ทางการเมือง | (adj) political, Example: สถานการณ์ทางการเมืองขณะนี้ยังวุ่นๆ อยู่, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับการเมือง | กลไกทางการเมือง | (n) political machinery, Syn. กลยุทธ์ทางการเมือง, Example: แผนการนี้คือกลไกทางการเมืองของสภารสช. | สถาบันทางการเมือง | (n) political institution, Example: คณะผู้วิจัยคาดว่ากิจกรรมนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสถาบันครอบครัว สถาบันทางการเมือง ประเทศชาติ และผู้ที่เกี่ยวข้อง, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: สิ่งซึ่งคนในส่วนรวม คือ สังคม จัดตั้งให้มีขึ้น อันเกี่ยวข้องกับการเมือง | เสรีภาพทางการเมือง | (n) political liberty, Thai Definition: ความสามารถของบุคคลที่จะกระทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเมือง | ผู้ลี้ภัยทางการเมือง | (n) refugee, Syn. ผู้ลี้ภัยการเมือง, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้ซึ่งมีหลักฐานปรากฏว่า ถูกกลั่นแกล้งทางการเมือง ด้วยเหตุของเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ หรือการเป็นสมาชิกขององค์กรในสังคมองค์กรใดองค์กรหนึ่ง เขาเหล่านั้นย่อมต้องได้รับความคุ้มครอง | อุดมการณ์ทางการเมือง | (n) political ideology, Thai Definition: แนวความคิดทางการเมืองที่มีความสำคัญต่อกลุ่มชน และกลุ่มชนยึดถือร่วมกัน |
| ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง | น. ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งทางการเมือง เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นายกเทศมนตรี. | กฎหมายรัฐธรรมนูญ | น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย. | การก่อวินาศกรรม | น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ. | ขวา | (ขฺวา) น. เรียกกลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นโน้มไปทางอนุรักษนิยมว่า ฝ่ายขวา. | คตินิยม | น. แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ หรือวิธีการคิดรวมกันที่เป็นลักษณะของกลุ่มชน เช่น คตินิยมของกลุ่มวิชาชีพ คตินิยมทางศาสนา คตินิยมทางการเมือง. | ค่ายกักกัน | น. สถานที่คุมขังเชลยศึกหรือนักโทษทางการเมือง. | จุดยุทธศาสตร์ | น. พื้นที่และสถานที่ตั้งที่มีความสำคัญในทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารทั้งในยามสงบและยามสงคราม. | ทายาท | น. ผู้สืบสันดาน, ผู้สืบสกุล, โดยปริยายหมายถึงผู้รับหรือผู้อยู่ในฐานะที่จะรับตำแหน่งหน้าที่ต่อจากบุคคลอื่น เช่น ทายาททางการเมือง | ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. | นักการเมือง | น. ผู้ฝักใฝ่ในทางการเมือง, ผู้ที่ทำหน้าที่ทางการเมือง เช่นรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา. | ปัญหา | น. ข้อสงสัย, ข้อขัดข้อง, เช่น ทำได้โดยไม่มีปัญหา, คำถาม, ข้อที่ควรถาม, เช่น ตอบปัญหา, ข้อที่ต้องพิจารณาแก้ไข เช่น ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาทางการเมือง. | ฝ่ายขวา | น. กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นโน้มไปทางอนุรักษนิยม. | ฝ่ายเป็นกลาง | น. กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นไม่ฝักใฝ่หนักไปทางฝ่ายซ้ายหรือฝ่ายขวา. | พรรคการเมือง | น. กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย. | ฟาสซิสต์ | น. ลัทธิการเมืองที่ผู้นำรวบอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น. | ภูมิภาค | อาณาบริเวณที่มีลักษณะบางอย่างเช่นลักษณะทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง คล้ายคลึงกันจนสามารถจัดเข้าพวกกันได้ และแตกต่างกับบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ. | ภูมิรัฐศาสตร์ | (พูมิ-) น. วิชาในหมวดสังคมศาสตร์สาขาหนึ่ง มีลักษณะคล้ายวิชาภูมิศาสตร์การเมือง แต่เน้นหนักไปทางการเมือง. | ยุทธศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยการพัฒนาและการใช้อำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารตามความจำเป็นทั้งในยามสงบและยามสงคราม. | ยุทธศาสตร์ | ว. ที่มีความสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหาร ทั้งในยามสงบและยามสงคราม เช่น จุดยุทธศาสตร์. | วิกฤตการณ์, วิกฤติการณ์ | น. เหตุการณ์อันวิกฤติ เช่น เกิดวิกฤติการณ์ทางการเมือง. | สงครามเย็น | น. การต่อสู้ระหว่างประเทศต่อประเทศโดยไม่ใช้อาวุธ แต่ใช้อำนาจอื่นแทน เช่น อำนาจทางการเมือง อำนาจทางเศรษฐกิจ. | สันนิบาตเทศบาล | น. องค์กรของเทศบาลทั่วประเทศรวมทั้งเทศบาลเมืองพัทยาและกรุงเทพมหานคร ซึ่งรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายช่วยเหลือ สนับสนุน และติดต่อประสานงานเทศบาลทั่วประเทศ โดยไม่มีจุดประสงค์ทางการเมือง เรียกว่า สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย. | เสถียรภาพ | (สะเถียนระ-) น. ความมั่นคง, ความคงตัว, ความไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจไม่ดีรัฐบาลก็ไม่มีเสถียรภาพ. | อนาธิปไตย | (อะนาทิปะไต, อะนาทิบปะไต) ว. ภาวะที่บ้านเมืองไม่มีรัฐบาล ไม่มีกฎหมายและระเบียบ ทำให้เกิดความวุ่นวายทางการเมือง. | อนุรักษนิยม | (อะนุรักสะนิยม, อะนุรักนิยม) น. อุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่มีแนวโน้มไปในทางต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดถือสนับสนุนระเบียบที่ตั้งมั่นอยู่แล้ว. | อาวุโส | น. ความมีอายุมากกว่าหรือมีประสบการณ์ในอาชีพมากกว่าเป็นต้น เช่น เขามีอาวุโสในการทำงาน ผู้มีอาวุโสทางการเมือง. | เอกภาคี | (เอกะ-, เอกกะ-) น. ฝ่ายเดียว หมายถึงประเทศที่ปลีกตัวปฏิบัติการทางการเมืองเป็นต้นโดยลำพัง ไม่มีประเทศอื่นร่วมหรือรับรู้ด้วย. |
| plum | ตำแหน่งที่ให้เป็นบำเหน็จทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | politicization | การทำให้เป็นเรื่องการเมือง, การปลุกสำนึกทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | polity | ๑. องค์การทางการเมือง๒. การจัดระเบียบองค์การทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political socialization | การกล่อมเกลาทางการเมือง, การปลูกฝังให้เข้าร่วมสังคมการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political suicide | อัตวินิบาตกรรมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political culture, parochial-participant; parochial-participant political culture | วัฒนธรรมทางการเมืองในวงแคบแบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political culture, parochial-subject | วัฒนธรรมทางการเมืองในวงแคบแบบข้าแผ่นดิน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political culture, subject-participant | วัฒนธรรมทางการเมืองแบบข้าแผ่นดินมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political development | การพัฒนาทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political disability | การขาดคุณสมบัติทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political division | เขตทางการเมือง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | political equilibrium | สมดุลทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political forecasting | การคาดคะเนทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pluralism, political; political pluralism | พหุนิยมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | power, political; political power | อำนาจทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parochial-participant political culture; political culture, parochial-participant | วัฒนธรรมทางการเมืองในวงแคบแบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parochial-subject political culture | วัฒนธรรมทางการเมืองในวงแคบแบบข้าแผ่นดิน [ ดู subject-participant political culture ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political bargain | การต่อรองทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political blackmail | การกรรโชกทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political boundary | แนวแบ่งเขตทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political change | การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political clearance | การได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political communication | การสื่อสารทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political culture | วัฒนธรรมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political | เกี่ยวกับการเมือง, ทางการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | political appointee | ผู้ได้รับแต่งตั้งทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political appointment | การแต่งตั้งทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political asylum | ที่ลี้ภัยทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political ideology | อุดมการณ์ทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political institution | สถาบันทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political liberty | เสรีภาพทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political liberty | เสรีภาพทางการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | political machine | ตัวจักรทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political machinery | กลไกทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political nationality | สัญชาติทางการเมือง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | political neutrality | ความเป็นกลางทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political obligation | พันธะทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political offence | ความผิดทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political offence | ความผิดทางการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | political offensive | การรุกทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political orientation | ๑. การปรับแนวคิดทางการเมือง๒. แนวคิดทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political participation; participation, political | การมีส่วนร่วมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | provocateur, agent | สายลับเพื่อก่อกวนทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political pluralism; pluralism, political | พหุนิยมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political power; power, political | อำนาจทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political recruitment | การสรรหาบุคคลเพื่อร่วมงานทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political responsibility | ความรับผิดชอบทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political right | สิทธิทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political right | สิทธิทางการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | participation, political; political participation | การมีส่วนร่วมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
|
| Women political activists | นักปฏิบัติการเชิงรุกทางการเมืองสตรี [TU Subject Heading] | Advertising, Political | โฆษณาทางการเมือง [TU Subject Heading] | Communication in politics | การสื่อสารทางการเมือง [TU Subject Heading] | Income tax deductions for political contributions | การนำเงินบริจาคเพื่อสนับสนุนทางการเมืองมาหักลดหย่อนภาษี [TU Subject Heading] | International Covenant on Civil and Political Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] | Patronage, Political | ระบบอุปถัมภ์ทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political activists | นักปฏิบัติการเชิงรุกทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political activity | กิจกรรมทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political alienation | ความผิดแปลกสภาวะทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political ballads and songs | เพลงและบัลลัดทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political correctness | อุดมการณ์ทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political corruption | การทุจริตทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political crimes and offenses | ความผิดทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political culture | วัฒนธรรมทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political development | การพัฒนาทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political ethics | จริยธรรมทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political leadership | ความเป็นผู้นำทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political oratory | วาทศิลป์ทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political participation | การมีส่วนร่วมทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political posters, Thai | แผ่นโฆษณาทางการเมืองไทย [TU Subject Heading] | Political rights | สิทธิทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political socialization | สังคมประกิตทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political stability | เสถียรภาพทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political strike | การต่อสู้ทางการเมือง [TU Subject Heading] | Political violence | ความรุนแรงทางการเมือง [TU Subject Heading] | Radio in politics | วิทยุทางการเมือง [TU Subject Heading] | Refugees, Political | ผู้ลี้ภัยทางการเมือง [TU Subject Heading] | Symbolism in politics | สัญลักษณ์นิยมทางการเมือง [TU Subject Heading] | ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | aide-mémoire | บันทึกช่วยจำ " 1. เป็นเอกสารที่สร้างข้อผูกพัน ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของสัญญา 2. ในทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นเอกสารที่ช่วยย้ำประเด็นที่ได้มาพบและพูดไว้ " [การทูต] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] | Bangkok Plan of Action | แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด [การทูต] | Commonwealth of Nations | การรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า [การทูต] | Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] | emergency certificate | เอกสารเดินทางฉุกเฉิน เอกสารเดินทางที่ออกให้แก่ผู้ลี้ภัยทางการเมือง เด็กที่ไม่มีสัญชาติไทยในความดูแลของกรมประชาสงเคราะห์ คนต่างด้าวที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรและทำหนังสือเดินทางสูญหาย รวมทั้งเด็กต่างด้าวที่เกิดในประเทศไทย ซึ่งไม่มีสถานทูต/สถานกงสุลของคนชาตินั้นในประเทศไทย [การทูต] | Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Human Rights Committee | คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) [การทูต] | Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] | International Covenant on Civil and Political Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 [การทูต] | Iron Curtain | ม่านเหล็ก เป็นศัพท์ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ เซอร์วินสตัน เชอชิลล์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นหมายถึงเครื่องกีดขวางปิดกั้นเขต ซึ่งโซเวียตรัสเซียและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกไม่ยอมให้มีการ ติดต่อหรือเดินทางเข้าไปในอาณาเขตของประเทศดังกล่าว ที่เรียกกันว่า ประเทศหลังม่านเหล็ก เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองในระหว่างสงครามเย็น แต่ภายหลังที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลาย ม่านเหล็กก็พลอยหมดสภาพไปในที่สุด [การทูต] | Leaque of Arab States หรือ Arab Leaque | ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2488 มีเป้าหมายทางการเมืองเป็นเป้าหมายหลัก คือ สร้างเอกภาพ รักษาและส่งเสริมผลประโยชน์อาหรับ รวมทั้งเป็นกลไก [การทูต] | Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | persona non grata | บุคคลทางการทูตที่รัฐผู้รับไม่ยอมรับ เช่น กรณีนักการทูตทำผิดกฎหมายหรือข้อบังคับทางศาสนาในประเทศที่พำนักอยู่ จนทางรัฐบาลของประเทศนั้นไม่อาจยอมรับได้และต้องให้เดินทางกลับออกนอกประเทศ นั้น อย่างไรก็ตาม นักการทูตอาจถูกรัฐบาลของรัฐผู้รับให้ออกนอกประเทศเป็น persona non grata ด้วยเหตุผลของการดำเนินการโต้ตอบทางการเมืองระหว่างรัฐผู้รับและรัฐผู้ส่งก็ เป็นได้ โดยที่นักการทูตผู้นั้นมิได้กระทำผิดกฎหมายของรัฐผู้รับหรือกระทำผิดทาง ศาสนาของรัฐผู้รับแต่อย่างใด [การทูต] | Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
| - She is making a political speech. | - - เธอคือการพูดทางการเมือง In the Name of the Father (1993) | Between politics and school, he never saw her. | แนวคิดทางการเมือง ชีวิตในโรงเรียน พ่อไม่เคยเข้าใจแม่ Wild Reeds (1994) | With that money they can buy more police and political power. | ด้วยเงินที่พวกเขาสามารถซื้อตำรวจมากขึ้นและอำนาจทางการเมือง The Godfather (1972) | So I receive 30% for finance, political influence and legal protection? | ดังนั้นผมจึงได้รับ 30% สำหรับเงินทุน อิทธิพลทางการเมืองและการป้องกันกฎหมายหรือไม่ The Godfather (1972) | If we lose the old man, we lose the political contacts and half our strength. | ถ้าเราสูญเสียคนเก่าเราสูญเสียการติดต่อทางการเมืองและครึ่งหนึ่งความแข็งแกร่งของเรา The Godfather (1972) | Even the old man's political protection would run for cover. | แม้กระทั่งการป้องกันทางการเมืองของชายชราจะวิ่งหาที่กำบัง The Godfather (1972) | Besides attending the conference he has found time to meet political and religious leaders like Mr. Lloyd George the Archbishop of Canterbury, George Bernard Shaw and Charlie Chaplin. | นอกจากจะเข้าร่วมประชุม เขายังได้พบกับผู้นำ ทางการเมืองและศาสนา อย่างลอยด์ ยอร์จ Gandhi (1982) | They're holding Gandhi and congress politicians there. | ใช้เป็นที่กักขังคานธีและ ผู้นำทางการเมืองทั้งหมด Gandhi (1982) | Despite our political differences we're real close. | แม้ว่าเราจะมีความแตกต- ่างทางการเมืองอยู่ก็ตาม Idemo dalje (1982) | OK, but nothing political. | ตกลง แต่ไม่มีอะไรทางการเมือง Idemo dalje (1982) | What's important is diplomacy and political maneuvering, which you seem to despise. | สิ่งสำคัญก็คือความชำนาญในการเจรจาและยุทธศาสตร์ทางการเมือง เหล่านี้ดูเหมือนเป็นสิ่งที่คุณชิงชังยิ่งนัก Akira (1988) | They are promising regional autonomy and religious freedom... if Tibet accepts that China be its political master. | พวกเขาสัญญาว่าจะให้ปกครองตนเอง และมีอิสรภาพทางศาสนา ถ้าทิเบตยอมให้จีน เป็นผู้นำทางการเมือง Seven Years in Tibet (1997) | We humbly ask the Tibetan government to honor our request... and let the Dalai Lama attain his political majority. | เราขอวอนให้รัฐบาลทิเบต รับฟังคำขอร้องของเรา และคืนอำนาจทางการเมือง ให้กับองค์ทะไลลามะ Seven Years in Tibet (1997) | There was an interesting connection between the rise of fascism in Europe and the consciousness of politically radical people about corporate power. | มีความเชื่อมโยงพัวพันที่น่าสนใจ ระหว่างการขึ้นสู่อำนาจของระบอบฟาสซิสต์ในยุโรป กับจิตสำนึกของพวกหัวรุนแรงทางการเมือง The Corporation (2003) | Personally, I'm inclined to deport him, forcibly, if necessary but I'd have to come up with a politically acceptable reason for it. | โดยส่วนตัวแล้ว ผมพร้อมเสมอที่จะใช้กำลังเนรเทศเขา ถ้าจำเป็น... ...แต่เราต้องปฏิบัติตามข้อตกลงทางการเมืองนี่สิ Ghost in the Shell (1995) | Many are the same experts who have consulted on the Machine's design and function. | มุมมองทางการเมืองและศาสนา หลายคนเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน เดียวที่ได้รับการพิจารณา ในการออกแบบเครื่อง และฟังก์ชั่น Contact (1997) | But until you can get it in your head there are politics involved... delicate politics, not to mention economics, you're only gonna do these people more harm than good. | แต่จนกว่าคุณจะได้รับมันในของคุณ หัวมีส่วนร่วมทางการเมือง ... การเมืองที่ละเอียดอ่อน ไม่ต้องพูดถึงเศรษฐกิจ คุณเท่านั้นที่จะทำคนเหล่านี้ อันตรายมากกว่าดี Dante's Peak (1997) | She's a political. So that would explain it. | เธอเป็นทางการเมือง เพื่อที่จะอธิบายมัน Cubeº: Cube Zero (2004) | He's my political adviser. | ที่ปรึกษาทางการเมืองของฉัน The Longest Yard (2005) | Her parents were political activists. | พ่อแม่เธอ เป็นนักเคลื่อนไหวทางการเมือง. V for Vendetta (2005) | The Thule organization assists the Nationalist Socialist Party, also known as the Nazi political party. | งานวิจัยทรูล์มีส่วนช่วยองค์การทางการเมือง ที่เรียกว่าพรรคนาซีไงล่ะ Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005) | Due to some political problems that are being resolved... | เพราะว่าปัญหาทางการเมืองหลายๆ ปัญหาจะมีมติ... Babel (2006) | I don't give a shit about political problems. I need help now. | ฉันไม่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ปัญหาทางการเมือง ฉันต้องช่วยตอนนี้ Babel (2006) | It was only about political security. | มันเป็นเพียงเรื่อง ความปลอดภัยทางการเมือง Hollow Man II (2006) | He's killing their political enemies. | เขาฆ่าศัตรูทางการเมืองของเขาทีละคน Hollow Man II (2006) | ultimately this is really not a political issue so much as a moral issue. | ถึงที่สุดแล้ว นี่ไม่ใช่ประเด็นทางการเมือง ค่อนไปทางประเด็นทางศีลธรรมมากกว่า An Inconvenient Truth (2006) | It is a political issue. | มันเป็นประเด็นทางการเมือง An Inconvenient Truth (2006) | We have everything we need, save perhaps political will. | เรามีทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการ ลดความมุ่งหมายทางการเมือง An Inconvenient Truth (2006) | But you know what? In America, political will is a renewable resource. | แต่รู้ไหม ในอเมริกา ความมุ่งหมายทางการเมือง เป็นทรัพยากรแบบกลับใช้ได้ใหม่ An Inconvenient Truth (2006) | So now we have to use our political processes in our democracy, and then decide to act together to solve those problems. | ถึงตอนนี้เราต้องใช้กระบวนการทางการเมือง ในระบอบประชาธิปไตยของเรา ตัดสินใจที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญหาเหล่านั้น An Inconvenient Truth (2006) | Mr. President, like you, I have staked much of my political future on the success of this treaty. | ท่านปธน. เช่นเดียวกับท่าน... ผมก็เอาอนาคตทางการเมืองมาเสี่ยงเหมือนกัน Day 5: 10:00 a.m.-11:00 a.m. (2006) | Nick, you're asking him to commit political suicide by granting a stay of execution to Illinois' most notorious death row inmate. | นิค คุณจะขอให้ผู้พิพากษาทำลายเส้นทางการเมืองของตัวเอง โดยชะลอการประหารนักโทษที่ดังที่สุดในอิลลินอยส์เนี่ยนะ The Rat (2006) | So, for it to be expedited, there had to have been some sort of political influence, right? | ที่คดีของลินคอล์น ตัดสินเร็วขนาดนี้ เพราะอิทธิพลทางการเมืองด้วยรึเปล่า ? 445 00: Cute Poison (2005) | It upsets me that Prince Dae-So is using your wedding for political gain. | ข้ารู้สึกผิดหวังที่องค์ชายแดโซใช้งานแต่งงานของเจ้า เพื่อเป้าหมายทางการเมืองอีกครั้ง Episode #1.43 (2006) | Really? I found him very politically motivated. | จริงเหรอ ผมว่าเขามีแรงจูงใจทางการเมืองนะ That Night, a Forest Grew (2007) | His report has been politically motivated. | จากแรงจูงใจทางการเมือง Pilot (2007) | Even though he has given military authority to Prince Young-Po, the fact that he has given Prince Dae-So the task of understanding the political and military status of foreign lands is an enormously powerful and important task. | ถึงแม้ว่าพระองค์ยังไม่พระราชทาน อำนาจทางการทหารให้กับเจ้าชายยองโพ ความจริงที่ว่าพระองค์ทรงมอบหมายงานให้เจ้าชายแดโซ ทางการเมืองและการทหาร ของต่างเมืองนั่นหมายถึงอำนาจเต็มที่ และเป็นงานที่สำคัญมาก Episode #1.8 (2006) | There's a political spotlight on whistler due to the nature of his crime. | มีเรื่องที่น่าสนใจ/ทางการเมือง เกี่ยวกับวิสท์เลอร์ Fire/Water (2007) | He ignored me. He used me politically. | เค้าเมินฉัน ใช้ฉันเพื่อประโยชน์ทางการเมือง Welcome to Kanagawa (2008) | The poster child for political redemption. | ผู้ไถ่บาปทางการเมือง Chapter One 'The Second Coming' (2008) | Because the political road is a tough journey 00:33:00, 162 -- 00:33:03, 555 On the way here, I have seen that the people are restless | เพราะถนนทางการเมืองนี้ เป็นเส้นทางที่ยากลำบาก Iljimae (2008) | Breaking with Rome would isolate England politically and leave us at the mercy of the Protestants. | การแตกหักกับโรม หมายถึงการแยกตัวทางการเมืองของอังกฤษ... และนำไปสู่การเผชิญกับความปรานีของพวกโปรแตสแตนท์ The Other Boleyn Girl (2008) | I will invest in your political venture too. | ผมจะลงทุนในความเสี่ยงทางการเมืองของคุณด้วย. Episode #1.5 (2008) | Well, I'm a political adviser. | ผมเป็นที่ปรึกษาทางการเมือง Body of Lies (2008) | I told you, Cala, he's a political adviser. | บอกแล้วไง เขาเป็นที่ปรึกษาทางการเมือง Body of Lies (2008) | Political adviser. | ที่ปรึกษาทางการเมือง Body of Lies (2008) | I've got 1 4 children seeking political asylum. | ผมมีเด็ก ทั้งหมด 14 คน ที่ต้องการหลบภัยทางการเมือง 24: Redemption (2008) | Political assassination wasn't in the contract. | การลอบยิงผู้นำทางการเมือง ไม่ได้อยู่ในสัญญา Bangkok Dangerous (2008) | The truth is almost anyone one can take out a politician. | เรื่องจริงก็คือ เกือบทุกๆคน ที่สามารถขอใบอนุญาติทางการเมืองได้ Bangkok Dangerous (2008) | Dean read through a 245-page statement characterizing a president who was easily outraged over war protesters and political adversaries, and outlining a range of offenses, including wiretapping of newsmen, a Charles Colson plan to firebomb and burglarize the Brookings Institution, | ทางคณะศาลได้อ่านเอกสารทั้งหมด 245 หน้า เพื่อจำแนกว่าท่านปธน ผู้ซึ่งกระทำฝ่าฝืน ต่อผู้ประท้วงและ\ การโฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง Frost/Nixon (2008) |
| อำนาจทางการเมือง | [amnāt thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political power FR: pouvoir politique [ m ] | การพัฒนาทางการเมือง | [kān phatthanā thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political development | ความคิดทางการเมือง | [khwāmkhit thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political thought FR: pensée politique [ f ] | ความคิดทางการเมืองไทยสมัยใหม่ | [khwāmkhit thāng kānmeūang Thai samaimai] (n, exp) EN: Thai modern political thought | กลไกทางการเมือง | [konkai thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political machinery | กลยุทธ์ทางการเมือง | [konlayut thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political machinery | ประเด็นทางการเมือง | [praden thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political issue | สถาบันทางการเมือง | [sathāban thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political institution FR: institution politique [ f ] | สถานการณ์ทางการเมือง | [sathānakān thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political situation FR: situation politique [ f ] | เสรีภาพทางการเมือง | [sērīphāp thang kānmeūang] (n, exp) EN: political liberty FR: liberté poltique [ f ] | ทางการเมือง | [thāng kānmeūang] (adj) EN: political FR: politique | อุดมการณ์ทางการเมือง | [udomkān thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political ideology FR: idéologie politique [ f ] | วิกฤตทางการเมือง | [wikrit thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political crisis FR: crise politique [ f ] |
| political deadlock | (n) ภาวะชะงักงันทางการเมือง | pork-barrel | (n) การแบ่งสรรปันส่วน(ผลประโยชน์)ในรัฐบาลด้วยเหตุผลทางการเมือง เช่น The pork barrel was to become as central to our national political culture. |
| absolutism | (n) ระบบเผด็จการทางการเมือง, Syn. absolute monarchy, dictatorship | activism | (n) ลัทธิที่ดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลทางการเมือง | bilateral | (adj) เกี่ยวกับกลุ่มทางการเมืองสองกลุ่ม | black out | (phrv) ปิดข่าว (เพราะเหตุผลทางการเมือง), Syn. blacken out | blacken out | (phrv) ปิดข่าว (เพราะเหตุผลทางการเมือง), Syn. black out | cabal | (n) กลุ่มคนที่รวมกลุ่มกันอย่างลับๆ เพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง, Syn. plotter | card-carrying | (adj) ที่เป็นสมาชิกขององค์กร (โดยเฉพาะทางการเมือง) | caucus | (n) การประชุมของสมาชิกหรือกลุ่มผู้นำของพรรคการเมืองเพื่อลงคะแนนเลือกหรือวางแผนทางการเมือง | centrist | (n) ผู้ที่มีความคิดทางการเมืองเป็นกลาง, Syn. moderate, moderationist | coexist with | (phrv) อยู่ร่วมกันอย่างสงบ (โดยเฉพาะกับผู้มีความคิดแตกต่างกันทางการเมือง) | file for | (phrv) เสนอให้อย่างเป็นทางการ (เช่นตำแหน่งทางการเมือง) | deliberative | (adj) เกี่ยวกับการอภิปราย (ทางการเมือง), See also: เป็นผลของการอภิปราย | destabilise | (vt) ทำให้ไม่มั่นคง (โดยเฉพาะทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ), See also: ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะทางการเมือง | destabilize | (vt) ทำให้ไม่มั่นคง (โดยเฉพาะทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ), See also: ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะทางการเมือง | deviationist | (n) ผู้ไม่เห็นด้วยกับระบบหรือความเชื่อบางอย่างทางการเมือง, Syn. secessionist, schismatic | entente cordiale | (n) ความเข้าใจอันดีกันทางการเมืองระหว่างประเทศ (โดยเฉพาะข้อตกลงระหว่างฝรั่งเศสกับอังกฤษในปี ค.ศ.1904), Syn. concord, rapport, understanding | gradualism | (n) การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองแบบค่อยเป็นค่อยไป | heteronomy | (n) ซึ่งอยู่ใต้การควบคุมหรือกฎเกณฑ์ของผู้อื่น (ทางการเมือง) | middle-of-the-road | (idm) อยู่ระหว่างสองขั้วที่ต่างกัน (โดยเฉพาะทางการเมือง) | inauguration | (n) พิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง (ทางการเมือง), See also: สุนทรพจน์ในพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง, Syn. coronation, enthronement | instrumentality | (n) หน่วยงานย่อยๆ (ทางการเมือง), See also: แผนกย่อยๆ, Syn. agency | lobby against | (phrv) พยายามโน้มน้าวคนมีอำนาจไม่ให้อนุมัติกฎหมาย, See also: พยายามวิ่งเต้นเพื่อป้องกันบางสิ่งไม่ให้เกิดขึ้นด้วยวิธีการเขียน, วิธีทางการเมือง | lobby through | (phrv) ได้รับอนุมัติกฎหมายโดยการวิ่งเต้น (ทางการเมือง), See also: ล้อบบี้ผ่าน / ทาง | junto | (n) กลุ่มที่แต่งตั้งตัวเองขึ้นมาโดยมีจุดประสงค์ทางการเมือง, Syn. cabal | machine | (n) คณะหรือกลุ่มที่ทำหน้าที่ควบคุมโดยตรง (โดยเฉพาะทางการเมือง), See also: องค์กรที่เป็นกลไกสำคัญ, Syn. party, gang, system | marginal | (adj) ซึ่งเป็นเสียงข้างน้อย (ทางการเมือง) | moderate | (n) ผู้ที่มีความคิดไม่รุนแรง (โดยเฉพาะทางการเมือง), Syn. centrist | panel | (n) คณะผู้อภิปรายทางการเมือง, Syn. committee, group | patronage | (n) ตำแหน่งที่ถูกแต่งตั้ง, See also: เส้นสายทางการเมือง, Syn. backing | pink | (n) คนหัวเอียงซ้ายในทางการเมือง (ปานกลาง) | politic | (vi) ทำการรณรงค์ทางการเมือง, Syn. suave | politician | (n) ผู้ดำรงตำแหน่งหน้าที่ทางการเมือง | politics | (n) การเมือง, See also: กิจกรรมทางการเมือง, หลักการทางการเมือง, ข้อคิดเห็นทางการเมือง, Syn. campaigning, seeking nomination, electioneering | politics | (n) เล่ห์เหลี่ยมทางการเมือง, See also: ้อุบายทางการเมือง | rabble-rouser | (n) ผู้ก่อกวน (โดยเฉพาะทางการเมือง), Syn. agitator | radicalism | (n) ลัทธิที่ยึดหลักความรุนแรง, See also: ลัทธิหัวรุนแรง, นโยบาย, ความเชื่อที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจและสัง, Ant. conservatism | stay in office | (idm) ยังควบคุมได้ (มักใช้ในทางการเมือง), See also: ยังอยู่ในอำนาจ, Syn. remain in | stay in power | (idm) ยังควบคุมได้ (มักใช้ในทางการเมือง), See also: ยังอยู่ในอำนาจ, Syn. remain in | terror | (n) การเคลื่อนไหวที่ก่อให้เกิดความรุนแรงเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง, See also: การก่อการร้าย | terrorism | (n) การใช้ความรุนแรงเพื่อข้อเรียกร้องทางการเมือง, See also: ลัทธิก่อการร้าย, Syn. disorder, lawlessness, nihilism | ward | (n) เขตเลือกตั้ง (ทางการเมือง) | wheel horse | (n) คนงานที่แข็งแรง ขยันและไว้ใจได้, See also: โดยเฉพาะในองค์กรทางการเมือง | witch-hunt | (n) การสอบสวนและเปิดเผยแผนการกบฏ หรือศัตรูทางการเมือง, See also: มักเป็นการอาศัยหลักฐานที่คลุมเครือ หรือแค่ความสงสัยเท่านั้น | woman suffrage | (n) สิทธิเลือกตั้งของสตรี, See also: สิทธิทางการเมืองของสตรี, Syn. female suffrage, woman's suffrage | write-in | (n) การลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ได้อยู่ในรายชื่อ, See also: ทางการเมือง | write-in | (n) ผู้สมัครรับเลือกตั้งคนอื่นที่ไม่ได้อยู่ในรายชื่อ (ทางการเมือง) |
| activism | (แอค' ทิฟวิซึม) n. ทฤษฎีที่ว่าความจริงคือการดำเนินการที่บริสุทธิ์โดยเฉพาะทางจิต, ทฤษฎีที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างจิตและวัตถุ การดำเนินการหรือขบวนการของจิต, ลัทธิดำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง (essence of reality) | agora | (แอก' โกระ) n., (pl. -orae) การชุมนุมทางการเมืองที่มีชื่อเสียง , สถานที่ ๆ มีการชุมนุมดังกล่าว (popular political assembly) | apolitical | (เอพะลิท'ทิคัล) adj. ไม่ใช่การเมือง, ไม่มีความสำคัญทางการเมือง, ไม่สนใจการเมือง | cataclysm | (แคท'ทะคลิซ'ซึม) n. การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางการเมืองและสังคม) , ความเกลียด, ความหายนะ., See also: cataclysmic adj, ดูcataclysm cataclysmal adj. ดูcataclysm, Syn. disaster | corporatism | (คอ'พะระทิศซึม) n. หลักการลัทธิหรือระบบการร่วมกันทางการเมือง | counterrevolution | (เคา'เทอะเรฟโวลู'เชิน) n. การปฏิวัติซ้อน, การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านการปฏิวัติที่เกิดขึ้น. | detente | (เดทานทฺ') n. ความผ่อนคลายของวิกฤติการณ์ (ความตึงเครียด) ทางการเมืองระหว่างประเทศ | junto | (จัน'โท) n. คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง (โดยเฉพาะที่มีจุดประสงค์ทางการเมือง) , กลุ่มอิทธิพลทางการเมือง, ฝ่าย, พรรค, Syn. cabal | pan-germanism | n. ทฤษฏีการรวมชาวเยอรมันเข้าเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันในทางการเมือง | pansophism | (แพน'ซะฟิสซึม) n. ลัทธิความรู้ทั้งหมดเข้าด้วยกันในทางการเมือง, See also: pansophist n. pansophy n. | revue | (รีวิว') n. ละครชุดประเภทเสียดสีทางการเมือง, บทประพันธ์เสียดสี, บทเพลงเสียดสี, See also: revuist n., Syn. review | statesman | (สเททซฺ'เมิน) n. รัฐบุรุษ, นักการเมือง, ผู้เชี่ยวชาญทางการเมือง., See also: statesmanly adj. statesmanship n. pl. statesmen, Syn. politician | superpower | (ซู'เพอเพา'เออะ) n. มหาอำนาจ, อภิมหาอำนาจ (ที่มีอิทธิพลทางการเมืองเหนือประเทศอื่น) | suzerain | (ซูซะริน, -เรน) n., adj. (เกี่ยวกับ) รัฐหรือผู้ปกครองที่มีอำนาจควบคุมทางการเมืองเหนืออีกรัฐหนึ่ง, เจ้านครสมัยศักดินา, ประเทศเหนือหัว., Syn. sovereign | unseat | (อันซีท') vt. เอาออกจากที่, เอาลงจากหลังม้า, ปลดจากตำแหน่งทางการเมือง | utopia | (ยูโท'เพีย) n. ดินแดนที่มีสภาพทางการเมือง และสังคมที่สมบูรณ์, ระบบการเมืองหรือสังคมสมบูรณ, Syn. Eden, salvation, bliss -Utopian n., adj. -Utopianism n. | woman suffrage | n. สิทธิเลือกตั้งของสตรี, สิทธิทางการเมืองของสตรี, See also: woman-suffrage adj. woman-suffragist n. |
| democracy | (n) การปกครองระบอบประชาธิปไตย, ความเสมอภาคทางการเมือง | political | (adj) เกี่ยวกับการเมือง, ในทางการเมือง, เป็นการเมือง |
| atlanticist | (n) ผู้นิยมแนวคิดที่สนับสนุนการให้ความร่วมมือกันในทางการเมือง, เศรษฐกิจ, และการทหาร ระหว่างประเทศในยุโรปตะวันตกและอเมริกาเหนือ, See also: Atlanticism | body man | [บอดี้แมน] (n, jargon) ผู้ช่วยส่วนตัวของนักการเมือง หรือ ผู้สมัครชิงตำแหน่งทางการเมือง (ศัพท์ในวงการเมืองอเมริกัน) | hegemony | มุขยภาพ คืออำนาจครอบงำทางการเมือง, เศรษฐกิจ และการทหารของรัฐหนึ่งเหนือรัฐอื่น | International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR) | (n, jargon, abbrev, uniq) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง | Political Office Holder | (jargon) ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง |
| 政情 | [せいじょう, seijou] (n) สถานการณ์ทางการเมือง | 政治倫理 | [せいじりんり, seijirinri] จริยธรรมทางการเมือง |
| Absolutismus | (n) |der| การปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์, ระบบเผด็จการทางการเมือง |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |