ตำแหน่งที่ตั้ง | (n) bearings, See also: set of real number, Syn. ตำแหน่งที่, ที่ตั้ง, Example: หน่วยรบย่อยอยู่ห่างจากตำแหน่งที่ตั้งที่บังคับบัญชาหลายไมล์, Count Unit: ตำแหน่ง, Thai Definition: พิกัดหรือจำนวนจริงชุดหนึ่ง ซึ่งแสดงระยะที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ห่างจากแกนอ้างอิงที่กำหนดไว้แล้ว, Notes: คณิต |
|
| ตำแหน่งที่ตั้ง | น. พิกัดหรือจำนวนจริงชุดหนึ่ง ซึ่งแสดงระยะที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ห่างจากแกนอ้างอิงที่กำหนดไว้แล้ว, ตำแหน่งที่ ก็เรียก. | กินรุก | ก. เดินหมากเข้าไปกินหมากของอีกฝ่ายหนึ่งแล้วอยู่ในตำแหน่งที่จะกินขุนของอีกฝ่ายหนึ่งทันที (ใช้ในการเล่นหมากรุก). | เกตุ, เกตุ- | ชื่อดาวพระเคราะห์ดวงที่ ๙ หมายถึงตำแหน่งที่ดวงจันทร์ผ่านจากเหนือระนาบสุริยวิถีลงสู่ใต้ระนาบสุริยวิถี ส่วนตำแหน่งที่ดวงจันทร์ผ่านจากใต้ระนาบสุริยวิถีขึ้นเหนือระนาบสุริย-วิถี เรียกว่า พระราหู. | ขึ้นแท่น | โดยปริยายหมายความว่า ได้รับการยกย่องหรือได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งที่สูง (ใช้ในความประชด) เช่น เขาขึ้นแท่นไปเป็นอธิบดีแล้วเลยเข้าพบยาก. | เซปักตะกร้อ | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ใช้ลูกตะกร้อส่งข้ามตาข่ายโต้กันไปมา โดยใช้ขา เท้า เข่า ลำตัว และศีรษะ เพื่อรับส่งลูก มีผู้เล่นฝ่ายละ ๓ คน การเริ่มส่งลูกแต่ละครั้ง ฝ่ายส่งจะต้องยืนอยู่ในตำแหน่งที่กำหนดไว้ การเล่นแบ่งเป็น ๓ เซต ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ เซต คือ ฝ่ายชนะ. | ทอย ๑ | ก. โยนให้เรียดหรือเรี่ยดินไปให้ถูกเป้าหรือไปยังตำแหน่งที่ต้องการ เช่น ทอยเบี้ยในการเล่นทอยกอง ทอยเบี้ยเล่นต้องเต, ปาให้ถูกเป้า เช่น ทอยลูกข่าง. | นั่งแท่น | ก. ดำรงตำแหน่งที่มีอำนาจวาสนา. | นางสนองพระโอษฐ์ | น. คุณพนักงานหญิงที่แต่งงานแล้ว มีหน้าที่รับพระราชเสาวนีย์ไปปฏิบัติหรือเชิญพระราชเสาวนีย์ไปติดต่อข้อราชการตามพระราชประสงค์ของพระราชินี เป็นตำแหน่งที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง. | บันได | น. สิ่งที่ทำเป็นขั้น ๆ สำหรับก้าวขึ้นลง, กระได ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึง บุคคลหรือสิ่งที่อาศัยใช้ไต่เต้าขึ้นไปสู่ฐานะหรือตำแหน่งที่สูงขึ้นไป. | ปมประสาท | น. ตำแหน่งที่อยู่ของเซลล์ประสาท. | ปัดแข้งปัดขา | ก. ทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เขาหลุดพ้นตำแหน่งหน้าที่หรือไม่ให้ได้เลื่อนฐานะตำแหน่งที่ควรจะได้. | เป็นหุ่นให้เชิด | ก. อยู่ในฐานะหรือตำแหน่งที่ต้องทำตามที่เขาสั่ง. | พระยาโต๊ะทอง | น. ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานโต๊ะทอง (พานก้นตื้น) เป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับโต๊ะทอง. | พระยาพานทอง | น. ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานพานทองเป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าขึ้นไป มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับพานทอง. | พลังงานศักย์ | น. พลังงานที่มีในเทหวัตถุ เนื่องจากตำแหน่งที่อยู่ของเทหวัตถุนั้น. | ยุวราช, ยุวราชา | น. พระราชกุมารที่ได้รับอภิเษกหรือทรงรับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งที่จะสืบราชสมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อไป. | ราหุ, ร่าหุ์, ราหู ๑ | ชื่อดาวพระเคราะห์ดวงที่ ๗ หมายถึงตำแหน่งที่ดวงจันทร์ผ่านจากใต้ระนาบสุริยวิถีขึ้นเหนือระนาบสุริยวิถี ส่วนตำแหน่งที่ดวงจันทร์ผ่านจากเหนือระนาบสุริยวิถีลงสู่ใต้ระนาบสุริยวิถี เรียกว่า พระเกตุ. | เรดาร์ | น. ระบบการใช้ไมโครเวฟเพื่อหาตำแหน่งที่อยู่แสดงเอกลักษณ์ หรือนำทิศทางของวัตถุที่เคลื่อนที่ เช่น เรือ อากาศยาน ดาวเทียม จรวด. | ลิงนั่งแป้น | น. ผู้ที่เขายกให้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญ แต่ไม่มีอำนาจอะไรจริงจัง ต้องทำตามที่เขาสั่ง. | เลขลำดับ | น. จำนวนนับที่บอกรหัสหรือตำแหน่งที่ของสิ่งที่จัดเรียงกันอย่างมีระบบ เช่น บ้านเลขที่ ๑๕๐ รถประจำทางสาย ๖๒. | ว่าที่ | รั้งตำแหน่งที่จะเป็นต่อไป เช่น ว่าที่พ่อตา. | เส้นสัมผัส | น. เส้นตรงที่ตัด เส้นโค้งเส้นหนึ่ง ณ ตำแหน่งที่จุดตัดทั้ง ๒ ใกล้ชิดกันมากจนถือได้ว่าเป็นจุดเดียวกัน. | องคมนตรี | (องคะ-) น. ตำแหน่งที่มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ. |
| plum | ตำแหน่งที่ให้เป็นบำเหน็จทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | position, sensitive | ตำแหน่งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับความลับของทางราชการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | locus | ตำแหน่งที่ตั้ง (เช่น ยีน) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | lucrative office | ตำแหน่งที่มีผลประโยชน์มาก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | sinecure | ตำแหน่งที่ไม่ต้องทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sensitive position | ตำแหน่งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับความลับของทางราชการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | offices, incompatible | ตำแหน่งที่มีลักษณะขัดกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | incompatible offices | ตำแหน่งที่มีลักษณะขัดกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diplomatic Secretaries | ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตในสถานเอกอัครราชทูต ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตจะมีอยู่ 3 ระดับ คือ เลขานุการเอก เลขานุการโท และเลขานุการตรี ทั้งสามระดับอยู่รองลงมาจากตำแหน่งที่ปรึกษา (Counselor) ระดับทั้งหมดนี้มีฐานะทางการทูต มีเอกสิทธิ และความคุ้มกันทางการทูตทั้งมวล และชื่อจะปรากฎอยู่ในสมุดเอกสารรายชื่อบุคคลในคณะทูตตำแหน่งเลขานุการทางการ ทูตเหล่านี้ อย่าไปปนกับตำแหน่งเลขานุการส่วนตัวของเอกอัครราชทูต ซึ่งแม้จะมีฐานะสำคัญในสถานเอกอัครราชทูต แต่ไม่มีสถานภาพทางการทูตแต่อย่างใด รวมทั้งตำแหน่งเลขานุการ ซึ่งทำหน้าที่เสมียนจดชวเลขและพิมพ์ดีด [การทูต] | Excellency | เป็นคำแสดงตำแหน่งที่ใช้เรียกตัวเอกอัครราชทูต ทั้งโดยวาจาและโดยลายลักษณ์อักษร เป็นคำที่เริ่มใช้กันตั้งแต่สมัยทำสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Treaty of Westphalia) เมื่อ ค.ศ. 1648 และได้นำมาใช้ทั่วทวีปยุโรปหลังจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนา (ค.ศ. 1815) แต่ถ้าบังเอิญเอกอัครราชทูตของประเทศหนึ่งใดเป็นบุคคลเชื้อพระวงศ์ แทนที่จะเรียกเอกอัครราชทูตผู้นั้นด้วยคำว่า Excellency ก็ให้เรียกด้วยคำว่า ?Royal Highness? แทนแต่เดิมคำ ?Excellency? ซึ่งเป็นคำเติมหน้าชื่อแสดงตำแหน่งนี้ใช้เรียกเฉพาะตัวเอกอัครราชทูตเท่า นั้น แต่ในทางปฏิบัติ ทุกวันนี้ได้นิยมใช้เรียกตัวอัครราชทูต (Ministers) เช่นกัน ส่วนภริยาของเอกอัครราชทูตนั้นก็ได้รับการยกย่องโดยใช้คำ Excellency ด้วย แต่สำหรับเอกอัครราชทูตที่เป็นสตรี สามีของเธอจะไม่ได้รับเรียกเช่นนั้น นอกจากนั้น คำแสดงตำแหน่งนี้ยังใช้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีหลายประเทศได้นำไปใช้เรียกประมุขของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีด้วย แต่การปฏิบัติดังนี้ย่อมแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ส่วนเลขาธิการสหประชาชาตินั้น ใช้เรียกกันเป็นทางการว่า Excellency และสำหรับกรณีที่ไม่เป็นทางการก็เรียกว่า Mr. Secretary-General [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] | Positron Emission Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน] | X marks the spot | ตำแหน่งที่แน่นอน [การบัญชี] | Active Site | ด้านที่ไว, บริเวณเร่ง, ตำแหน่งที่ว่องไวต่อปฎิกิริยา, ปริเวณปฎิกิริยา, บริเวณว่องไว [การแพทย์] | Catalytic Site | บริเวณเร่งตำแหน่งที่ว่องไวต่อปฎิกิริยา [การแพทย์] | Crest, Interroseous | จุดตำแหน่งที่มีลักษณะเป็นสันนูน [การแพทย์] | Donor Site | ตำแหน่งที่จะต้องเอากระดูกออกไป, ตำแหน่งที่ย้ายเนื้อเยื่อไปปลูกที่อื่นที่บริเวณให้ [การแพทย์] | Erotic Zone | ตำแหน่งที่ให้ความพอใจแก่เด็ก [การแพทย์] | Floating Fragment | ชิ้นกระดูกแยกตัวหลุดออกจากตำแหน่งที่เคยต่อกัน [การแพทย์] | Force-Generating Sites | ตำแหน่งที่ให้แรง [การแพทย์] | Fractures, Direct | กระดูกหักด้วยแรงกระทบโดยตรง, การหักหรือแตกตรงตำแหน่งที่ถูกกระแทก [การแพทย์] | braking distance | ระยะห้ามล้อ, ช่วงระยะทางจากตำแหน่งเริ่มเหยียบห้ามล้อจนถึงตำแหน่งที่รถหยุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | earth [ ground ] | สายดิน, การต่อสายไฟฟ้าลงดิน ตำแหน่งที่ต่อสายไฟฟ้าลงดินในวงจรไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | breaking point | จุดแตกหัก, ตำแหน่งที่เมื่อออกแรงดึงวัสดุ วัสดุเริ่มขาดออกจากกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Heterotopic | ใส่เนื้อเยื่อหรืออวัยวะในตำแหน่งที่ผิดไปจากที่ [การแพทย์] | Insertion | จุดยึดเกาะ, การแทรกตัวเข้าไป, จุดเกาะ, ที่เกาะ, ตำแหน่งที่เกาะของกล้ามเนื้อส่วนที่มีการเคลื่อนไหว [การแพทย์] | Koch's Phenomenon | การไม่พบการแพร่กระจายของเชื้อวัณโรคจากตำแหน่งที่ [การแพทย์] | Lesions | รอยแผล, รอยโรค, ตำแหน่งที่เกิด, ร่องรอย, ความผิดปกติทางโครงสร้าง [การแพทย์] | Lesions, Malignant | ตำแหน่งที่เป็นมะเร็ง, รอยโรคชนิดร้ายแรง [การแพทย์] | Localization of the Exposure | ตำแหน่งที่ทะลุ [การแพทย์] | Location | ที่อยู่, ที่ตั้ง, ตำแหน่ง, ตำแหน่ง, ตำแหน่งที่ตั้ง, ตำแหน่ง, ตำแหน่ง, ตำแหน่ง [การแพทย์] |
| deploy | (vt) แปรแถวตอนเป็นแถวหน้ากระดาน(ทางทหาร), เคลื่อนกำลังพลพร้อมอาวุธไปอยู่ในตำแหน่งที่พร้อมจะต่อสู้ (ทางทหาร), การตั้งแถวเตรียมตัวออกรบ, จัดเพื่อใช้งาน | emeritus | (adj, n) กิตติคุณ เป็นตำแหน่งที่มหาวิทยาลัยมอบให้แก่บุคลากรอาวุโสที่เกษียณอายุแล้ว โดยเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เช่น president emeritus อธิการบดีกิตติคุณ, professor emeritus ศาสตราจารย์กิตติคุณ | GPS | (abbrev) ระบบที่ช่วยบอกตำแหน่งที่อยู่บนพื้นผิวโลก โดยอาศัยสัญญาณดาวเทียม ย่อมาจากคำว่า |
| align | (vt) จัดให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง | aline | (vt) จัดให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง | ambush | (vi) ซุ่มโจมตี (จากตำแหน่งที่ซ่อนอยู่) | ambush | (vt) ซุ่มโจมตี (จากตำแหน่งที่ซ่อนอยู่) | call number | (n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด | commanding | (adj) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่มีอำนาจ, See also: ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา, ซึ่งเป็นผู้สั่งการ, ซึ่งมีอำนาจเหนือ, Syn. sizable, dominant | consequence | (n) ตำแหน่งที่สำคัญ | deploy | (vt) เคลื่อนกำลังพลพร้อมอาวุธไปอยู่ในตำแหน่งที่พร้อมจะต่อสู้ (ทางทหาร), See also: เข้าแถวเรียงหน้ากระดาน, Syn. array, mobilize | deployment | (n) การเคลื่อนกำลังพลพร้อมอาวุธไปอยู่ในตำแหน่งที่พร้อมจะต่อสู้ (ทางทหาร), See also: การเข้าแถวเรียงหน้ากระดาน, Syn. stretching, spread | echolocation | (n) การหาตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุโดยคิดจากเวลาและทิศทางของการสะท้อนกลับ เช่น เรดาร์และโซนาร์ | elevated | (adj) ซึ่งอยู่ในระดับที่สูงกว่าสิ่งอื่น, See also: ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่สูงกว่าสิ่งอื่น, Syn. raised | emplacement | (n) ตำแหน่งที่จัดไว้ตั้งปืนใหญ่, Syn. banquette, barbette | enfilade | (n) ตำแหน่งที่ง่ายต่อการถูกระดมยิง, See also: ตำแหน่งที่ง่ายต่อการถูกระดมยิง | foreground | (n) ตำแหน่งที่โดดเด่น, See also: ตำแหน่งที่สำคัญ, Syn. forefront | foreground | (vt) วางไว้ในตำแหน่งที่โดดเด่น, See also: วางไว้ในตำแหน่งที่สำคัญ | fortification | (n) ตำแหน่งที่ต้องป้องกัน, See also: สถานที่ที่ต้องป้องกัน | x marks the spot | (idm) ตำแหน่งที่แน่นอน, See also: จุดที่แน่นอน | ladder | (n) การไต่เต้า, See also: การพยายามขึ้นไปในตำแหน่งที่สูงกว่า | lie | (n) ตำแหน่งที่ตั้งอยู่, See also: การตั้งอยู่, การวางอยู่, การวาง, Syn. place, location, site | lie | (n) ตำแหน่งที่วางลูกกอลฟ์ | locality | (n) สถานที่, See also: ถิ่นที่อยู่, ตำแหน่งที่ | locate | (vt) หาที่ตั้ง, See also: หาตำแหน่งที่ตั้ง, หา | location | (n) ตำแหน่งที่ตั้ง, See also: ตำแหน่ง, สถานที่ตั้ง, Syn. place, spot, section | offing | (n) ตำแหน่งที่อยู่ไกล (เกี่ยวกับการเดินเรือ) | parallax | (n) การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุตามตำแหน่งที่ผู้มองเปลี่ยนไป | patronage | (n) ตำแหน่งที่ถูกแต่งตั้ง, See also: เส้นสายทางการเมือง, Syn. backing | preferment | (n) ตำแหน่งที่สูงกว่าหรือมากกว่า, Syn. precedence, station, rank | put in | (phrv) อยู่ในตำแหน่งที่, See also: อยู่ในอันดับ การแข่งขัน, Syn. place behind, place in | runner-up | (n) ผู้ได้ตำแหน่งที่สองในการแข่งขัน | secondary | (n) ลำดับสอง, See also: ตำแหน่งที่สอง | show | (n) ตำแหน่งที่สาม (การแข่งม้า) | situation | (n) สถานการณ์, See also: สภาพ, สถานภาพ, ตำแหน่งที่ตั้ง, สถานที่ตั้ง, Syn. condition, state, affairs, position, place | skew | (n) ตำแหน่งเฉียง, See also: ตำแหน่งที่เบน | upper hand | (n) ตำแหน่งที่มีอำนาจ, Syn. superiority, dominion | viewpoint | (n) สถานที่ที่ใช้ดู, See also: ตำแหน่งที่มองดู | warrant officer | (n) พันจ่า, See also: เป็นตำแหน่งที่อยู่ระหว่าง noncommissioned officer และ commissioned officer | whereabout | (n) ตำแหน่งที่ตั้ง |
| alternately | (ออล'เทอเนทลี) adj. ซึ่งสลับกัน, ในตำแหน่งที่สลับกัน | arithmetic statement | ข้อความสั่งคำนวณ <คำแปล>หมายถึง คำสั่งที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ นำค่าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหรือนำค่าเหล่านั้นไปทำการคำนวณ เมื่อได้ผลจากการคำนวณแล้วจึงนำไปเก็บในตำแหน่งที่ซี่งกำหนดไว้ เช่น score = A+B หมายความว่า ให้นำค่า A+B ได้ผลเท่าใด นำไปเก็บไว้ที่ score | ascendant | (อะเซน'เดินทฺ) n. ตำแหน่งที่ครอง, อิทธิพล, อำนาจ, บรรพบุรุษ. -adj. รุ่งเรือง, มีอำนาจ, ฐานะได้เปรียบ, ก้าวหน้า, มีอิทธิพลเหนือ | ascendent | (อะเซน'เดินทฺ) n. ตำแหน่งที่ครอง, อิทธิพล, อำนาจ, บรรพบุรุษ. -adj. รุ่งเรือง, มีอำนาจ, ฐานะได้เปรียบ, ก้าวหน้า, มีอิทธิพลเหนือ | benefice | (เบน'นิฟิส) n. ตำแหน่งที่มีรายได้, ตำแหน่งบาทหลวงที่มีเงินเดือน, ตำแหน่งพระสอนศาสนา, ที่ดินที่ให้ครอบครอง | card feed | ส่วนป้อนบัตรหมายถึง กลไกของเครื่องเจาะบัตร (keypunch) ที่ทำหน้าที่เลื่อนหรือป้อนบัตรเข้าสู่ตำแหน่งที่ต้องการ เช่น เพื่อให้เจาะรูดู keypunch ประกอบ | chain printer | เครื่องพิมพ์สายโซ่เครื่องพิมพ์เป็นอุปกรณ์ส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้โซ่หรือแกนอักษรหมุนในแนวนอนรอบแกนตั้ง 2 แกน เมื่อตัวอักษรที่ต้องการมาอยู่ตรงตำแหน่งที่กำหนดให้ เครื่องจะใช้ค้อนตีให้อักษรนั้น ปรากฏบนกระดาษ โดยผ่านลงบนผ้าหมึกพิมพ์ | clipboard viewer | ที่ดูคลิปบอร์ดเป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งในระบบวินโดว์ เมื่อเรียกใช้ จะแสดงให้ดูทันทีว่า ในคลิปบอร์ดมีภาพหรือข้อความใดเก็บอยู่ เมื่อเราใช้คำสั่ง paste ที่อยู่ใต้เมนู EDIT ซึ่งจะมีอยู่ในทุกโปรแกรม ภาพหรือข้อความที่มองเห็นว่าอยู่ในคลิปบอร์ดจะไปปรากฏ ณ ตำแหน่งที่กำหนดให้ทันทีดู clipboard ประกอบ | coign of vantage | n. ตำแหน่งที่ได้เปรียบ | commendam | (คะเมน'แดม) n. ตำแหน่งพระสอนศาสนา, ตำแหน่งที่มีรายได้ | crop marks | เครื่องหมายสำหรับเจียน <คำแปล>โปรแกรมบางโปรแกรม โดยเฉพาะโปรแกรมจัดพิมพ์เอกสาร (desktop publishing) จะทำเครื่องหมายไว้ให้สำหรับตัดหรือเจียนกระดาษให้ได้ขนาดที่ต้องการ การสั่งพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์นั้น มักต้องใช้กระดาษตามขนาดที่เครื่องพิมพ์กำหนดไว้ เช่น A4 B5 ฯ ในขณะที่เราต้องการให้หน้ากระดาษของเรามีขนาดพิเศษ โปรแกรมก็จะช่วยให้เราสามารถพิมพ์งานของเราออกมาบนกระดาษขนาดมาตรฐานนั้น แต่มีเครื่องหมายบอกตำแหน่งที่จะต้องเจียนออกไว้ให้ด้วย เครื่องหมายนี้ออกจะเป็นสากลสำหรับบุคคลในวงการพิมพ์ | desktop publishing | การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน | direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ | dtp | (ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน | edge | (เอดจฺ) n. ขอบ, ริม, ข้าง, เขตแดน, สัน, ด้านคมของใบมีด, ความคม, เหลี่ยม, เนินเขา, หน้าผา, ข้อได้เปรียบ, ตำแหน่งที่ดีกว่า vt. ทำให้คม, ใส่ขอบให้, เคลื่อนไปทางข้าง, ค่อย ๆ เคลื่อนไปทางข้าง. vi. เคลื่อนไปข้างหน้า -Phr. (edge out เอาชนะทีละนิด, เล็ม) คำที่มีความหมายเหมือ | fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) | flexion | (เฟลค'เชิน) n. การงอ, การโค้ง, ตำแหน่งที่งอ, สภาพที่งอ. | forehand | (ฟอร์'แฮนดฺ) adj., adv. เกี่ยวกับหน้ามือ (ตีลูกเทนนิสหรือแบดมินตัน) , ซึ่งอยู่ข้างหน้า, ซึ่งกระทำมาก่อน. n. การตีหน้ามือ, ตำแหน่งที่เหนือกว่า, ตำแหน่งที่ได้เปรียบ | ground zero | จุดบนพื้นผิวโลกหรือน้ำที่ระเบิดปรมาณูระเบิด ตำแหน่งที่ลูกระเบิดปรมาณูระเบิด | immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access | indexed file | แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก | insertion pointer | ตัวชี้การแทรกหมายถึง ตัวชี้ตำแหน่งที่มีลักษณะคล้าย I (เรียกว่า I Beam) ถ้าต้องการจะพิมพ์แทรกลงไปที่ตรงไหน ให้นำตัวนี้ไปวางไว้ตรงนั้น อักขระที่พิมพ์ใหม่ก็จะแทรกลงไปตรงนั้น | locality | (โลแคล'ลิที) n. สถานที่, ตำแหน่งที่, ตำแหน่งที่ตั้ง, ถิ่นที่อยู่, ลักษณะเฉพาะที่เฉพาะถิ่น | location | (โลเค'เชิน) n. ตำแหน่งที่ตั้ง, ตำแหน่ง, สถานที่, การวัด, การกำหนดที่ตั้ง, การหาแหล่งที่ตั้ง, การให้เช่า, สถานที่ถ่ายฉากภายนอก, Syn. site | malposition | (แมลพะซิช' เชิน) n. ตำแหน่งที่ผิด | niche | (นิช) n. เวิ้งหรือโพรงในผนังกำแพง, ตำแหน่งที่เหมาะสม vt. วางในเวิ้ง, Syn. recess | offing | (ออฟ'ฟิง) n. ทะเลตอนเห็นจากฝั่งไกลลิบออกไป, ตำแหน่งที่อยู่ไกลจากฝั่งมาก. -phr. (in the offing ไกลออกไปแต่ยังมองเห็น, ในอนาคตที่คาดหมายไว้) | opposition | (ออพพะซิซ'เชิน) n. การคัดค้าน, การต่อต้าน, การเป็นปรปักษ์, ผู้เป็นปรปักษ์, พรรคฝ่ายค้าน, การวางให้อยู่ตรงกันข้าม, ตำแหน่งที่อยู่ตรงกันข้าม (เป็นมุม180องศา) ., See also: oppositional adj., Syn. antagonism | page break | ตำแหน่งแบ่งหน้าคำนี้มีใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หรือโปรแกรมตารางจัดการ (spread sheet) หมายถึง ตำแหน่งที่มีการเปลี่ยนหน้าใหม่ โดยปกติการเปลี่ยนหน้าจะทำได้ 2 แบบ คือ แบบเปลี่ยนไปเองโดยอัตโนมัติ หมายถึง การพิมพ์ได้มาถึงจุดสิ้นสุดของหน้าที่โปรแกรมกำหนดไว้ ก็จะขึ้นหน้าใหม่โดยอัตโนมัติ หากมีการลบหรือเพิ่มข้อความหรือภาพ ก็จะกระทบมาถึงตำแหน่งนี้ด้วย ส่วนแบบที่สอง คือ การกำหนดตำแหน่งที่จะขึ้นหน้าใหม่ โดยใช้คำสั่งกำหนดว่าจะให้เป็นที่หนึ่งที่ใด เมื่อถึงจุดนี้แล้ว เลขหน้าก็จะเปลี่ยนไปให้ เท่ากับเป็นการขึ้นหน้าใหม่เช่นกัน | purple | (เพอ'เพิล) n., adj. สีม่วง, ผ้าสีม่วง , ตำแหน่งพระราชา, ตำแหน่งที่สูงเด่น, ตำแหน่งพระราชาคณะ, สีแดงเข้ม, สีแดงสด, สำนวนสละสลวยเกินไป, vt., vi. ทำให้เป็นสีม่วง กลายเป็นสีม่วง, Syn. eminence | random file | แฟ้มสุ่มหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บระเบียน (record) กระจายออกไปในเนื้อที่จัดเก็บบนสื่อต่าง ๆ (medium) โดยไม่เรียงไปตามลำดับก่อนหลังอย่างแฟ้มลำดับ (sequential file) ตำแหน่งของระเบียนมักจะขึ้นอยู่กับเขตหลัก (key field) เขตหลักนี้จะขึ้นกับฟังก์ชันแบบแฮช (hashing function) เพื่อระบุตำแหน่งที่แน่นอนในที่จัดเก็บมีความหมายเหมือน direct fileดู random access ประกอบ | regius | (รี'เจียส) adj. (ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยอังกฤษ) ดำรงตำแหน่งที่ตั้งขึ้นโดยหรือขึ้นอยู่กษัตริย์, ราช | saddle | (แซด'เดิล) n. อาน, สันเขา, สันหนังสือ, ส่วนหลังของเป็ดไก่ vt., vi. ใส่อาน, บรรทุก -Phr. (in the saddle ในตำแหน่งที่มีอำนาจ) | skew | (สคิว) vi., vt., adj., n. (การปเบน, บ่ายเบน, เอียง, บิด, คด, ทำให้เอน, ทำให้บิดเบือน, เฉียง, บิด, คด, ไม่ได้สัดส่วน, ตำแหน่งที่เบน, ตำแหน่งเฉียง, See also: skewness n. | stance | (สแทนชฺ) n. ท่ายืน, ท่าตีกอล์ฟ, ท่าตีลูก, ตำแหน่งที่ตั้ง, ท่าท่าง, ทัศนคติ., Syn. posture | standing room | n. ตำแหน่งที่ยืน, จุดยืน | symbolic language | ภาษาสัญลักษณ์เป็นภาษาที่ใช้เป็นรหัส กำหนดตำแหน่งที่อยู่ และการปฏิบัติการของคำสั่งต่าง ๆ ในรูปของสัญลักษณ์ ซึ่งมนุษย์คุ้นเคยมากกว่าภาษาเครื่อง เช่น ใช้คำว่า sub แทน ลบ (มาจากคำ subtract) | tab | n. ส่วนที่โผล่ออก, ชาย, แถบ, สายประดับ, เศษผ้า, เศษกระดาษ, ปุ่ม, ป้าย, แผ่นโลหะเล็ก ๆ , หัวหุ้มโลหะที่ปลายเชือกผูกรองเท้า, เครื่องหมายติดปกเสื้อของนายทหาร vt. ทำให้มีtab (ดู) -Phr. (keep tab (s) on คอยดูแล) , จุดตั้งระยะหมายถึง ตำแหน่งที่อยู่ห่างกันเป็นระยะ ๆ ซึ่งจะต้องมีการกำหนดไว้ด้วยโปรแกรม ปกติมักจะกำหนดไว้ให้ห่างกันประมาณ .5 นิ้ว แต่เราสามารถกำหนดใหม่ได้ ใช้มากในโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) หมายถึง ถ้ากดแป้นตั้งระยะ (แป้น Tab) ครั้งหนึ่ง ตัวชี้ตำแหน่งก็จะเลื่อนไประยะหนึ่ง การกำหนดจุดตั้งระยะนั้น อาจกำหนดเลยไปถึงการสั่งชิดซ้าย ชิดขวา ตรงกลาง หรือเป็นตัวเลข ก็ได้, Syn. flap, strip, tag | task management | การจัดภารกิจหมายถึงการจัดภารกิจในด้านการปฏิบัติการของชุดคำสั่ง เป็นต้นว่า การกำหนด ตำแหน่งที่เก็บข้อมูล (เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หรือ operating system) | touch screen | จอสัมผัสหมายถึง จอภาพที่รับข้อมูลได้จากการสัมผัสที่ผิวจอ เป็นต้นว่า บนจอแสดงหัวข้อให้เลือก เราสามารถเลือกได้โดยใช้นิ้วจิ้มลงไปที่ตำแหน่งที่ต้องการ เป็นการแสดงว่า คอมพิวเตอร์ได้รับข้อมูลแล้ว | unsettle | (อันเซท'เทิล) vt. ทำให้ไม่มั่นคง, เปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่, ทำให้เปลี่ยนแปลง, ทำให้อ่อนแอ. vi. กลายเป็นไม่มั่นคง, กลายเป็นไม่มีระเบียบ., See also: unsettlement n., Syn. upset | upper hand | n. ตำแหน่งที่ได้เปรียบ, ความได้เปรียบ | vantage point | n. ฐานะหรือตำแหน่งที่ได้เปรียบ, จุดที่สามารถมองเห็นได้กว้างขวาง | vertical | (เวอ'ทิเคิล) adj. ซึ่งตั้งตรง, ซึ่งตั้งฉากกับแนวราบของขอบฟ้า, ตรงดิ่ง, เกี่ยวกับหรืออยู่บนจุดสุดยอด, ตามยาว, เกี่ยวกับกระหม่อม, เกี่ยวกับกลางกบาล, เกี่ยวกับการรวมกำลังผลิต หรือจำหน่ายสินค้าชนิดหนึ่ง n. สิ่งที่ตั้งตรง, ตำแหน่งที่ตั้งตรง, แนวตั้งฉาก คำศัพท์ย่อย: | whereabout | (s) (แวร์'ระเบาทซฺ) adv. ที่ไหน, อยู่ที่ไหน conj. ใกล้ที่ไหน, ณ ที่ไหน, อยู่ที่ไหน n. สถานที่, ถิ่นที่, ตำแหน่งที่ |
| footing | (n) การทรงตัว, ตำแหน่งที่มั่น, ที่วางเท้า, การวางเท้า | locality | (n) ท้องถิ่น, ละแวก, สถานที่, ตำบล, ตำแหน่งที่ตั้ง, ถิ่นที่อยู่ | location | (n) ที่ตั้ง, ทำเล, การตั้ง, สถานที่, ตำแหน่งที่ตั้ง | skew | (n) การเบน, การเฉ, ตำแหน่งที่เฉียง | whereabouts | (n) ที่อยู่, สถานที่, ตำแหน่งที่, ถิ่นที่ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |