Search result for

*ตัวหนังสือ*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ตัวหนังสือ, -ตัวหนังสือ-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ตัวหนังสือ(n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เขาสายตาสั้นจึงอ่านตัวหนังสือไกลๆ ไม่ชัด, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด
ตัวหนังสือ(n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เวลาที่เราอ่านเราไม่ต้องอ่านหรือมองตัวหนังสือทีละตัวทุกๆ ตัวจะทำให้อ่านไวขึ้น, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ตัวหนังสือน. สัญลักษณ์แทนเสียงหรือคำพูด.
แววหัวตัวหนังสือน. หัวของพยัญชนะไทยบางตัวที่มีลักษณะเป็นวงกลม เช่นหัวตัว ค ด ง ถ.
กำเนิด(กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร.
เขียนก. ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาด, แต่งหนังสือ.
จาร ๑(จาน) ก. ใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานหรือศิลาเป็นต้นให้เป็นตัวหนังสือ เช่น จึงจารจารึกอันนี้ไว้อีกโสด (ศิลาจารึกเขาสุมนกูฏ) (จารึกสมัยสุโขทัย).
ช่องไฟช่องว่างระหว่างตัวหนังสือ.
เซต ๑ลักษณนามใช้เรียกคนหรือของที่เข้ากลุ่มหรือเข้าชุดกัน เช่น ตัวหนังสือเซตเดียวกัน ตัวเลข ๒ เซต, ลักษณนามเรียกการแข่งขันหรือการเล่นที่จบลงด้วยการแพ้ชนะกันครั้งหนึ่ง ๆ เช่น เขาเล่นเทนนิสชนะคู่แข่ง ๒ ต่อ ๑ เซต.
เดินทองก. ลงทองไปตามเส้นลวดลายหรือตัวหนังสือเป็นต้น เช่น ทำปกแข็งเดินทอง.
โดยพยัญชนะว. ตามตัวหนังสือ, ตามศัพท์, เช่น แปลภาษาบาลีโดยพยัญชนะ.
ตัว ๑น. รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ
ทรงเครื่องก. แต่งตัวมีเครื่องประดับ เช่น พระพุทธรูปทรงเครื่อง, มีเครื่องปรุงพิเศษกว่าปรกติ เช่น กระท้อนทรงเครื่อง, ประดิดประดอยให้งดงามเป็นพิเศษ เช่น ตัวหนังสือทรงเครื่อง
นูนว. สูงขึ้นจากระดับพื้นราบในลักษณะโค้งมน, โดยปริยายหมายถึงลักษณะเช่นนั้น เช่น ตัวหนังสือนูน ลวดลายนูน.
บรรทัด(บัน-) น. ข้อความที่เขียนหรือพิมพ์ต่อเนื่องกันเป็นแถวเป็นแนวแต่ละแนว เช่น ตัดบรรทัดที่ ๒๐ ออก, ลักษณนามว่า บรรทัด เช่น ให้เขียนเรียงความอย่างน้อย ๕๐ บรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเต็มช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวเต็มบรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเพียงครึ่งหนึ่งของช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวครึ่งบรรทัด, เรียกอุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง ว่า ไม้บรรทัด, เรียกเส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น ว่า เส้นบรรทัด.
บอดไม่มีแวว เป็นวงทึบไม่โปร่ง (ใช้แก่หัวตัวหนังสือ) เช่น เขียนหนังสือหัวบอด
ปากเปล่าก. ว่าโดยไม่ดูตัวหนังสือ เช่น เทศน์ปากเปล่า, เรียกวิธีสอบโดยใช้วาจาแทนการเขียนคำตอบ ว่า สอบปากเปล่า.
แปรอักษรก. ทำให้มีตัวอักษรหรือภาพปรากฏขึ้น โดยใช้คนจำนวนมากที่อยู่บนอัฒจันทร์ ยกกระดาษ ผ้า หรือวัสดุอื่น ๆ ขึ้นมาพร้อม ๆ กัน ให้เห็นเป็นตัวหนังสือหรือภาพ (มักใช้ประกอบในการเชียร์กีฬา การแสดงกลางแจ้ง หรือกิจกรรมสำคัญ ๆ ).
ฝนแสนห่า ๑น. วิธีเขียนหนังสืออย่างหนึ่งใช้ตัวเลขแทนตัวหนังสือ
พยัญชนะตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, รูปพยัญชนะ ก็เรียก, ตัวหนังสือ เช่น แปลโดยพยัญชนะ
พิมพ-, พิมพ์(พิมพะ-) ก. ถ่ายแบบ, ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่นแผ่นกระดาษ ผ้า, เช่น พิมพ์ผ้า พิมพ์ขนมเป็นรูปต่าง ๆ.
พิมพ์หนังสือก. ใช้เครื่องพิมพ์กดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนกระดาษหรือผ้าเป็นต้น.
ภาษาเสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ
แม่พิมพ์น. สิ่งที่เป็นต้นแบบ เช่น แม่พิมพ์ตัวหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงครูอาจารย์ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่างความประพฤติของศิษย์.
รง ๒น. ชื่อยางไม้ที่ได้จากไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Garcinia วงศ์ Guttiferae คือ มะพูด [ G. dulcis (Roxb.) Kurz ] และรง (G. hanburyi Hook.f.) ชนิดแรกให้ยางสีเขียว ๆ อมเหลืองเรียก รงกา ชนิดหลังให้ยางสีเหลืองเรียก รง ใช้ทำยาและเขียนหนังสือหรือระบายสี รงนั้นถ้าใช้ทองคำเปลวผสมเขียนตัวหนังสือหรือลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า รงทอง.
ลบเลือนก. เสื่อมจากสภาพเดิมจนเห็นหรือจำได้แต่ราง ๆ เช่น ตัวหนังสือลบเลือน ความจำลบเลือน.
ลายมือตัวหนังสือเขียน มักมีลักษณะแสดงว่าเป็นของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เขียนด้วยลายมือตนเอง ลายมือดี, ราชาศัพท์ใช้ว่า ลายพระหัตถ์ ซึ่งหมายถึงจดหมายของเจ้านายด้วย.
ลายลักษณ์น. ตัวหนังสือ, เครื่องหมายเป็นรูปต่าง ๆ เช่น ตัวอักษรอียิปต์โบราณ.
ลายลักษณ์อักษรน. เครื่องหมายขีดเขียนเป็นตัวหนังสือ เช่น เรื่องนี้ควรบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร.
ลายสือน. ตัวหนังสือ.
ลิปิน. ตัวหนังสือ.
วิทยุคมนาคมน. การส่งหรือการรับเครื่องหมายสัญญาณ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียงหรือการอื่นใดซึ่งสามารถให้เข้าใจความหมายได้โดยใช้คลื่นวิทยุ.
เว้นช่องไฟก. เว้นช่องว่างระหว่างตัวหนังสือหรือลวดลายแต่ละตัว.
สลัก ๒(สะหฺลัก) ก. ทำให้เป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีใช้สิ่วสกัด ตัด ตอก ดุน เป็นต้น เช่น สลักไม้ สลักลูกนิมิต หรือใช้สิ่งอื่นขูด ขีด ให้เป็นตัวหนังสือเป็นต้น เช่น สลักชื่อบนหีบบุหรี่.
สัญลักษณ์(สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์.
หนามเตยน. ลายหยักบนตัวหนังสือขอม
หวย ก ขน. การพนันอย่างหนึ่ง ที่ออกเป็นตัวหนังสือ คือ ใช้พยัญชนะในภาษาไทยตั้งแต่ ก ถึง ฮ เป็นหลัก โดยตัดออกเป็นบางตัว เหลือเพียง ๓๖ ตัว ตัวที่ออกเสียงเหมือนกันจะตั้งชื่อให้ต่างกัน เช่น ข ง่วยโป๊ ฃ เจี่ยมกวย ค หะตั๋ง ฅ เม่งจู ฆ ยิดซัว ทั้งนี้เพราะได้นำวิธีเล่นหวยของจีนมาปรับปรุงใช้, หวย ก็เรียก.
หัว ๑ส่วนเริ่มต้นที่เป็นวงของตัวหนังสือ
หัวเข้าน. หัวของตัวหนังสือที่ม้วนเข้าอยู่ภายในเส้นกรอบของตัวอักษร เช่น ตัว ถ ตัว ผ, ตรงข้ามกับ หัวออก. (ดู หัวออก).
หัวออกน. หัวของตัวหนังสือที่ม้วนออกนอกเส้นกรอบของตัวอักษร เช่น ตัว พ ตัว ภ, ตรงข้ามกับ หัวเข้า.
หางส่วนของตัวหนังสือไทยที่ลากยาวขึ้นทางเบื้องบนหรือทางเบื้องล่าง.
อักขร-, อักขระ(อักขะหฺระ-) น. ตัวหนังสือ.
อักษร, อักษร-(อักสอน, อักสอระ-, อักสอน-) น. ตัวหนังสือ, วิชาหนังสือ เช่น ฉลาดรอบรู้ในอักษรสยาม.
อ่านก. ว่าตามตัวหนังสือ, ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง, ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
variableตัวแปร, สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าตัวเลข หรือตัวหนังสือในโปรแกรม ลักษณะคล้ายคลึงกับตัวแปรทางคณิตศาสตร์ โดยจะต้องมีการตั้งชื่อให้กับตัวแปร มีการกำหนดค่าให้กับตัวแปร และค่าของตัวแปรอาจถูกเปลี่ยนแปลงไปได้ระหว่างที่ทำการประมวลผล หรือระหว่างการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Graphanesthesiaถ้าเขียนตัวหนังสือบนมือหรือหลังของผู้ป่วยบอกไม่ [การแพทย์]
Micrographiaตัวหนังสือที่ผู้ป่วยเขียนจะเล็กลงเรื่อยๆ [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ตัวหนังสือ[tūanangseū] (n) EN: character ; letter ; writing ; alphabet ; consonant  FR: caractère [ m ] ; lettre [ f ] ; idéogramme [ m ]
ตัวหนังสือจีน[tūanangseū Jīn] (n, exp) EN: Chinese character  FR: caractère chinois [ m ]
ตัวหนังสือภาษาจีน[tūanangseū phāsā Jīn] (n, exp) EN: Chinese character  FR: caractère chinois [ m ]
ตัวหนังสือภาษาไทย[tūanangseū phāsā Thai] (n, exp) FR: caractère thaï [ m ]
ตัวหนังสือไทย[tūanangseū Thai] (n, exp) FR: caractère thaï [ m ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
alphabet(n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. letters, syllabary, characters
braille(vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์
cursor(n) เคอร์เซอร์, See also: สัญลักษณ์บนจอคอมพิวเตอร์ที่แสดงให้เห็นจุดที่สามารถพิมพ์ตัวหนังสือได้
engross(vt) คัดลอกเอกสารโดยการเขียนด้วยตัวหนังสือตัวใหญ่และชัดเจน
epigraph(n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้บนรูปปั้นอนุเสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้าง, Syn. inscription
epigraphy(n) การศึกษาและถอดความหมายของตัวหนังสือโบราณที่แกะสลักไว้
epigraphy(n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้, See also: คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, Syn. inscription
letter(vt) เขียนตัวอักษร, See also: เขียนตัวหนังสือ
letter(n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. character, alphabet
letterpress(n) ตัวหนังสือ (เพื่อแยกความต่างจากภาพหรือองค์ประกอบอื่นๆ ในหนังสือ)
literal(adj) ตามตัวอักษร, See also: ตามตัวหนังสือ
literally(adj) อย่างตามตัวอักษร, See also: ตามตัวหนังสือ
penmanship(n) ศิลปะในการเขียนตัวหนังสือ, See also: วิธีเขียนตัวหนังสือ, Syn. calligraphy
skywritting(n) การเขียนตัวหนังสือ
uncial(adj) เกี่ยวกับตัวหนังสือกรีกและละติน สมัยศตวรรษที่ 4-8
uncial(n) ตัวหนังสือชนิดหนึ่ง, See also: ตัวอักษรชนิดหนึ่ง
Uncila(adj) เกี่ยวกับตัวหนังสือกรีกและละติน สมัยศตวรรษที่ 4-8
Uncila(n) ตัวหนังสือชนิดหนึ่ง
wen(n) ตัวหนังสือรูนที่มีเสียงของ W ซึ่งใช้เขียนกันในภาษาอังกฤษยุคเก่าและยุคกลาง, Syn. wynn
writing(n) ตัวหนังสือ, See also: ตัวเขียน, Syn. character, letter

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
braille(เบรล) n. ตัวหนังสือนูนสำหรับคนตาพิการ, ชื่อผู้สร้างตัวหนังสือดังกล่าว vt. เขียนตัวหนังสือเบรลล์
carbon ribbonผ้าหมึกพิมพ์หมายถึง แถบผ้าหมึกที่ใช้ในเครื่องพิมพ์แบบกระทบ (impact printer) ผ้าหมึกนี้จะเป็นตัวทำให้ตัวหนังสือชัดหรือจาง ถ้าเมื่อใด ตัวหนังสือที่พิมพ์จาง ลองตรวจสอบดูผ้าหมึกพิมพ์ เพราะผ้าหมึกพิมพ์อาจจะเก่า ให้จัดการเปลี่ยนใหม่
cathode ray tubeหลอดภาพใช้ตัวย่อว่า CRT หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ
cipher(ไซ'เฟอะ) { ciphered, ciphering, ciphers } n. เลขศูนย์, คนที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่มีค่า, รหัสลับ, เครื่องหมายลับ, สัญลักษณ์ลับ, อักษรไขว้, ตัวหนังสือไขว้ vt. คำนวณเป็นตัวเลข, เขียนเป็นระหัส, คิดออกมา. vi. ใช้ตัวเลขหรืออักษรในการคิดคำนวณ คำศัพท์ย่อย:
crt(ซีอาร์ที) ย่อมาจาก cathode ray tube หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ หลอดภาพของจอคอมพิวเตอร์ก็ดี หลอดภาพของโทรทัศน์ก็ดี จะใช้หลอดภาพ CRT เช่นเดียวกัน
doc(ดอค) n. ดูdoctor, คำสั้น ๆ ที่ใช้เรียกนายแพทย์ ทันตแพทย์ หรือสัตวแพทย์ abbr. II-deoxycorticosterone ด็อก <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า document มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลหรือ แฟ้มเอกสาร (.doc) ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้
document fileแฟ้มเอกสารหมายถึง แฟ้มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ เป็นแฟ้มที่ต้องมีการจัดรูปหน้าไว้เรียบร้อย มักใช้นามสกุล (file type) ว่า .docดู non document file เปรียบเทียบ
graphic displayการแสดงผลกราฟิกการแสดงผลของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถแสดงผลออกมาเป็นภาพได้ โดยใช้จุดมาเรียงกันเป็นเส้นตรง, เส้นโค้ง หรือแท่ง ฯ การป้อนข้อมูลอาจทำเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือก็ได้ และเราสามารถใช้คำสั่งบังคับให้แสดงภาพด้านตรง หมุน หรือเอียง รวมทั้งอาจมีปากกาไว้ให้เขียนบนจอภาพด้วยก็ได้
hair spaceช่องไฟที่เล็กที่สุดของตัวหนังสือ, ช่องแยกที่บางที่สุดในการเรียงพิมพ์, เส้นโลหะบางที่สุดที่ใช้แยกคำ สัญลักษณ์หรืออื่น ๆ
inverse textตัวหนังสือเจาะขาวหมายถึงตัวอักษรที่พิมพ์แบบเจาะขาวบนพื้นที่เป็นสีอื่น ส่วนมากจะเป็นสีเข้ม ๆ มักนำมาใช้เมื่อต้องการเน้น เช่น เป็นหัวข้อ มีความหมายเหมือน reverse text
italicise(อิแทล'ลิไซช) vt. พิมพ์ด้วยตัวหนังสือเอียง, ขีดเส้นใต้คำ. vi. ใช้ตัวหนังสือเอียง., See also: italicization, italicisation n.
italicize(อิแทล'ลิไซช) vt. พิมพ์ด้วยตัวหนังสือเอียง, ขีดเส้นใต้คำ. vi. ใช้ตัวหนังสือเอียง., See also: italicization, italicisation n.
kanamajiri(คา'นะมา'จิรี) n. ตัวหนังสือมาตราฐานของญี่ปุ่น
letter(เลท'เทอะ) n. จดหมาย, อักษร, ตัวหนังสือ, ตัวพยัญชนะ, แบบ, ตัวพิมพ์, ตัวเรียงพิมพ์, ศัพท์, สาส์น, หนังสือ, หนังอนุญาต, See also: letters n. วรรณคดี, อาชีพนักประพันธ์, ความรู้ เครื่องหมาย
letterhead(เลท'เทอะเฮด) n. ตัวหนังสือที่พิมพ์อยู่ตรงหัวกระดาษจดหมาย (โดยเฉพาะที่บอกชื่อและที่อยู่) , กระดาษจดหมายที่มีตัวหนังสือดังกล่าว
literal(ลิท'เทอเริล) adj. ตามตัวอักษร, ตามตัวหนังสือ, ตามตัวพยัญชนะ, แท้จริง, ไม่เลยเถิด., See also: literalness n. ดูliteral, Syn. veritable, verbal
numeric characterตัวเลขหมายถึงตัวอักขระที่เป็นตัวเลข โดยปกติกำหนดไว้ให้มี 10 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 และ 9 เพื่อแยกให้เห็นต่างจากตัวอักขระที่เป็นตัวหนังสือมีความหมายเหมือน digit
optotype(ออพ'โทไทพฺ) n. แบบตัวหนังสือที่ใช้ทดสอบสายตา
penmanship(เพน'เมินชิพ) n.ศิลปะในการเขียนหรือคัดตัวหนังสือ, ลายมือ, การประพันธ์, Syn. handwriting, writing, longhand
plaque(เพลค, พลาค) n. แผ่นจารึกตัวหนังสือหรือภาพ, สารสะสมบนผิวหน้าซึ่งอาจจะเป็นสื่อที่แบคทีเรียเจริญได้หรือเกิดหินปูนขึ้น
polymorphism(พอลลีมอร'ฟิสซึม) n. ภาวะที่มีหลายรูปแบบ, See also: polymorphistic adj. โพลิมอฟิซึม <คำอ่าน>ในโปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming หมายถึง การใช้ชื่อเหมือนกันให้หมายถึงกระบวนการคนละอันในเนื้อหาที่ไม่เหมือนกัน เป็นต้นว่า คำว่า "แสดงผล" display อาจใช้หมายถึงการแสดงเป็นตัวหนังสือ เป็นกราฟ เป็นภาพ เป็นตารางจัดการ เป็นภาพเคลื่อนไหว เป็นเสียง ฯ รวมทั้งการแสดงบนจอภาพ บนกระดาษ วิธีการเช่นนี้ ใช้กันในเรื่องของโปรแกรมเชิงวัตถุ
rubric(รู'บริค) n. ตัวหนังสือแดง, หัวเรื่องสีแดง, เครื่องหมายสีแดง, เครื่องหมายนำทางสีแดง, ข้อควรประพฤติในพิธีทางศาสนา, ข้อควรประพฤติ, กฎ
slur(สเลอ) vt., vi., n. (การ) ทอดเสียงอย่างคลุมเครือ, ทอดเสียง, ร้องทอด, ออกเสียง, ทำอย่างรีบร้อน, ทำให้ด่างพร้อย, ทำให้มีมลทิน, ทำให้เปรอะเปื้อน, ใส่ร้าย, ปิดบังความผิด, รอยตัวหนังสือทาบทับกัน, การเขียนติดกัน, Syn. slight, skimp, mumble
superscript(ซู'เพอสคริพทฺ) adj., n. (ตัวหนังสือ) ซึ่งเขียนหรือทำเครื่องหมายข้างบนหรือบนมุมขวา.
unlettered(อันเลท'เทิร์ด) adj. ไม่ได้รับการศึกษา, ไม่ได้เรียนหนังสือ, ไม่สนใจ, ไม่มีตัวหนังสือ, ไม่มีความรู้., Syn. uneducated, illiterate
verbatim(เวอเบ'ทิม) adv., adj. คำต่อคำ, ตามตัวอักษร, ตามตัวหนังสือ, โดยคำเดียวกัน
wordy(เวริ์ด'ดี) adj. ใช้คำมากเกินไป, เกี่ยวกับคำ, ประกอบ ด้วยคำ, เกี่ยวกับตัวหนังสือ, เกี่ยวกับคำ, เกี่ยวกับตัวหนังสือ, See also: wordily adv. wordiness n.
writing(ไร'ทิง) n. การเขียน, การเขียนหนังสือ, การเขียนจดหมาย, การแต่งหนังสือ, สิ่งที่เขียน, แบบเขียน, การเขียน, ตัวหนังสือ, ตัวเขียน, หนังสือสลัก, จดหมาย, เอกสาร -Phr. (writing on the wall คัดลายมือ เครื่องเตือนสติ), Syn. calligraphy

English-Thai: Nontri Dictionary
BLACK AND black and white(n) ข้อเขียน, สิ่งพิมพ์, ตัวหนังสือ
letter(n) จดหมาย, ตัวอักษร, ตัวหนังสือ, เอกสาร, หนังสือ, ตัวพิมพ์
longhand(n) ลายมือเขียน, ตัวหนังสือ
text(n) หัวข้อ, ต้นฉบับ, ตัวหนังสือ, แบบเรียน, เนื้อหา, ใจความ
writing(n) การเขียน, ข้อเขียน, ลายมือ, ตัวหนังสือ, จดหมาย, เอกสาร, การแต่งหนังสือ์

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
LANNA(n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน
scribble(n) ตัวหนังสือหยุกหยิก, การแต่งหนังสือเลว

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top