ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สนเทศ, -สนเทศ- |
สนเทศ | (n) information | สารสนเทศ | (n) information | สารสนเทศ | (n) information, Example: คอมพิวเตอร์สามารถจัดการข้อมูลหรือผลิตสารสนเทศได้ในเวลาอันรวดเร็ว, Thai Definition: การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | เทคโนโลยีสารสนเทศ | (n) information technology, See also: IT, Example: เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก, Thai Definition: เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่ข่าวสารผ่านทางคอมพิวเตอร์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม | เทคโนโลยีสารสนเทศ | (n) information technology, See also: IT, Thai Definition: เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่ข่าวสารผ่านทางคอมพิวเตอร์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม | โลกเทคโนโลยีสารสนเทศ | (n) cyberspace, Example: มนุษย์กำลังอยู่ในโลกเทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็น, Thai Definition: ขอบเขตหรือบริเวณที่เชื่อมต่อกันได้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบอินเตอร์เน็ต |
| สนเทศ | น. คำสั่ง, ข่าวสาร, ใบบอก. | สารสนเทศ | (สาระสนเทด, สานสนเทด) น. ข่าวสาร | สารสนเทศ | การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ. | ความรู้ | ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ เช่น ผู้ชายคนนี้เก่ง แต่ไม่มีความรู้เรื่องผู้หญิง. | โลกาภิวัตน์ | การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น. | สันเทส | (-เทด) น. สนเทศ. |
|
| | Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information science | สารสนเทศศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information | สารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information technolgy | เทคโนโลยีสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information resource | แหล่งสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information resources manegement | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Online information service | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | National Information Standards Organization - NISO | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Geographic information system | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online information service | บริการสารสนเทศแบบออนไลน์, Example: <p>บริการสารสนเทศแบบออนไลน์ คือ การให้บริการสารสนเทศผ่านทางระบบออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ผู้จัดการสารสนเทศสามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา สารสนเทศแบบออนไลน์ ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journals) รวมทั้งฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bioinformatics | ชีวสารสนเทศศาสตร์, Example: <p>ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) เป็นสาขาที่เกิดขึ้นจากการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางชีววิทยาการแพทย์ โดยเน้นปัญหาการเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลรหัสพันธุกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับวิทยาศาสตร์การคำนวณ (Computational Science) ช่วยให้การทำงานและวิจัยด้านนี้เป็นไปอย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพ <p>ตัวอย่างงานชีวสารสนเทศ ได้แก่ โครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ (Human Genome Project) การถอดรหัสพันธุกรรมเชื้อโรคหรือพืชที่สำคัญ และการผลิตยาใหม่ เป็นต้น <p>ชีวสารสนเทศศาสตร์ได้รับการกล่าวถึงว่าจะมีความสำคัญอย่างมากในศตวรรษที่ 21 บุคลากรด้านชีวสารสนเทศมีความจำเป็นอย่างมาก มีการเห็นความสำคัญในการจัดให้ชีวสารสนเทศเป็นศาสตร์เฉพาะทางและจัดให้มีการสอนเป็นหลักสูตรขึ้น ในปัจจุบันการพัฒนาบุคลากรด้านนี้สามารถกระทำได้ โดยการสอนความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และวิทยาศาสตร์การคำนวณแก่บุคลากรด้านชีววิทยาการแพทย์ เช่น นักอณูชีววิทยา นักเคมี แพทย์ เภสัชกร และนักวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ <p>งานหลักของชีวสารสนเทศคือการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลชีววิทยา (Biological Database) ที่บรรจุข้อมูลบรรณานุกรม การเรียงสายของโปรตีน (Protein Sequence) โครงสร้างโปรตีน (Protein Structure) หน้าที่โปรตีน (Protein Function) หมวดโปรตีน (Pattern/Family) และรหัสพันธุกรรม (Necleotide Sequence) เป็นต้น <p>บรรณานุกรม <p>Available at : http://www.si.mahidol.ac.th/simi/bioinfo/bi_what.html. Accessed July 31, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collection development | การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Communication in information science | การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information center | ศูนย์สารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information officer | นักเอกสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information resource | ทรัพยากรสารสนเทศ, Example: <p>ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศและความรู้ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) 2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) และ 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) <p>1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น ตำรา หนังสืออ้างอิง รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ นวนิยายและเรื่องสั้น นิตยสารและวารสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น <p>2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่นำเสนอความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตาเป็นหลัก ซึ่งไม่ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุย่อส่วน <p>3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการอ่านหรือฟัง โดยมีชุดคำสั่งระบบจัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดี-รอม และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information science | สารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information scientist | นักเอกสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information storage and retrieval system | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ, Example: <p>ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ หรือ ระบบการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการที่มีการคัดเลือก ควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องจากแหล่งภายในและภายนอก ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ โดยเป็นทั้งระบบที่จัดทำด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทหน้าที่ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในช่องทางที่เป็นทางการ และเป็นตัวกลางที่สำคัญเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ <p>พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ มี 2 ช่วงคือ ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 และ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 <p>1. ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 เป็นการพัฒนาระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทห้องสมุด การจัดหมวดหมู่ซึ่งพัฒนามาเป็นระบบหมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งการจัดทำดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการพัฒนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก ซึ่งเป็นการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อ เช่น กระดาษลงฟิล์ม เทคโนโลยีในการค้นคืนระบบแรก เป็นเทคนิคการทำเครื่องมือค้นประเภทบัตรเจาะบันทึกหัวเรื่อง การทำดรรชนี เช่น ควิก และริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ทำบัตรรายการ <p>2. ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญ เช่น การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่ คือ โอซีแอลซี (OCLC : Online Computer Library Center) และอาร์แอลไอเอ็น (RLIN : Research Libraries Information Network) บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เช่น กลุ่มไดอะลอก ออบิต และอินเทร์เน็ตกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information technolgy | เทคโนโลยีสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Location | ตำแหน่งของทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Management information system | ระบบสารสนเทศเืพื่อการจัดการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | National Information Standards Organizat | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Non-circulation | ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ให้ยืมออก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ, Example: <p>การค้นข้อสนเทศ หรือ การค้นคืนสารสนเทศ มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อค้นคืนเอกสารทั้งหมดในทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าเรื่องกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ออกมา โดยมีเอกสารที่ไม่เข้าเรื่องปะปนออกมาให้น้อยที่สุด การค้นคืนสารสนเทศมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ 2 ส่วน คือ <p>1. การจัดทำตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแทนทั้งสองนี้ (ตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้) <p>ระบบค้นคืนสารสนเทศ จำแนกประเภทได้หลายวิธี ที่สำคัญคือการจำแนกประเภทของระบบตามประเภทของสารสนเทศที่จัดเก็บและค้นคืนได้ ได้แก่ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ฐานข้อมูลตัวเลข ฐานข้อมูลภาพ และฐานข้อมูลมัลติมีเดีย <p>กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ <p>1. การทำความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม <p>3. การกำหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคำค้น <p>4. การกำหนดกลยุทธ์การค้น <p>5. การดำเนินการค้นและทบทวนผลการค้น <p>ปัจจัยสนับสนุนในการค้นหาสารสนเทศ ได้แก่ <p>1. การสัมภาษณ์ผู้ใช้ก่อนการค้นหา เช่น ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะการนำสารสนเทศไปใช้ ระดับความลุ่มลึก และปริมาณของสารสนเทศที่ต้องการ <p>2. เกณฑ์การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศ เช่น ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลา เนื้อหาสาระ ค่าใช้จ่าย <p>3. เทคนิคสำคัญในการค้นหาสารสนเทศ เช่น การกำหนดคำค้นด้วยศัพท์ควบคุม (Control vocabulary) และศัพท์ไม่ควบคุม (Uncontrol vocabulary) การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นด้วยตรรกะบูเลียน เทคนิคการตัดคำ และเทคนิคการระบุเขตข้อมูล <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information resources management | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Institutional repository | คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน, Example: Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information network | เครือข่ายสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information theory | ทฤษฎีสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information policy | นโยบายสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information service | บริการสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Information retrieval | การค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Information storage and retrieval systems | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Bioinformatics | ชีวสารสนเทศศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Information literacy | การรู้สารสนเทศ, Example: <p>หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ <p>สมาคมห้องสมุดแห่งอเมริกัน (American Library Association) ได้กำหนดองค์ประกอบของการรู้สารสนเทศไว้ 4 ประการดังนี้คือ [ 1 ] <p>1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการหรือจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เข้าใจถึงความสำคัญของสารสนเทศว่าใช้ประโยชน์และช่วยในการทำงานหรือการเรียนได้ดีขึ้นอย่างไร หมายรวมถึงการรู้ถึงหัวข้อเรื่อง ขอบเขตที่ต้องการ รูปแบบและประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ <p>2. ความสามารถในการค้นหาและเข้าถึงสารสนเทศ คือ การรู้ว่าจะได้สารสนเทศที่ต้องการได้จากแหล่งใด และจะค้นคืนอย่างไร <p>3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการสรุปแนวคิดหลักจากสารสนเทศที่รวบรวมมาได้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ คือ ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย รวมถึงการคิดและการวิเคราะห์สารสนเทศที่ได้มา <p>4. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่มีอยู่ในการวางแผนและสร้างผลงานของตนเอง และสามารถเผยแพร่ผลงานนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ <p>ขณะที่ Unesco ก็ได้ให้ความสำคัญและเห็นว่าทุกคนควรมีโอกาสที่จะได้รับทักษะ เพื่อความเข้าใจ การมีส่วนร่วม การได้รับผลประโยชน์จากสังคมความรู้ แต่ด้วยการเกิดภาวะที่สารสนเทศเติบโตขึ้นมากจากหลายแหล่ง และอย่างรวดเร็ว ต้องมีการพิจารณาให้มีการใช้สารสนเทศอย่างฉลาด ซึ่งจะช่วยผู้ใช้พัฒนาทักษะ และความเข้าใจถึงสิ่งที่ต้องการหามีกระบวนการ และการใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำได้ผ่าน 3 รูปแบบ คือ The Big 6, Seven Pillars และ Empowering Eight <p>The Big 6 เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันมา พัฒนาโดยบรรณารักษ์ชาวอเมริกัน 2 คน คือ ไมค์ ไอเซนเบิร์ก และ บอบ เบอร์โควิทซ์ คือ 1. Task Definition 2. Information-seeking strategies 3. Location and access 4. Use of information 5. Synthesis และ 6. Evaluation <p>Seven Pillars The Information Skills Taskforce of the Standing of National and University Libraries in the United States Kingdom (SCONUL) ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1999 คือ 1. Recognize information need 2. Distinguish ways of addressing gap 3. Construct strategies for locating 4. Locate and access 5. Compare and evaluate 6. Organize, apply and communicate และ 7. Synthesis and create <p>Empowering Eight ผู้เข้าร่วมประชุมในงาน International Workshop on Information Skills for Learning in Columbo, Sri Lanka ได้พัฒนาขึ้นสำหรับใช้ในกลุ่ม South and South East Asia ในปี ค.ศ. 2004 คือ 1. Identify 2. Expore 3. Select 4. Organize 5. Create 6. Present 7. Create และ 8. Apply <p>แหล่งข้อมูล <p>[ 1 ] American Library Association. Association of College and Research Libraries. Information Literacy Competency Standards for Higher Education. http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/standards/informationliteracycompetency.cfm (accessed June 6, 2011). <p>[ 2 ] สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์. (2552). Information Literacy. http://www.stks.or.th/web/index.php?option=com_content&task=view&id=2834&Itemid=1 (เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2554) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Economic information | สารสนเทศทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | cyber | ไซเบอร์, ไซเบอร์ คำที่กร่อนมาจากคำว่าไซเบอร์เนติกส์ และมีความหมายว่าเกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ายและสังคมเครือข่ายสากลทั่วโลก เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) และยังมีการให้ความหมาย "สารสนเทศเสมือนจริงที่ถูกสร้างขึ้นหรือเกิดขึ้นเอง" <p>คำเหล่านี้มีใช้มากขึ้นทุกที อาทิ <p>cyberspace</p> <p>cyberporn</p> <p>cybersex</p> [คอมพิวเตอร์] | Information | สารสนเทศ [การจัดการความรู้] | globalization | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | globalisation | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | IT Year | ปีที่คณะรัฐมนตรีกำหนดให้เป็นปีแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศไทย ตรงกับปี พ.ศ. 2538 [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Technical Information Access Center | ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Selective Dissemination Information | บริการสารสนเทศคัดสรรเพื่อเผยแพร่ตามที่ผู้ใช้ระบุความต้องการ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Dialog (Information retrieval system) | ไดอะล็อก (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [คอมพิวเตอร์] | Information theory | ทฤษฎีสารสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| | ชีวสารสนเทศศาสตร์ | [chīwasārasonthētsāt] (n) EN: bioinformatics FR: bio-informatique [ f ] | การประมวลผลสารสนเทศ | [kān pramūanphon sārasonthēt] (n, exp) EN: information processing FR: traitement de l'information [ m ] | กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร | [Krasūang Thēknōlōyī Sārasonthēt lae Kān Seūsān] (org) EN: Ministry of Information and Communication Technology | สารสนเทศ | [sārasonthēt] (n) EN: information FR: information [ f ] | สนเทศ | [sonthēt] (n) EN: news ; information | เทคโนโลยีสารสนเทศ | [thēknōlōyī sārasonthēt] (n, exp) EN: information technology FR: technologie de l'information [ f[ | วิชาการด้านสารสนเทศ | [wichākān dān sārasonthēt] (n, exp) EN: information science FR: technologie de l'information [ f ] | วิทยาการสารสนเทศ | [witthayākān sārasonthēt] (n, exp) EN: information science FR: technologie de l'information [ f ] |
| Bioinformatics | (n) ชีวสารสนเทศศาสตร์ | virtual organization | (n) องค์การเสมือนจริง, เครือข่ายขององค์การซึ่งเชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อที่จะแลกเปลี่ยนทักษะ ทรัพยากร สินค้า บริการ การเข้าถึงตลาด และเพื่อลดต้นทุน | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cryptocurrency | (n) เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | blockchain | (n) บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | bitcoin | (n) บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | avatar | (n) อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | augmented reality (AR) | (n) ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber crime | (n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber bully | (n) การระรานทางไซเบอร์, การกลั่นแกล้ง การให้ร้าย การด่าว่า การข่มเหง หรือการรังแกผู้อื่นทางสื่อสังคมต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| | american standard code fo | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี " | ascii | คำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต) | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ | data file | แฟ้มข้อมูลหมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานบันทึกแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็นของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล" | eis | (อีไอเอส) ย่อมาจาก executive information system (แปลว่า ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก | executive information sys | ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารใช้ตัวย่อว่า EIS (อ่านว่า อีไอเอส) หมาถึงการนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก | file | (ไฟลฺ) { filed, filing, files } n. แผงหรือแฟ้มเก็บเอกสาร, ปึกเอกสาร, เอกสารเป็นเรื่อง ๆ หนึ่ง, หมวดเอกสาร, แถวเรียง, ตารางเรียง, ตะไบ, คนเจ้าเล่ห์. -Phr. (on file ซึ่งจัดไว้เป็นเครื่อง ๆ ในแฟ้มเก็บเอกสาร) . vt. จัดเข้าแฟ้ม, เก็บเอกสาร, ยื่นคำร้อง. vi. เดินเป็นแถวตรง, ยื่น หมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็น แม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นโปรแกรม ข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็น ของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล" | file creation | การสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด | gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา | hard copy | สำเนาถาวรสิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ | ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป | ifips | (ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า | inference engine | เครื่องอนุมานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญนั้นจะประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1. ตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) 2. ฐานความรู้ (knowledge based) และ3. ส่วนอนุมาน ส่วนอนุมานนั้นจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณหาผลลัพธ์จากข้อเท็จจริงและข้อสนเทศที่ได้เก็บเอาไว้แล้ว โดยผู้ใช้เป็นผู้จัดหาข้อสนเทศนั้นให้อีกชั้นหนึ่ง | informant | (อินฟอร์'เมินทฺ) n. ผู้บอก, ผู้แจ้ง, ผู้ให้ความรู้, สนเทศ, Syn. informer | informatics | สนเทศศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ (information) และการคำนวณเพื่อคาดการณ์ในอนาคต เป็นคำที่ชาวยุโรปนำมาใช้แทนคำ computer science ที่แปลว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ดู computer science ประกอบ | information | (อินฟอร์เม'เชิน) n. ความรู้, ข่าว, ข้อมูล, การบอกข่าว, การให้ความรู้, สำนักงานสนเทศ., See also: informational adj., Syn. learning | information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | informer | (อินฟอร์ม'เมอะ) n. ผู้บอกให้รู้, สนเทศ, ผู้แจ้งข่าว | institute of electrical a | สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป | internet | (อินเทอร์เน็ต) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติที่มีสายตรงต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้รายใหญ่ทั่วโลก ผ่านโมเด็ม (modem) คล้ายกับ Compuserve ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมบางโปรแกรมมาใช้ได้ อย่างไรก็ตาม มีผู้เปรียบเทียบว่า อินเตอร์เน็ตเป็นเหมือนทางหลวงระหว่างประเทศ แต่ละประเทศจะต้องมีถนนเข้ามาเชื่อมต่อเข้าไปในประเทศ กล่าวคือ จะต้องมีเครือข่ายภายในรับช่วงต่ออีกทอดหนึ่ง (เช่น ไทยมี Chulanet, KSC , Infonews เป็นต้น) มิฉะนั้นก็จะใช้ไม่ได้ผล | it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | management information sy | ระบบการจัดการสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า MIS อ่านว่า เอ็มไอเอส เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น | mis | (o) - Pref."เกลียด" เอ็มไอเอส <คำอ่าน>ย่อมาจาก management information system เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น |
| bibliographic | (n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ | cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | geoinformation | (n) ภูมิสารสนเทศ | Information Geometry | (n) เรขาคณิตสารสนเทศ | subjectcataloging | รายการทรัพยากรสารสนเทศ | ลานข่าว | [/laan-/kh'ao-/] (n) แถบนอนยาวที่แสดงข้อความข่าวสารหรือสารสนเทศ, ข้อความที่อยู่ในแถบวิ่งบนจอโทรทรรศน์, See also: แถบข่าว | สบทร | (n, name, org, uniq) สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร) ภายใต้การกำกับของ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช), See also: GITS |
| 知識工学 | [ちしきこうがく, chishikikougaku] (n) วิศวกรรมข้อมูลความรู้ วิศวกรรมสารสนเทศ |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |