่น้ำหอม vi. ล่าสัตว์โดยตามกลิ่น, ส่งกลิ่น, Syn. perfume | setter | (เซท'เทอะ) n. ผู้ประกอบ, ผู้ติดตั้ง, ผู้จัด, ผู้ว่าง, พันธุ์สุนัขที่ถูกฝึกให้ยืนตรง และหันจมูกไปทางเหยื่อ (ที่มีกลิ่น) | skunk | (สคังคฺ) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กสีดำ หนังขนมีกลิ่นเหม็นและมีแถบสีขาวรูปตัว"V", บุคคลที่น่ารังเกียจอย่างมาก.vt. ทำให้พ่ายแพ้สิ้นเชิง, Syn. rotter, scoudrel | slime | (สไลมฺ) n. โคลน, เลน, ของเหลวที่เหนียว (โดยเฉพาะที่มีกลิ่นหรือไม่น่าดู) , ของเหลวเหนียวที่คัดหลั่งจากพืชหรือสัตว์. vt. ใช้ของเหลวดัง-กล่าวหา. vi. กลายเป็นของเหลวดังกล่าว. | smell | (สเมล) { smelt/smelled, smelling, smells } vt. ดม, ดมกลิ่น, ตรวจสอบ, สังเกต, สืบสาว, ทดสอบจากกลิ่น vi. ได้กลิ่น, กลิ่นฟุ้ง, มีกลิ่น, มีกลิ่นเหม็น, ปล่อยกลิ่น, มีร่องรอย, มีนัย, -Phr. (smell a rat สงสัย.) n. กลิ่น, ประสาทกลิ่น, นาสิกประสาท, ความสามารถในการดมกลิ่น, สิ่งที่ใช้ดมกลิ่น, การดมกลิ่น, รสชาด, อิทธิพล | smelly | (สเมล'ลี) adj. ส่งกลิ่น, ส่งกลิ่นรุนแรง, มีกลิ่นแรง., See also: smelliness n., Syn. reeking | spicy | (สไพ'ซี) adj. ใส่เครื่องเทศ, มีเครื่องเทศมาก, มีกลิ่นหอม, เผ็ดร้อน, ฉุน, รสจัด, ไม่ค่อยเหมาะสม, See also: spicily adv. spiciness n. -S .spicey | stinking | (สทิง'คิง) adj. มีกลิ่นเหม็น, ส่งกลิ่นเหม็น, ฉาวโฉ่, น่ารังเกียจ, เลวทราม. -stinkingness n., Syn. foul-smelling, offending | sweet | (สวีท) adj. หวาน, มีรสดี, (นม) สด, ไม่ใส่เกลือ, ไพเราะ, หอม, มีกลิ่นดี, น่าพอใจ, ที่รัก, เป็นที่รัก, มีค่า, จัดการได้ง่าย, งดงาม, นิ่มนวล, (อากาศ) สดชื่น, ไม่มีกลิ่น, ไม่มีกรด, ไม่เปรี้ยว, ไม่มีสารกัดกร่อน, ไม่มีสารกำมะถัน, น่าตกใจ n. รสหวาน, กลิ่นน่าดม, ความหวาน, รสดี, สิ่งที่หวาน | unsavory | (อันเซ'เวอะรี) adj. ไม่มีรสชาติ, ไม่น่ากิน, น่ารำคาญ, น่ารังเกียจ, มีกลิ่นน่ารังเกียจ. | unsavoury | (อันเซ'เวอะรี) adj. ไม่มีรสชาติ, ไม่น่ากิน, น่ารำคาญ, น่ารังเกียจ, มีกลิ่นน่ารังเกียจ. | wintergreen | (วิน'เทอะกรีน) n. พืช มีดอกสีขาวเป็นรูประฆัง มีใบที่มีกลิ่นหอม ใช้ทำน้ำมันระกำ |
| aromatic | (adj) หอม, มีกลิ่นหอม | effluvial | (adj) มีกลิ่นเหม็น, มีกลิ่น, มีไอระเหย, มีสารอีเซอร์ | fetid | (adj) มีกลิ่นเหม็น, เหม็นโฉ่ | flavour | (vt) ทำให้มีรส, ปรุงแต่ง, แต่งกลิ่น, ทำให้มีกลิ่น | fragrant | (adj) มีกลิ่นหอม, หอม | odoriferous | (adj) มีกลิ่น, ส่งกลิ่น | odorous | (adj) มีกลิ่น, ส่งกลิ่น | redolent | (adj) น่าดม, มีกลิ่นหอม, หอมกรุ่น | reek | (vi) ฟุ้ง, ส่งกลิ่น, มีกลิ่น, มีควัน | scentless | (adj) ไม่มีกลิ่น | smell | (vi, vt) ได้กลิ่น, ดม, มีกลิ่น, ส่งกลิ่น, ฟุ้ง, คลุ้ง | stink | (vi) ส่งกลิ่นคลุ้ง, มีกลิ่นเหม็น, ได้กลิ่น, เสื่อมทราม |
| *ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 | pod coffee | [พ็อดส์ คอฟฟี่] (n) กาแฟพ็อดส์ กาแฟสดที่คั่วบด มีกลิ่นหอม ซึ่งเมล็ดได้ผ่านกรรมวิธีการคั่วที่พิถีพิถัน มีความโดดเด่นทั้งรสชาติและกลิ่น ซึ่งได้นำมาบรรจุอยู่ในซองกระดาษกรองเล็กๆ | sweet | [สวีท] (adj) มีรสหวาน, มีกลิ่นหอม, หอมหวาน | บุหงาลลิษา | [บุ-หงัน-ละ-ลิ-สา] (name, uniq) “บุหงาลลิษา” มีลักษณะเด่น คือ เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีกลิ่นหอมแรง กลีบดอกหนา สีเหลือง กลีบชั้นนอกเรียวยาว กลีบชั้นในประกบกันไม่บานออก มีความยาวประมาณครึ่งหนึ่งของกลีบชั้นนอก |
| 百合 | [ゆり, yuri] TH: ชื่อดอกไม้เป็นดอกขนาดใหญ่ สีขาวเวลาบานจะมีกลิ่นหอม |
| Brom | (n, uniq) |das, nur Sg.| โบรมีน ตัวย่อ Br เป็นธาตุทางเคมี เป็นของเหลวสีน้ำตาลแดง มีกลิ่นเฉพาะตัว |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |