มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ศักดิ์ศรี | (n) honour, See also: honor, glory, fame, renown, Syn. เกียรติ, เกียรติยศ, เกียรติศักดิ์ | ศักดิ์ศรี | (n) prestige, Syn. เกียรติศักดิ์, เกียรติยศ, Example: ศักดิ์ศรีของทหารเป็นที่น่าเชื่อถือของคนทั่วไป, Notes: (สันสกฤต) | มีศักดิ์ศรี | (v) have prestige, See also: have dignity, Syn. มีเกียรติ, Example: มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน, Thai Definition: มีเกียรติตามฐานะของแต่ละบุคคล | สมศักดิ์ศรี | (v) deserve one's dignity, See also: be suitable for one's rank, be worthy of one's dignity, Syn. สมศักดิ์, Example: เขาคิดว่านี่เป็นงานต่ำ ไม่สมศักดิ์ศรีลูกผู้ดีอย่างเขา, Thai Definition: สมควรแก่เกียรติยศชื่อเสียง | เสียศักดิ์ศรี | (v) lose one's honour, See also: be disgraced, be dishonoured, Example: ประธานาธิบดีโซเวียตยอมเสียศักดิ์ศรีเดินทางไปเยือนอดีตประเทศศัตรู เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ, Thai Definition: สูญเสียเกียรติศักดิ์, สูญเสียเกียรติ | หยิ่งในศักดิ์ศรี | (v) be proud of (one's achievement), Syn. ถือตัว, Example: คนเราต่างก็มีสิทธิ์หยิ่งในศักดิ์ศรีของตัวเอง, Thai Definition: ไว้ตัว, ไม่ยอมลดตัว เพราะหยิ่งในเกียรติของตน |
|
| ศักดิ์ศรี | น. เกียรติศักดิ์ เช่น ประพฤติตนไม่สมศักดิ์ศรี. | คอหยัก ๆ สักแต่ว่าคน | น. คนที่ประพฤติตัวไม่สมศักดิ์ศรีของความเป็นคน. | เมียน้อย | น. หญิงที่ชายเลี้ยงดูอย่างภรรยา แต่ไม่มีศักดิ์ศรีเท่าเมียหลวงหรือไม่ได้จดทะเบียน. | ลูบคม | ก. ทำให้เกียรติหรือศักดิ์ศรีด้อยลงไป เช่น นักเลงถูกลูบคม. | สม ๑ | ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย, รับกัน เช่น หัวแหวนสมกับเรือนแหวน | เสีย ๑ | ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ | เสียราศี | ก. เสียสง่า, เสียเกียรติยศ, เสียศักดิ์ศรี, เสียสิริมงคล, เช่น คบคนชั่วทำให้เสียราศี. | หน้า | เกียรติและศักดิ์ศรี เช่น เห็นแก่หน้า ไม่ไว้หน้า | หยามน้ำหน้า | ก. ดูหมิ่นเกียรติ, ดูหมิ่นศักดิ์ศรี. |
| Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman, or Degrading Treatment or Punishment (1984) | อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี (ค.ศ. 1984) [TU Subject Heading] | Dignity | ศักดิ์ศรี [TU Subject Heading] | Dignity in literature | ศักดิ์ศรีในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman and Degrading Treatment or Punishment | อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการปฏิบัติ หรือการลงโทษอื่น ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี [การทูต] | Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Placement | หมายถึง วิธีจัดที่นั่งโต๊ะในการเลี้ยงอาหารสำหรับนักการทูต โดยคำนึงถึงลำดับอาวุโส เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรู้สึกขุ่นเคืองหรือหัวเสีย เรื่องการจัดที่นั่งในการเลี้ยงอาหารโดยคำนึงถึงลำดับอาวุโสนี้ นักการทูตส่วนใหญ่ไม่ว่าที่ไหน มักจะถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย เพราะถือเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ ฝ่ายที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดที่นั่งเช่นนี้ได้แก่ กรมพิธีการทูตของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนลำดับของอาวุโสก็ถือตามวันเวลาที่นักการทูตแต่ละคนได้เข้าประจำตำแหน่ง ที่ในประเทศผู้รับ กล่าวคือ ผู้ที่เข้าประจำตำแหน่งก่อนก็คือผู้ทีมีอาวุโสกว่าผู้ที่มาประจำตำแหน่ง หน้าที่ทีหลัง [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
| มีศักดิ์ศรี | [mī saksī] (adj) EN: dignified ; honorable | ศักดิ์ศรี | [saksī] (n) EN: honour ; honor (Am.) ; glory ; fame ; renown ; dignity ; prestige FR: prestige [ m ] ; dignité [ f ] |
| deign | (vt) ถ่อมตัวลงมา, See also: ลดตัวลงมา, ยอมลดเกียรติ / ศักดิ์ศรีลงมา, Syn. condescend, vouchsafe, stoop | deign | (vi) ถ่อมตัวลงมา, See also: ลดตัวลงมา, ยอมลดเกียรติ / ศักดิ์ศรีลงมา, Syn. condescend, vouchsafe, stoop | prestigious | (adj) ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือ, See also: ซึ่งมีเกียรติ, ซึ่งมีศักดิ์ศรี, Syn. famous, important | self-esteem | (n) การหยิ่งในศักดิ์ศรีของตนเอง, See also: ความภูมิใจในตัวเองอย่างมาก, Syn. pride |
| amour-propre | (อะมัวพรอ' พระ) n., fr. ความรักตัวเอง, ความหยิ่งในศักดิ์ศรี | character | (แค'ริคเทอะ) n. ตัวอักษร, อักขระ, อุปนิสัย, คุณสมบัติ, ลักษณะพิเศษ, หลักความประพฤติ, ความรักหรือหยิ่งในศักดิ์ศรี, ชื่อเสียงที่ดี, เกียรติคุณ, ฐานะตัวในเรื่อง, บทบาทในละครหรือภาพยนตร์, สัญลักษณ์, See also: characterisation, characterization n. | fame | (เฟม) n. ชื่อเสียง, กิตติศัพท์, เกียรติยศ, เกียรติคุณ, ศักดิ์ศรี, ข่าวลือ, การเล่าลือ. vt. ทำให้มีชี่อเสียง, เลื่องลือ. | honor | (ออน'เนอะ) n. เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ศักดิ์ศรี, เกียรติศักดิ์, ความเคารพ, ความนับถือ, เหรียญตรา, ปริญญาขั้นเกียรตินิยม. vt. เคารพ, นับถือ, ให้เกียรติแก่กัน, จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงิน | honorable | (ออน'เนอะระเบิล) เกี่ยวกับเกียรติยศ, น่าเคารพนับถือ, ซื่อตรง, น่าเชื่อถือ, มีหน้ามีตา, มีศักดิ์ศรี., See also: honourableness, honorbleness n., Syn. virtuous, ethical | honour | (ออน'เนอะ) n. เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ศักดิ์ศรี, เกียรติศักดิ์, ความเคารพ, ความนับถือ, เหรียญตรา, ปริญญาขั้นเกียรตินิยม. vt. เคารพ, นับถือ, ให้เกียรติแก่กัน, จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงิน | honourable | (ออน'เนอะระเบิล) เกี่ยวกับเกียรติยศ, น่าเคารพนับถือ, ซื่อตรง, น่าเชื่อถือ, มีหน้ามีตา, มีศักดิ์ศรี., See also: honourableness, honorbleness n., Syn. virtuous, ethical | invertebrate | (อินเวอ'ทะบริท) adj. ไม่มีกระดูกสันหลัง, เกี่ยวกับสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง, อ่อนแอ, ไร้ความสามารถ, ไม่รักศักดิ์ศรี., See also: invertebracy, invertebrateness n. | prestige | (เพรสทิจฺ') n. ชื่อเสียง, เกียรติคุณ, เกียรติศักดิ์, เกียรติภูมิ, ศักดิ์ศรี, บารมี adj. มีชื่อเสียง, Syn. reputation, weight | prostitute | (พรอส'ทิทิวทฺ) n. โสเภณี, บุคคลที่ร่วมประเวณีเพื่อหาเงิน (มักเป็นหญิง) , บุคคลที่ขายศักดิ์ศรีของตัวเอง. vt. ขายตัวเป็นโสเภณี, ขายศักดิ์ศร', Syn. whore, harlot, call girl | respectable | (รีสเพค'ทะเบิล) adj. น่านับถือ, น่าเคารพ, น่ายำเกรง, มีหน้ามีตา, สูงส่ง, สมควร, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, มีศักดิ์ศรี, มากมาย, See also: respectableness n. respectably adv., Syn. admirable, proper, appreciable | self-respect | (เซลฟฺ'รีสเพคทฺ') n. การเคารพตัวเอง, การหยิ่งในศักดิ์ศรีของตัว เอง., See also: self-respectful, self-respecting adj. |
| fame | (n) กิตติศัพท์, ชื่อเสียง, เกียรติศักดิ์, ศักดิ์ศรี | honourable | (adj) น่าเคารพนับถือ, มีศักดิ์ศรี, มีหน้ามีตา, น่ายกย่อง | prestige | (n) ชื่อเสียง, อิทธิพล, ศักดิ์ศรี, บารมี, รัศมี, เกียรติยศ | SELF-self-respect | (n) การหยิ่งในศักดิ์ศรีตัวเอง, ความนับถือตัวเอง |
| 自尊心 | [じそんしん, jisonshin] ความหยิ่งในศักดิ์ศรี |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |