Move your mouse over the text to see pop-up windows.
|
I have thoroughly examined my memory unit . |
|
|
I | - คำสรรพนามเอกพจน์บุรุษที่1: ผม, ดิฉัน, ข้าพเจ้า, หน, กระหม่อม [Lex2]
- พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 9[Lex2]
- เสียงสระในภาษาอังกฤษ[Lex2]
- (ไอ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 9เป็นสระด้วย [Hope]
- /AY1/ [CMU]
- (n (count),pron) /aɪ/ [OALD]
- (n (count)) /'aɪ/ [OALD]
|
have | - คลอด: ให้กำเนิด [Lex2]
- จัด: เตรียมการ [Lex2]
- ได้รับ: ได้ [Lex2]
- เป็นโรค: ป่วยเป็นโรค [Lex2]
- มี: ประกอบด้วย, เป็นเจ้าของ [Lex2]
- มีแขก: ให้การต้อนรับแขก [Lex2]
- รับประทาน: กิน, ทาน [Lex2]
- (แฮฟว) {have,had,had,having,has} vt. มี,ประกอบด้วย,ได้รับ,เป็น (โรค) ,เอา,เอาได้,ประสบการณ์,ผ่าน,แสดง,ดำเนินการ,ม' (ลูก) , vi. มีเงิน. (auxiliary verb) -Phr. (had better (best) ควรจะ) ###S. possess,own,suffer [Hope]
- (vt) มี,ได้,เป็น,รับประทาน,ดื่ม,กล่าว,ยืนยัน,ใช้ [Nontri]
- /HH AE1 V/ [CMU]
- (v,v) /hæv/ [OALD]
|
thoroughly | - อย่างละเอียดถี่ถ้วน: อย่างละเอียดรอบคอบ [Lex2]
- อย่างสมบูรณ์: อย่างแท้จริง, อย่างที่สุด, อย่างแน่นอน, โดยสิ้นเชิง [Lex2]
- (adv) โดยตลอด,อย่างเต็มที่,อย่างละเอียดลออ,อย่างถี่ถ้วน [Nontri]
- /TH ER1 OW0 L IY0/ [CMU]
- (adv) /th'ʌrəliː/ [OALD]
|
examined | - /IH0 G Z AE1 M AH0 N D/ [CMU]
- (vt,vt) /'ɪgz'æmɪnd/ [OALD]
[examine] - ไต่สวน: สอบสวน [Lex2]
- พินิจพิจารณา: พินิจ, ตรวจ, สังเกต, จับตามอง, พิเคราะห์ [Lex2]
- (อิกแซม'มิน) {examined,examining,examines} vt. สอบ,ทดสอบ,ตรวจสอบ ###SW. examinable adj. ดูexamine examiner n. ดู examine examingly adv ดูexamine ###S. scrutinize [Hope]
- (vt) ตรวจสอบ,ทดสอบ,ไต่ถาม,สอบสวน [Nontri]
- /IH0 G Z AE1 M IH0 N/ [CMU]
- (vt) /'ɪgz'æmɪn/ [OALD]
|
my | - ของฉัน[Lex2]
- (มาย) pron. ของฉัน. interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ [Hope]
- (adj) ของฉัน [Nontri]
- /M AY1/ [CMU]
- (adj) /m'aɪ/ [OALD]
|
memory unit | - หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่ [Hope]
|
|
|
|