Search result for

*ทางภูมิศาสตร์*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทางภูมิศาสตร์, -ทางภูมิศาสตร์-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
สิ่งที่บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์น. ชื่อสัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และที่สามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์ดังกล่าว.
ภูมิศาสตร์ประชากรน. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับประชากรในถิ่นต่าง ๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรนั้น ๆ เช่น การกระจาย การย้ายถิ่นฐาน ความหนาแน่น.
ภูมิศาสตร์ประวัติน. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงประวัติการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางภูมิศาสตร์ของดินแดนใดดินแดนหนึ่งตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน, ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ ก็เรียก.
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์น. หนังสือสำหรับค้นชื่อทางภูมิศาสตร์เรียงลำดับตามตัวอักษร.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
geographic mobilityการเคลื่อนที่ทางภูมิศาสตร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Geographic information systemระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Geographic information systemระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Geographic Information Systemระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์, ระบบคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลแผนที่แบบต่างได้อย่างแม่นยำ มีประโยชน์ในการ จัดทำ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ พร้อมกับการแสดงผลข้อมูลชนิดอื่นๆ ที่ต้องอิงพื้นที่ อาจจะเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แผนที่อิเล็กทรอนิกส์ [Assistive Technology]
Communication in geographyการสื่อสารทางภูมิศาสตร์ [TU Subject Heading]
Communication in human geographyการสื่อสารทางภูมิศาสตร์มนุษย์ [TU Subject Heading]
Geodatabasesฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ [TU Subject Heading]
Geographic information systemsระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [TU Subject Heading]
Geographical distributionการแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ [TU Subject Heading]
Geographical mythsตำนานทางภูมิศาสตร์ [TU Subject Heading]
ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต]
Distribution, Geographicการกระจายทางภูมิศาสตร์ [การแพทย์]
geographic positiongeographic position, ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
statistical mapแผนที่สถิติ, แผนภูมิที่นำเสนอข้อมูลโดยอาศัยแผนที่เมื่อต้องการเปรียบเทียบข้อมูลที่อยู่ในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Geographical Locationลักษณะทางภูมิศาสตร์ [การแพทย์]
Geographic Infomation Systemระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์, Example: Geographic Infomation System (GIS)หมายถึง ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่สามารถเก็บรวบรวมและประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ เช่น ที่อยู่ สถานที่สำคัญ ลักษณะประชากรหรือข้อมูลจราจร เข้ากับข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data)บนแผนที่ทางภูมิศาสตร์ <p>[ ที่มา: สรุปจากการศึกษาแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศเพื่อประกอบการจัดทำกรอบนโยบาย ICT2020 ] [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]
Geo-spatialการรวมกันของซอฟต์แวร์และวิธีการวิเคราะห์เชิงพื้นที่กับชุดข้อมูลทางภาคพื้นดินหรือทางภูมิศาสตร์, Example: เป็นคำที่ใช้อธิบายรวมกันของซอฟต์แวร์และวิธีการวิเคราะห์เชิงพื้นที่กับชุดข้อมูลทางภาคพื้นดินหรือทางภูมิศาสตร์ มักจะใช้ร่วมกับสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และศาสตร์ในการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิศาสตร์และโลก (Geomatics) ได้แก่ (1) เรื่องของแรงโน้มถ่วง สนามแม่เหล็กและระบบโคออร์ดิเนต ที่อ้างอิงบนผิว (Geodesy) (2) วิศวกรรมสำรวจ เทคนิคการทำพิกัด รวมไปถึงเรื่องของรูปทรง (Geometry) (3) การทำแผนที่ (4) การระบุตำแหน่งพิกัด รวมไปถึง GPS (Global positioning system) (5) การนำทาง (Navigation) (6) การรับรู้ระยะไกล (Remote sensing) เช่น การใช้สัญญาณวิทยุ การวัดสนามโน้มถ่วง การวัดด้วยคลื่นเสียง (7) ภูมิสารสนเทศ หรือ GIS (Geographic Information System) [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์[pheūnthī thāng phūmisāt] (n, exp) FR: étendue géographique [ m ] ; territoire [ m ]
รหัสทางภูมิศาสตร์[rahat thāng phūmisāt] (n, exp) FR: code des pays [ m ]
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์[sing bongchī thāng phūmisāt] (n, exp) EN: Geographical Indications (GI)
ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์[tām laksana thāng phūmisāt] (adj) EN: geographic  FR: géographique
ทางภูมิศาสตร์[thāng phūmisāt] (adj) EN: geographical  FR: géographique

English-Thai: Longdo Dictionary
spatially(adv) โดยตำแหน่ง, ซึ่งสามารถบอกตำแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์ได้

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
foreland(n) แหลม (ทางภูมิศาสตร์), See also: แผ่นดินที่ยื่นไปในทะเล, Syn. headland, promontory
magma(n) หินหลอมละลายที่ร้อนมากใต้ผิวโลก (ทางภูมิศาสตร์), See also: แม็กม่า, Syn. lava, lapilli
section(n) เขต (ทางภูมิศาสตร์), See also: เขต, ส่วน, เขตพื้นที่, ส่วนย่อย, Syn. area, region, zone, district

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
paleogeography(เพลีโอจิออก'กระฟี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของโลกในด้านธรณีวิทยา, See also: paleogeographer n. paleogeographic adj. paleogeographical adj.

English-Thai: Nontri Dictionary
geographic(adj) เกี่ยวกับภูมิศาสตร์, ในทางภูมิศาสตร์, ตามภูมิศาสตร์
geographical(adj) เกี่ยวกับภูมิศาสตร์, ในทางภูมิศาสตร์, ตามภูมิศาสตร์

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
gi(n) สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ Geographical Indication

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top