|
| การแผ่รังสี | น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อน เป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม. | ดาวฤกษ์ | น. ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลม สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว. | รังสีความร้อน | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, อินฟราเรด ก็เรียก. | รังสีเหนือม่วง | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก. | รังสีเอกซ์ | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก | ฤกษ์ ๓ | (เริก) น. เรียกดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลมที่สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว ว่า ดาวฤกษ์. | สเปกตรัม | น. ผลที่ได้จากการที่การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ตามขนาดของช่วงคลื่นหรือความถี่ขององค์ประกอบนั้น ๆ. | อัลตราไวโอเลต | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐-๗เมตร กับ ๕ x ๑๐-๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗-ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7-dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, รังสีเหนือม่วง ก็เรียก. | อินฟราเรด | (-ฟฺรา-) น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐-๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, รังสีความร้อน ก็เรียก. | เอกซเรย์ | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ระหว่างประมาณ ๕ x ๑๐-๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐-๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ รังสีเอกซ์ ก็เรียก |
| | Solar radiation | การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cerenkov radiation | การแผ่รังสีเซเรนโกฟ, ปรากฏการณ์เรืองแสงเมื่ออนุภาคที่มีประจุเคลื่อนผ่านวัสดุโปร่งใส ด้วยความเร็วที่สูงกว่าความเร็วของแสงในวัสดุนั้น เช่น ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเครื่องฉายรังสีแกมมาแบบสระน้ำ จะเห็นการแผ่รังสีนี้เป็นแสงเรืองสีฟ้า พาเวล อเล็กเซวิช เซเรนโกฟ (Pavel Alexsejevich Cerenkov) เป็นคนแรกที่อธิบายปรากฏการณ์นี้ [นิวเคลียร์] | Coincidence counting | การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Counter | เครื่องนับรังสี, อุปกรณ์ตรวจหาการแผ่รังสี หรือเครื่องสำรวจรังสี ซึ่งตรวจหาและวัดการแผ่รังสี จากการแตกตัวเป็นไอออน โดยแสดงเป็นผลรวมสะสม หรืออัตราการแผ่รังสี [นิวเคลียร์] | Very high radiation area | บริเวณรังสีสูงมาก, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงมากซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 1 เมตร จากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีดูดกลืนเกิน 5 เกรย์ ในเวลา 1 ชั่วโมง การรับรังสีปริมาณสูงมากมักจะวัดในหน่วยของปริมาณรังสีดูดกลืน เนื่องจากให้ค่าการวัดที่แม่นยำกว่าการวัดปริมาณรังสีสมมูล, Example: [นิวเคลียร์] | Survey meter | เครื่องสำรวจรังสี, อุปกรณ์ชนิดเคลื่อนย้ายได้ ที่ใช้ตรวจหาและวัดรังสี เพื่อใช้สำรวจปริมาณรังสีในพื้นที่ต่างๆ หรือที่ตัวบุคคล เพื่อตรวจสอบการแผ่รังสี และ การเปื้อนสารกัมมันตรังสี [นิวเคลียร์] | Source | ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [นิวเคลียร์] | Radiation source | ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ, Example: [นิวเคลียร์] | Radon | เรดอน, ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นแก๊สที่หนักที่สุดในธรรมชาติ มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 86 มีน้ำหนักเชิงอะตอมเท่ากับ 222 เป็นนิวไคลด์ลูกของเรเดียมในอนุกรมยูเรเนียม รังสีพื้นหลังในธรรมชาติเกิดจากการแผ่รังสีของเรดอนเป็นส่วนใหญ่ [นิวเคลียร์] | Radioactive source | ต้นกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [นิวเคลียร์] | Radioactive material | วัสดุกัมมันตรังสี, วัสดุที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีเป็นองค์ประกอบ ทำให้มีการแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา, Example: [นิวเคลียร์] | Radiation, nuclear | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | radiation | รังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน [นิวเคลียร์] | Nuclear radiation | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | High radiation area | บริเวณรังสีสูง, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีสมมูลเกิน 1 มิลลิซีเวิร์ต ในเวลา 1 ชั่วโมง [นิวเคลียร์] | Architecture and solar radiation | สถาปัตยกรรมกับการแผ่รังสีดวงอาทิตย์ [TU Subject Heading] | Radiation | การแผ่รังสี [TU Subject Heading] | Radiation chemistry | เคมีการแผ่รังสี [TU Subject Heading] | Radiation dosage | ปริมาณการแผ่รังสี [TU Subject Heading] | Shielding (Radiation) | การป้องกันการแผ่รังสี [TU Subject Heading] | Solar radiation | การแผ่รังสีดวงอาทิตย์ [TU Subject Heading] | Ultraviolet radiation | การแผ่รังสีอุลตราไวโอเลต [TU Subject Heading] | Radiation | การแผ่รังสี, รังสี [สิ่งแวดล้อม] | Ultraviolet Radiation | การแผ่รังสีอัลตราไวโอเลต, Example: การแผ่รังสีอัลตราไวโอเลต [สิ่งแวดล้อม] | nuclear gauge | เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ หรือนิวเคลียร์เกจ, เป็นเครื่องวัดและควบคุมที่ทำงานโดยการกระตุ้นด้วยรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เครื่องวัดชนิดนี้ประกอบด้วยต้นกำเนิด และหัววัดรังสี บรรจุอยู่ในภาชนะที่แยกจากกัน หรือบรรจุอยู่ในภาชนะเดียวกัน โดยให้ลำรังสีผ่านออกมาทางช่องทางผ่าน หรืออุปกรณ์ควบคุมรังสีไปยังวัสดุที่ต้องการวัด ขณะเดียวกันหัววัดรังสีจะทำหน้าที่ตรวจวัดความเข้มของปริมาณรังสี หรือจำแนกชนิด และขนาดพลังงานของรังสี ซึ่งเป็นผลมาจากอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุนั้น ค่าที่วัดได้จะถูกส่งไปประมวลผลด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ เพื่อแสดงผลการตรวจสอบที่จะใช้เป็นตัวแปรในอุปกรณ์ควบคุมกระบวนการผลิตในขั้นตอนต่อไป เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์นี้ มีหลักการทำงานตามลักษณะการเกิดอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุ แบ่งเป็น 3 แบบ คือ เครื่องวัดแบบส่งผ่าน (Transmission gauge) และเครื่องวัดแบบกระตุ้นให้เกิดการแผ่รังสี (Reactive gauge) [พลังงาน] | source | ต้นกำเนิดรังสี (แหล่งกำเนิดรังสี), หมายถึง วัสดุหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สามารถก่อให้เกิดการแผ่รังสีชนิดที่ก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ ตัวอย่างเช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [พลังงาน] | Cosmic Radiation | การแผ่รังสีคอสมิก [การแพทย์] | Energy, Radiant | พลังงานการแผ่รังสี, รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ามีพลังงาน [การแพทย์] | Radiometer | เรดิออมิเตอร์ หรือเครื่องวัดการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Radiation balance meter | เครื่องวัดสมดุลย์ การแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Bolometer | โบลอมิเตอร์ หรือเครื่องวัดพลังงานการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Bologram | โบโลแกรม หรือกราฟวัดพลังงานการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Actinometer | แอคทินอมิเตอร์ หรือเครื่องวัดความเข้มของพลังงานการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Radiation | การแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Actinometry | วิชาการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Atmospheric radiation | การแผ่รังสีของ บรรยากาศ [อุตุนิยมวิทยา] | Black body radiation | การแผ่รังสีของวัตถุ ดำ [อุตุนิยมวิทยา] | Corpuscular radiation (corpuscular rays) | การแผ่รังสีคอร์ปัส คูลาร์ หรือรังสีคอร์ปัสคูลาร์ [อุตุนิยมวิทยา] | Cosmic radiation (cosmic rays) | การแผ่รังสีคอสมิค หรือรังสีคอสมิค [อุตุนิยมวิทยา] | Diffuse solar radiation | การแผ่รังสีจากดวง อาทิตย์แบบแพร่กระจาย [อุตุนิยมวิทยา] | Sky radiation | การแผ่รังสีของท้อง ฟ้า [อุตุนิยมวิทยา] | Direct solar radiation | การแผ่รังสีโดยตรง จากดวงอาทิตย์ [อุตุนิยมวิทยา] | Downward (total) radiation | การแผ่รังสีลงสู่โลก (รังสีทั้งหมด) [อุตุนิยมวิทยา] | Downward terrestrial radiatior | การแผ่รังสีของโลก กลับลงมา [อุตุนิยมวิทยา] | Atmospheric counter radiation | การแผ่รังสีกลับลงมา [อุตุนิยมวิทยา] | Effective radiation | การแผ่รังสีที่มีประ สิทธิผลสมดุลย์กัน [อุตุนิยมวิทยา] | Flux of radiation | ปริมารการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Radiant power | พลังงานการแผ่รังสี [อุตุนิยมวิทยา] | Global radiation | การแผ่รังสีของโลก [อุตุนิยมวิทยา] | Insolation | รังสีดวงอาทิตย์บน พื้นโลก หรือพลังงานการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ [อุตุนิยมวิทยา] |
| | | actinic | (แอคทิน' นิค) adj. เกี่ยวกับคุณสมบัติของการแผ่รังสี, มีรังสี (pertaining to actinism) | actinism | (แอค' ทินิสซึม) n. คุณสมบัติการแผ่รังสีซึ่งมีผลทางเคมี | actinometer | (แอคทินอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความเข้มข้นการแผ่รังสี. -actinometric adj. actinometry n. | beam | (บีม) n. คาน, ไม้ขวาง, ขื่อแป, รอด, คร่าว, คันรถ, คันชั่ง, คันไถ, แกนที่ม้วนได้, คานหาม, เขาแกน, ลำแสง, ลำรังสีขนานกัน, สัญญาณวิทยุ, สีหน้าที่ปิติยินดี vi. แผ่รังสีหรือลำแสง, ส่งสัญญาณวิทยุ, เปล่งยิ้มหรือมีสีหน้าที่ปิติยินดี | eradiate | (อิเร'ดิเอท) vi., vt. ปล่อยรังสี, แผ่รังสี, See also: eradiation n. ดูeradiate | radiate | (เร'ดิเอท) vi. แผ่รังสี, ปล่อยออกมาเหมือนรังสี, ปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, แวววาวไปด้วย. adj. ออกจากจุดศูนย์กลาง, ซึ่งมีรังสีออกจากจุดสูนย์กลาง, See also: radiability n. radiably, adv., Syn. shine, spread out | radiation | (เรดิเอ'เชิน) n. การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, พลังงานรังสี, สิ่งที่ถูกปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, กัมมันตภาพรังสี. |
| beam | (vi) เปล่งแสง, สว่าง, แผ่รังสี, ส่งสัญญาณวิทยุ, ยิ้ม | radiate | (vi, vt) แผ่รังสี, ส่งแสง, กระจายเสียง, ปล่อยออกมา | radiation | (n) กัมมันตภาพรังสี, การส่งแสง, การแผ่รังสี, การฉายแสง |
| radiator | [เรดิเอเตอร์] (n) ธาตุกัมมันตรังสี, ธาตุที่สามารถแผ่รังสีได้ (ธาตุสุดท้ายของแต่ละหมู่ของตารางธาตุและธาตุที่ไม่เสถียรต่างๆ) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |