Search result for

วรรณพฤติ

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -วรรณพฤติ-, *วรรณพฤติ*
(Few results found for วรรณพฤติ automatically try *วรรณพฤติ*)
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วรรณพฤติ(วันนะพรึด) น. ฉันท์ที่กำหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ.
กมล-, กมลา(กะมะละ-, กะมะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์.
กุมาร-ลฬิตา(กุมาระละลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๒ คณะ คือ ช คณะ และ ส คณะ และเติมครุข้างท้ายอีก ๑ คำ หรือ ๑ พยางค์ จึงมีบาทละ ๗ คำ หรือ ๗ พยางค์ (ตามแบบว่า กุมารลฬิตาชฺสฺคา) ตัวอย่างว่า อนึ่งนุชมีจิต สนิทกรุณะเปรมปรี ดิสวามิมะนะภักดี ภิบาลบมิอนาทร (ชุมนุมตำรากลอน).
กุสุมวิจิตรน. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน).
กุสุมิตลดาเวลลิตา(กุสุมิตะละดาเวนลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๖ คณะ คือ ม คณะ ต คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ บาทละ ๑๘ คำ หรือ ๑๘ พยางค์ (ตามแบบว่า โม โต โน โย ยา กุสุมิตลตาเวลฺลิตากฺขุตฺวสีหิ) ตัวอย่างว่า มนตรีมาตย์ผู้ฉลาดมละ ทุจริตธรรม์ พึงผดุงสรร- พสิ่งสวัสดิ์ (ชุมนุมตำรากลอน).
จิตรปทาน. ชื่อฉันท์ในวรรณพฤติ.
ฉันทศาสตร์(ฉันทะสาด) น. ตำราว่าด้วยการแต่งฉันท์ทั้งที่เป็นมาตราพฤติและวรรณพฤติ เป็นศิลปศาสตร์อย่างหนึ่งในศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ.
ชเนตตี(ชะเนดตี) น. แม่ เช่น ชเนตตีสมะนามกร (ฉันท์วรรณพฤติ).
โตฎก(-ดก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๒ พยางค์, ประกอบด้วย ส คณะ (ลหุ ลหุ ครุ) ล้วน เช่น รถนั้นนลแท้ นลแน่มนใน นรอื่นบ่มีใคร รถแขงดุจนล (พระนลคำฉันท์).
ทุตวิลัมพิตมาลา(ทุตะวิลำพิตะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย.
โทธก(-ทก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๑ พยางค์ กำหนดด้วย ภะคณะ ภะคณะ ภะคณะ และครุ ๒ พยางค์ ตามลำดับเหมือนกันทุกบาท (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย (ชุมนุมตำรากลอน).

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วรรณพฤติ(วันนะพรึด) น. ฉันท์ที่กำหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ.
กมล-, กมลา(กะมะละ-, กะมะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์.
กุมาร-ลฬิตา(กุมาระละลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๒ คณะ คือ ช คณะ และ ส คณะ และเติมครุข้างท้ายอีก ๑ คำ หรือ ๑ พยางค์ จึงมีบาทละ ๗ คำ หรือ ๗ พยางค์ (ตามแบบว่า กุมารลฬิตาชฺสฺคา) ตัวอย่างว่า อนึ่งนุชมีจิต สนิทกรุณะเปรมปรี ดิสวามิมะนะภักดี ภิบาลบมิอนาทร (ชุมนุมตำรากลอน).
กุสุมวิจิตรน. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน).
กุสุมิตลดาเวลลิตา(กุสุมิตะละดาเวนลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๖ คณะ คือ ม คณะ ต คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ บาทละ ๑๘ คำ หรือ ๑๘ พยางค์ (ตามแบบว่า โม โต โน โย ยา กุสุมิตลตาเวลฺลิตากฺขุตฺวสีหิ) ตัวอย่างว่า มนตรีมาตย์ผู้ฉลาดมละ ทุจริตธรรม์ พึงผดุงสรร- พสิ่งสวัสดิ์ (ชุมนุมตำรากลอน).
จิตรปทาน. ชื่อฉันท์ในวรรณพฤติ.
ฉันทศาสตร์(ฉันทะสาด) น. ตำราว่าด้วยการแต่งฉันท์ทั้งที่เป็นมาตราพฤติและวรรณพฤติ เป็นศิลปศาสตร์อย่างหนึ่งในศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ.
ชเนตตี(ชะเนดตี) น. แม่ เช่น ชเนตตีสมะนามกร (ฉันท์วรรณพฤติ).
โตฎก(-ดก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๒ พยางค์, ประกอบด้วย ส คณะ (ลหุ ลหุ ครุ) ล้วน เช่น รถนั้นนลแท้ นลแน่มนใน นรอื่นบ่มีใคร รถแขงดุจนล (พระนลคำฉันท์).
ทุตวิลัมพิตมาลา(ทุตะวิลำพิตะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย.
โทธก(-ทก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๑ พยางค์ กำหนดด้วย ภะคณะ ภะคณะ ภะคณะ และครุ ๒ พยางค์ ตามลำดับเหมือนกันทุกบาท (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย (ชุมนุมตำรากลอน).

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top