มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ผู้พิพากษา | (n) judge, See also: justice, magistrate, arbitrator, Syn. ตุลาการ, Example: ผู้พิพากษาตัดสินประหารชีวิตนักโทษคดีค้ายาบ้า, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ตัดสินคดี | อธิบดีผู้พิพากษา | (n) chief judge, Example: เขาดำรงตำแหน่งอธิบดีผู้พิพากษา, Thai Definition: หัวหน้าผู้พิพากษา | ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล | (n) Chief Justice, Example: พ่อของเขามีตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาล, Count Unit: คน |
|
| ผู้พิพากษา | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถ-คดีในศาล. | ผู้พิพากษาสมทบ | น. บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษ ให้เป็นองค์คณะร่วมกับผู้พิพากษาซึ่งเป็นข้าราชการตุลาการ มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดี เช่น ผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัว ผู้พิพากษาสมทบในศาลแรงงาน. | เขตอำนาจศาล | น. พื้นที่และอำนาจของศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดีตามที่กฎหมายบัญญัติ. | ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. | บัลลังก์ | ที่นั่งผู้พิพากษาเมื่อพิจารณาคดีในศาล | พิพากษา | ก. ตัดสินคดีโดยศาล, เรียกตุลาการผู้ทำหน้าที่ตัดสินดังกล่าว ว่า ผู้พิพากษา, เรียกคำตัดสินนั้น ว่า คำพิพากษา. | แมยิสเตร็ด | น. ผู้ทำหน้าที่ตุลาการในศาลชั้นต้นของต่างประเทศซึ่งอาจจะเป็นผู้พิพากษาอาชีพหรืออาสาสมัครก็ได้. | ลูกขุน ณ ศาลหลวง, ลูกขุนศาลหลวง | น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี. | ศาล | (สาน) น. องค์กรฝ่ายตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี, ผู้พิพากษาหรือตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี | ศาลแขวง | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีผู้พิพากษาเป็นองค์คณะคนเดียว และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอันจำกัดกว่าศาลชั้นต้นอื่น. | อธิบดี | (อะทิบอดี, อะทิบบอดี) น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้ปกครอง, หัวหน้า, เช่น อธิบดีสงฆ์ อธิบดีผู้พิพากษา |
| peace, justice of the | ผู้พิพากษาศาลแขวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ (ผู้พิพากษาหรือลูกขุน)๓. บัญชีรายชื่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | per eundem (L.) | โดยผู้พิพากษาคนเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Law Lords | ๑. สมาชิกสภาขุนนางที่เป็นผู้พิพากษาศาลสูง (อังกฤษ)๒. ผู้พิพากษาศาลสูง (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | obiter dictum (L.) | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | associate judge | ผู้พิพากษาสมทบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge | ๑. วินิจฉัย๒. ผู้พิพากษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judge | ผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justice of the peace | ผู้พิพากษาศาลแขวง [ ดู magistrate ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | justice of the peace | ผู้พิพากษาศาลแขวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge pro tempore | ผู้พิพากษาชั่วคราว, สำรองผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge trainee | ผู้ช่วยผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge, associate | ผู้พิพากษาสมทบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bench | คณะผู้พิพากษา, ศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bar | ๑. องค์คณะผู้พิพากษา๒. ราวกั้น (ในศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | magistrate | ผู้พิพากษาศาลแขวง [ ดู justice of the peace ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | magistrate | ผู้พิพากษาศาลแขวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | magistrate, ex-officio | ผู้พิพากษาศาลแขวงโดยตำแหน่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | camera | ห้องทำงานของผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Chief Judge | ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | challenge of judges | การคัดค้านผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | divided court | ความเห็นที่แตกต่างกันของคณะผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dictum | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู obitor dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex-officio magistrate | ผู้พิพากษาศาลแขวงโดยตำแหน่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | en banc (Fr.) | นั่งพิจารณาครบองค์คณะ (ผู้พิพากษา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tribunal | ๑. ศาล, ศาลชำนัญพิเศษ๒. บัลลังก์ผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Judges | ผู้พิพากษา [TU Subject Heading] | Lay judges | ผู้พิพากษาสมทบ [TU Subject Heading] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
| | Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
| apparitor | (n) ผู้ช่วยผู้พิพากษาในศาล | bench | (n) ผู้พิพากษา, Syn. judge | chief justice | (n) ผู้พิพากษาสูงสุด | gavel | (n) ค้อนเล็กสำหรับทุบโต๊ะของผู้พิพากษาในศาล, See also: ค้อนเล็กที่ใช้ในการประมูล, Syn. mallet, maul | habeas corpus | (n) หมายศาลที่เรียกตัวบุคคลให้มาปรากฏต่อหน้าผู้พิพากษาหรือศาล | judge | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Syn. arbiter, justice, magistrate | judiciary | (n) คณะตุลาการ, See also: คณะผู้พิพากษา | justice | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Ant. judge, magistrate | lictor | (n) ผู้ที่ทำหน้าที่ติดตามผู้พิพากษาในสมัยโรมันโบราณ | magistrate | (n) ผู้พิพากษา, Syn. judge | magistratical | (adj) เกี่ยวกับผู้พิพากษา | praetor | (n) ผู้พิพากษาสมัยกรุงโรมโบราณ | pretor | (n) ผู้พิพากษาสมัยกรุงโรมโบราณ, See also: ขุนนางผู้ปกครองคนหนึ่งของกรุงโรม, Syn. praetor |
| aedile | (อี' ๆ ดล์) n. ผู้พิพากษาในสมัยโรมัน (edile) | apparitor | (อะพาร์'ริเทอะ) n. จ่าศาล, ผู้ช่วยผู้พิพากษาในศาล | archon | (อาร์'คอน) n. หัวหน้าผู้พิพากษาในกรุงเอเธนส์สมัยโบราณ -archonship n. | assessor | (อะเซส'เซอะ) n. ผู้ประเมิน, ที่ปรึกษาหรือผู้ช่วยผู้พิพากษา, ผู้ประเมินทรัพย์สินหรืออัตราภาษี. -assessorial adj. | beak | (บีค) n. จะงอย, ปากนก, ปากกา, ส่วนที่คล้ายจะงอบปาก, จมูก, ผู้พิพากษา, ครู, See also: beaked adj., Syn. bill, nib, neb | bench | (เบนชฺ) { benched, benching, benches } n. ม้านั่ง, บัลลังก์ (ตุลาการ) , ผู้พิพากษา, ศาล, ม้านั่งยาวสำหรับหลายคนนั่ง vt. วาง (ม้านั่ง) ตั้งไว้, วางแสดง, ทำให้นั่งอยู่ที่นั่ง | cadi | (คา'ดี, เค'ดี) n. ผู้พิพากษาในชุมชนมุสลิม, ดะโต๊ะ, Syn. kadi | chief justice | n. หัวหน้าผู้พิพากษา, อธิบดีศาล, See also: chiefjusticeship n. | dictum | (ดิค'ทัม) n. สุภาษิต, คำกล่าว, คำแถลง, ข้อคิดเห็นของผู้พิพากษา -pl. dicta, dictums | habeas corpus | n. หมายศาลที่เรียกตัวบุคคลให้มาปรากฏต่อหน้าผู้พิพากษาหรือศาล | hakim | (ฮา'คิม) n. คนที่ฉลาด, นักปราชญ์, บัณฑิต, แพทย์, ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้พิพากษา | judge | (จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge | judicator | (จูดะเค'เทอะ) n. ผู้พิพากษา, ผู้ตัดสิน., See also: judicatorial adj. ดูjudicator | judicature | (จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย | judicial | (จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้า, Syn. legal, juridical | judiciary | (จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลาย, Syn. legal, discerning | jurist | (จัว'ริสทฺ) n. นักกฎหมาย, ทนายความผู้พิพากษา, ผู้เชี่ยวชาญกฎหมาย, ผู้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมาย -S.jurisprudent | magistracy | (แมจ'จิสทราซี) n. ตำแหน่งหรืออำนาจหน้าที่ของพนักงานปกครองหรือผู้พิพากษา, กลุ่มผู้พิพากษา, กลุ่มพนักงานปกครอง. | magistral | (แมจ'จิสทรัล) adj. เฉพาะโอกาส, สำคัญ, เกี่ยวกับพนักงานปกครอง, เกี่ยวกับผู้พิพากษา | magistrate | (แมจ'จิสเทรท) n. ผู้พิพากษา, พนักงานผู้ปกครอง, See also: magistrateship n. | master | (มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ | mercy | (เมอ'ซี) n. ความเมตตา, ความกรุณาปรานี, ความอนุเคราะห์, อำนาจของผู้พิพากษาในการให้อภัยโทษหรือลดหย่อนผ่อนโทษ, พร -Phr. (at the mercy ขึ้นอยู่กับ อยู่ภายใต้อำนาจของ) | praetor | (พรี'เทอะ) n. ผู้พิพากษาหรือขุนนางผู้ปกครองของกรุงโรมโบราณ., See also: praetorship n. | pretor | (พรี'เทอะ) n. ผู้พิพากษาหรือขุนนางผู้ปกครองของกรุงโรมโบราณ., See also: praetorship n. |
| beak | (n) จะงอยปาก, ปากนก, จมูก, ครู, ผู้พิพากษา | judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ | judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี | jurist | (n) นักกฎหมาย, ทนายความ, ผู้พิพากษา | magistracy | (n) คณะเจ้าหน้าที่, คณะผู้พิพากษา, กลุ่มพนักงานปกครอง | magistrate | (n) เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร, ผู้พิพากษา, นักปกครอง |
| ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html | ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
| Richter | (n) |der, pl. Richter| ผู้พิพากษา | Richter | (n) |der, pl. Richter| ผู้พิพากษา เช่น Wie der Richter mit dieser Situation umgehen wird, ist noch unklar. Grundsätzlich wäre es sinnvoll, wenn er den Anbieter verpflichten könnte, dem Anwender die Schnittstelleninformationen offen zu legen. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |