วางเมาส์ที่คำศัพท์เพื่อแสดงป๊อปอัป
แสดงคำอ่าน
Wir können sie ( S IY1 ) doch später auf C ( S IY1 ) -SPAN ( S P AE1 N ) sehen .
Wir เรา (คล้าย we ในภาษาอังกฤษ) [LongdoDE] พวกเรา (คำสรรพนามบุรุษที่ 1 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Wir sind groß. [LongdoDE]
können สามารถ |konnte, gekonnt| [LongdoDE] |kann, konnte, gekonnt| สามารถ (เป็นกริยาช่วย ท้ายประโยคตามด้วยกิริยารูปปกติที่ไม่ผัน) เช่น Kannst du mir einen Rat geben? เธอสามารถให้คำแนะนำฉันได้ไหม [LongdoDE]
sie เขาผู้หญิง หรือ เขาหลายๆ คน (ไม่จำเป็นต้องผู้หญิงอย่างเดียว) [LongdoDE] หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานเพศหญิง) เช่น Sie ist groß. [LongdoDE] พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปประธานพหูพจน์) เช่น Sie sind groß. [LongdoDE] คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. [LongdoDE] พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. [LongdoDE] คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? [LongdoDE] หล่อน, เธอ (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. เพศหญิง) เช่น Wer liebt sie? [LongdoDE] พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? [LongdoDE] พวกเขา (คำสรรพนามบุรุษที่ 3 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์) เช่น Wer liebt sie? [LongdoDE] /S IY1/ [CMU]
doch ใช่ดอก (ใช้เวลาต้องการตอบใช่ในคำถามปฏิเสธ) เช่น Hast du noch kein Mittagessen gehabt? - Doch. เธอยังไม่ได้ทานอาหารกลางวันใช่ไหม - ผมทานแล้ว [LongdoDE] ใช้เน้นว่าเชื่อเช่นนั้น เช่น Du weißt doch meine Telefonnummer, nicht wahr? เธอรู้เบอร์โทรศัพท์ของฉัน ไม่ใช่หรือ [LongdoDE]
später หลังจากนั้น, ทีหลัง [LongdoDE]
auf บน [LongdoDE] เปิด (ประตู, ร้านค้า) [LongdoDE] |+A เมื่อกริยาบ่งอาการเคลื่อนไหว| บน, ข้างบน เช่น Die Fahrgäste legen ihr Gepäck auf die Gepäckablage. ผู้โดยสารวางสัมภาระบนที่วางกระเป๋า [LongdoDE]
C อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ[Lex2] (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3,ตัวเลข100ของโรมัน,สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม [Hope] /S IY1/ [CMU] (n (count)) /s'iː/ [OALD]
SPAN ระยะเวลา: ช่วงเวลา, สมัย [Lex2] ช่วงห่าง: ช่วงว่าง, ความกว้าง, ช่วง [Lex2] ยืดขยาย: ก้าวข้าม, กินเวลา [Lex2] (สแพน) n. ช่วงห่าง,กว้างหนึ่งคืบ (ประมาณ9นิ้ว) ,การขยายปีก,ระยะเวลา,ระยะกว้าง,ก้าว,สมัย,ชั่วอายุ vt. วัดเป็นคืบ,ประเมินค่า,วัดทอดข้าม,ก้าวข้าม ###S. stretch [Hope] (n) ระยะ,ช่วงกว้างของมือ,ตอน,ชั่วอายุ,สมัย,ช่วงห่าง [Nontri] (vt) ทอดข้าม,วัดเป็นคืบ,ก้าวข้าม,ประเมินค่า [Nontri] /S P AE1 N/ [CMU] (vt,v,n (count)) /sp'æn/ [OALD]
sehen เห็น |sah, gesehen| [LongdoDE]