ขนบธรรมเนียม | (ขะหฺนบทำ-) น. แบบอย่างที่นิยมกันมา. | ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). | ข้านอกเจ้าบ่าวนอกนาย | น. ผู้ที่กระทำหรือประพฤตินอกเหนือคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมา. | โคตรภู | (โคดตฺระพู) น. บุคคลผู้ตั้งอยู่ในญาณซึ่งเป็นลำดับอริยมรรค, พระสงฆ์ที่ไม่เคร่งครัดในศาสนา มีขนบธรรมเนียมห่างจากธรรมวินัย แต่ยังถือตนว่าเป็นภิกษุสงฆ์อยู่ เรียกว่า โคตรภูสงฆ์. | ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. | ตะวันตก | เรียกประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริกาว่า ประเทศตะวันตก, เรียกประชาชนโดยเฉพาะพวกผิวขาว ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า ชาวตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น. | นิติ | (นิ-ติ, นิด) น. นีติ, กฎหมาย, กฎปฏิบัติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | นีติ | น. นิติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฎหมาย, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | เนติ | (เน-ติ) น. นิติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, กฎหมาย, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | แบบแผน | น. ขนบธรรมเนียมที่กำหนดใช้หรือที่เคยประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา. | ประเพณี | น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี. | ปเวณี | (ปะ-) น. ขนบธรรมเนียม, แบบแผน | ปุโรหิต | น. พราหมณ์ที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ในทางนิติ คือ ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี. | พิธี | น. งานที่จัดขึ้นตามลัทธิหรือความเชื่อถือตามขนบธรรมเนียมประเพณีเพื่อความขลังหรือความเป็นสิริมงคลเป็นต้น เช่น พิธีพระราชทานปริญญาบัตร พิธีมงคลสมรส พิธีประสาทปริญญา | สภาจาร | น. ขนบธรรมเนียมขององค์การหรือสถานที่ประชุม. | สุติ ๒ | ขนบธรรมเนียม | หูป่าตาเถื่อน | ว. รู้ไม่ทันเหตุการณ์เพราะอยู่ห่างไกลหรือไม่สนใจเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้ขนบธรรมเนียมว่าควรปฏิบัติอย่างไรเพราะไม่ได้รับการอบรม เช่นคนสามัญเดินบนลาดพระบาท. | แหกคอก | ก. ประพฤติตัวผิดเหล่าผิดกอหรือผิดขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคยประพฤติปฏิบัติกันมา (มักใช้ในเชิงตำหนิ). | อารยธรรม | ความเจริญเนื่องด้วยองค์การของสังคม เช่น การเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรม, ความเจริญด้วยขนบธรรมเนียมอันดี. |
| convention | ๑. การประชุมใหญ่ (ก. ปกครอง)๒. อนุสัญญา (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ขนบธรรมเนียม, ประเพณีนิยม (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | convention | ๑. การประชุมใหญ่๒. อนุสัญญา๓. ขนบธรรมเนียม, สัญนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | usage | ขนบธรรมเนียม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
|
| International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
| | ขนบธรรมเนียม | [khanop thamnīem] (n) EN: customs ; wont ; convention FR: tradition [ f ] ; coutume [ f ] ; usage [ m ] ; convention [ f ] | ขนบธรรมเนียมสากล | [khanop thamnīemsākon] (n, exp) EN: international practice FR: usage international [ m ] ; pratique internationale [ f ] |
| ethnocentrism | (n) ความเชื่อที่ว่าชนชาติ ประชาชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ เชื้อชาติของตนนั้น ดีเลิศกว่าชนชาติอื่น |
| custom | (n) ขนบธรรมเนียม, See also: ประเพณี, Syn. tradition, folkways | Hebraic | (adj) ด้านภาษา หรือขนบธรรมเนียมของชาวฮิบรู (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์), Syn. Hebraical | Hebraically | (adv) ที่เกี่ยวข้องกับภาษา หรือขนบธรรมเนียมของชาวฮิบรู (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์), Syn. Hebraic | mannerism | (n) ธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: การยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ, วิธีปฎิบัติ, ระเบียบแบบแผน, ลักษณะเฉพาะ, Syn. idiosyncrasy, pecularity | mannerist | (n) ผู้มีมารยาท (ดีหรือเลว), See also: ผู้ยึดถือขนบธรรมเนียมเฉพาะ, วิธีปฎิบัติ, ระเบียบแบบแผน | manners | (n) ขนบธรรมเนียมประเพณี, See also: รูปแบบการดำเนินชีวิต, ธรรมเนียมปฎิบัติ, วิถีชีวิต, วิถีทาง, ขนบธรรมเนียม, Syn. culture, etiquette, decorum | nonconformist | (n) คนไม่ยอมทำตามขนบธรรมเนียมของสังคม, Syn. rebel, loner, Ant. ordinary | precedent | (n) ตัวอย่างหรือแบบอย่างที่มีมาก่อน, See also: เรื่องราวแต่ก่อน, ขนบธรรมเนียมหรือประเพณีที่มีมาก่อน, Syn. pattern, authoritative example | tradition | (n) ประเพณี, See also: ขนบธรรมเนียม, วัฒนธรรม, ธรรมเนียม, ขนบธรรมเนียมประเพณี |
| anglicise | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. | anglicize | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. | customary | (คัส'เทิมมะรี) adj. เกี่ยวกับประเพณี, เป็นขนบธรรมเนียม, ตามปกติ, เคยชิน, เป็นกิจวัตร, Syn. normal | domesticate | (ดะเมส'ทะเคท) vt. ทำให้ชอบอยู่ในบ้าน, ทำให้เป็นขนบธรรมเนียม, ทำให้เชื่อง, ทำให้เคยชิน, See also: domesticable adj. ดูdomesticate domestication n. ดูdomesticate domesticative adj. ดูdomesticate domesticator n. ดูdomesticate คำที่มีความหม | folklore | (โฟล์ค'ลอร์) n. คติชาวบ้าน, ความเชื่อหรือขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวบ้าน. -folkloric adj., See also: folklorist n. folkloristic adj. | hebraic | (ฮิเบร'อิค) adj. เกี่ยวกับชาวอิสราเอลภาษาหรือขนบธรรมเนียมของเขา. -Hebraism n. -Hebraist n. ผู้เชี่ยวชาญภาษาอิสราเอล | japanism | n. ความนิยมญี่ปุ่นขนบธรรมเนียมประเพณีของญี่ปุ่น | legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี | legitimate | (ลิจิท'ทะเมท) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ถูกต้องสมควร, มีสิทธิตามกฎหมาย, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี, โดยการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย vt.ทำให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย, ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย, มอบอำนาจ., See also: legitimateness n. ดูlegitimate legitimation n. ดูlegimate, Syn. lawful, legal, licit | manner | (แมน'เนอะ) n. กิริยา, ลักษณะท่าทาง, มารยาท, วิธีการกระทำ., See also: manners ขนบธรรมเนียมประเพณี, กิริยาท่าทาง, ชนิด, จำพวก, ประเภท, ลักษณะ, แฟชั่น, สมบัติผู้ดี | propriety | (โพรไพร'อะที) n. ความเหมาะสม, ความถูกต้อง, ความสมควร, สิทธิ, กรรมสิทธิ์., See also: proprieties n., pl. มารยาทหรือขนบธรรมเนียมประเพณี, Syn. decorum, decency | usage | (ยู'ซิจฺ, ยู'ซิจฺ) n. การใช้, ประโยชน์, ความเคยชิน, ประเพณี, ขนบธรรมเนียม | westernise | (เวส'เทอไนซ) vt. ทำให้มีลักษณะความคิดเห็น ขนบธรรมเนียมประเพณีและอื่น ๆ ของประเทศด้านตะวันตก, See also: westernisation n. westernization n. | westernize | (เวส'เทอไนซ) vt. ทำให้มีลักษณะความคิดเห็น ขนบธรรมเนียมประเพณีและอื่น ๆ ของประเทศด้านตะวันตก, See also: westernisation n. westernization n. |
| custom | (n) จารีตประเพณี, ประเพณี, ขนบธรรมเนียม, การอุดหนุน, กิจวัตร, ภาษี | institutional | (adj) เกี่ยวกับสถาบัน, เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม, เกี่ยวกับหลักฐาน |
| geosocial | (n) ภูมิสังคม หมายถึง ความแตกต่างของแต่ละพื้นที่ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ชีวภาพ วีถีชีวิต ประเพณี ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม |
| 伝統 | [でんとう, dentou] (n) ประเพณี ขนบธรรมเนียม | 習慣 | [しゅうかん, shuukan] (n) ขนบธรรมเนียม, ประเพณี |
| anziehen | (vt) |zog an, hat angezogen| ดึงดูด เช่น Die Traditionen und die Kunstszene dieser Stadt ziehen immer mehr Gäste an. ขนบธรรมเนียมและศิลปะของเมืองนี้ดึงดูดแขกนักท่องเที่ยวมากขึ้นเรื่อยๆ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |