มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ repository | (n) ที่เก็บ, See also: ที่รองรับ, ที่บรรจุ | repository | (n) ผู้มีความรู้กว้างขวาง | repository | (n) ผู้ได้รับความไว้วางใจ | repository | (n) โกดัง, See also: คลังสินค้า, ที่เก็บสินค้า, Syn. store, warehouse | repository | (n) สุสาน, See also: ที่ฝังศพ, สถานที่เก็บศพ, ฮวงซุ้ย, Syn. vault |
| repository | (รีทอส'ซิทอรี) n. ที่รับ, ที่รองรับ, ที่ใส่, ที่เก็บ, สุสาน, ผู้เป็นที่ไว้วางใจ, คลังสินค้า, โกดัง, Syn. burial place, sepulcher |
| | Repository | คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Institutional repository | คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน, Example: Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information Repository | คลังสารสนเทศ [การจัดการความรู้] |
| | | หอไตร | [høtrai] (n) EN: hall for keeping the scriptures ; temple repository for the Buddhist scriptures ; tripitaka hall | คลัง | [khlang] (n) EN: storehouse ; warehouse ; repository FR: dépôt [ m ] ; entrepôt [ m ] |
| | | | Repository | n. [ L. repositorium, repostorium: cf. OF. repositoire. ] A place where things are or may be reposited, or laid up, for safety or preservation; a depository. Locke. [ 1913 Webster ] |
| 府 | [fǔ, ㄈㄨˇ, 府] seat of government; government repository (archive); official residence; mansion; presidential palace; (honorific) Your home; prefecture (from Tang to Qing times) #3,434 [Add to Longdo] | 正仓院 | [Zhēng cāng yuàn, ㄓㄥ ㄘㄤ ㄩㄢˋ, 正 仓 院 / 正 倉 院] Shōsō-in, treasure house belonging to Tōdai-ji 東大寺, Nara 奈良, Japan, an extensive repository of imperial treasures from Tang times; described as the east-most end of the Silk road #182,629 [Add to Longdo] |
| | |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |