autocad | (ออโตแคด) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการออกแบบที่โด่งดังมากที่สุดในยุคนี้ ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมากว่าสิบปีแล้ว สามารถสร้างแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติได้ สร้างแบบจำลอง (model) ได้โดยทำให้เหมือนจริง หมุนดูทิศทางต่าง ๆ ได้ นิยมใช้ในการออกแบบโครงสร้างอาคาร รถยนต์ เรือ เครื่องบิน ฯ เมื่อจะแสดงผลในกระดาษ ต้องใช้กับเครื่องวาด (plotter) ดู CAD ประกอบ |
aviation | (เอวิเอ' เชิน) n. วิธีการบิน, วิชาการบิน, การออกแบบ พัฒนาและสร้างเครื่องบิน (flying) |
cad | 1. abbr. coronary artery disease 2. (แคด) ย่อมาจาก computer aided design แปลตรง ๆ ได้ว่า การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ดู CAM ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM |
cae | (ซีเออี) ย่อมาจาก computer-aided engineering (งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
closed architecture | สถาปัตยกรรมปิดหมายถึง การออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ใช้ได้เฉพาะกับอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนที่ผลิตจากบริษัทเดียวกันเท่านั้น (เรียกว่า ปิดประตูตาย ไม่ให้ผู้อื่นมาร่วมทำมาหากิน) |
computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ |
computer aided engineerin | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
contrivance | (คันไทร'เวินซฺ) n. สิ่งประดิษฐ์, โครงการ, อุบาย, เพทุบาย, การประดิษฐ์, การออกอุบาย, การออกแบบ, Syn. mechanism |
designing | (ดีไซ'นิง) adj. เจ้าเล่ห์, มีแผน n. ศิลปะในการออกแบบ, See also: designingly adv. |
devisal | (ดิไว'เซิล) n. การประดิษฐ์, การออกแบบวางแผน |
eisa | (อีซา) ย่อมาจาก extended industry standard architecture (แปลว่า การออกแบบมาตรฐานแบบขยาย) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (industry standard archi- tecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์ PS/2 จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ |
extended industry standar | extended industry standard architecture การออกแบบมาตรฐานแบบขยายใช้ตัวย่อว่า EISA (อ่านว่า อีซา) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (Industry Standard Architecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์พีเอสทู (PS/2) จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ |
graphic layout | การออกแบบงานพิมพ์หมายถึง การออกแบบหน้าหนังสือหรือเอกสารที่ประกอบด้วยข้อความ (text) และภาพประกอบ (graphics) ให้แลดูสวยงาม ตามสมัยนิยม |
layout | (เล'เอาทฺ) n. โครงงาน, แผนงาน, การแผ่ออก, การออกแบบ, สถานที่, สถานการณ์, สภาพ, ชุดเครื่องมือหรืออุปกรณ์, Syn. laying out, plan |
open architecture | สถาปัตยกรรมเปิดหมายถึง แนวคิดที่จะทำให้การออกแบบและการสร้างคอมพิวเตอร์เป็นความรู้ที่เป็นสาธารณะโดย ยินยอมให้บริษัทต่าง ๆ นำไปผลิตขายได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การพัฒนาการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นไปเรื่อย ๆ |
page layout | การกำหนดหน้าหมายถึง การออกแบบหน้ากระดาษ โดยกำหนดจัดเรียงข้อความและภาพประกอบในแต่ละหน้าให้แลดูสวยงาม เริ่มตั้งแต่กำหนดขอบหน้ากระดาษ (margin) จำนวนบรรทัด การแบ่งคอลัมน์ ฯ วิธีการดังกล่าวอาจใช้โปรแกรมประเภทงานพิมพ์ตั้งโต๊ะช่วยก็ได้ เป็นต้นว่า PageMaker, Ventura Publisher, QuarkXpress เพราะมีคำสั่งเฉพาะในเรื่องการจัดหน้าแบบต่าง ๆ การโปรยอักษรรอบภาพ รวมทั้งการดึงเอาภาพ กราฟ ตารางจัดการ ฯ จากโปรแกรมอื่นมาแทรกใส่ให้สะดุดตา การลด/ขยายขนาดของภาพให้เหมาะกับเนื้อที่ได้ ดู desktop publishing ประกอบ |
pal | (แพล) n. เพื่อน, เกลอ, พีเอแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก programmable array logic (แปลว่า แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมความจุสูงมาก (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
pla | (พีแอลเอ) ย่อมาจาก programmable logic array (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมขนาดใหญ่ (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
programmable logic array | แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้ใช้ตัวย่อว่า PLA (อ่านว่า พีเอแอล) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมขนาดใหญ่ (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
projection | (พระเจค'เชิน) n. การวางโครงการ, การวางแผน, การออกแบบ, การยิง, การโผล่ออกมา, การนูนออกมา, การปล่อยออกมา, การส่อง, การฉาย, ภาพทอดเงา, ภาพฉาย, การคำนวณทุน, การคำนวณอัตราการก้าวหน้า, การคาดคะเน, การประเมิน, แผนการ, โครงการ., Syn. overhang, predicito |
relational database | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย |
rpg | อาร์พีจี <คำอ่าน>ย่อมาจาก report program generator เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เหมาะกับงานด้านธุรกิจ คล้ายกับภาษาโคบอล (COBOL) โดยเฉพาะการออกแบบรายงานต่าง ๆ |
typeface | แบบอักษรหมายถึง การออกแบบตัวอักขระในรูปลักษณ์ต่าง ๆ กัน ในบางที่ใช้แทนคำ font ได้เลยดู font ประกอบ |
upward compatible | เข้ากันได้กับรุ่นหน้าหมายถึง การออกแบบที่มุ่งให้ปรับขยายให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต เช่น การออกแบบเอกสารหรือแฟ้มงานใดที่สามารถใช้ได้กับเครื่องรุ่นใหม่ที่จะออกมาสู่ตลาดในอนาคตการออกแบบโปรแกรมที่ทำให้สามารถเรียกแฟ้มข้อมูลที่สร้างไว้ด้วยโปรแกรมรุ่นก่อนออกมาใช้ได้ เรียกว่า downward compatible หรือเข้ากันได้กับรุ่นก่อน เช่น โปรแกรม PageMaker 5.0 จะต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญอันนี้ นั่นคือ สามารถเรียกแฟ้มข้อมูลของ PageMaker รุ่นก่อนหน้านั้น มาแสดงบนจอภาพหรือนำมาแก้ไขได้ |
workstation | สถานีงานเป็นคำที่ใช้อธิบายสมรรถนะอันยิ่งใหญ่ของไมโครคอมพิวเตอร์ ที่สามารถทำงานพร้อมกันได้หลายงาน (multitasking) ส่วนมากจะใช้ในเรื่องของการออกแบบ (CAD) นั่นก็หมายถึงว่า สถานีงานนี้จะต้องมีหน่วยความจำขนาดใหญ่ มีหน่วยเก็บข้อมูลขนาดพิเศษ มีตัวปรับภาพชั้นยอด มีจอภาพชั้นหนึ่ง และที่สำคัญคือมีตัวประมวลผลที่ทำงานได้เร็วมาก ๆ เช่น RISC ส่วนใหญ่ สถานีงานจะใช้ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) และ โอเอส/ทู (OS/2) มีบางแห่งที่ใช้เครื่องแมคอินทอชชนิดที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ๆ อย่างไรก็ตาม ในอีกความหมายหนึ่ง สถานีงานอาจหมายถึงเพียงไมโครคอมพิวเตอร์แต่ละตัวในระบบเครือข่าย |