มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| กล้ามเนื้อ | (n) muscle, Syn. กล้าม, Example: นักวิ่งมาราธอนวิ่งมากเกินไปจนกล้ามเนื้อที่ต้นขาฉีก, Count Unit: มัด, Thai Definition: มัดเนื้อที่รวมกันเป็นก้อนๆ ในกายคนและสัตว์ | กล้ามเนื้อตา | (n) eye muscle, See also: ocular muscle, Example: ถ้าหากต้องมองสีต่างๆ สลับกันไปมาตลอด จะทำให้กล้ามเนื้อตาต้องคอยปรับอยู่ตลอดเวลา | กล้ามเนื้อหัวใจ | (n) cardiac muscle, Example: กล้ามเนื้อหัวใจเป็นกล้ามเนื้อที่มีลายแต่ทำงานภายนอกอำนาจจิต, Count Unit: มัด |
| เอ็นกล้ามเนื้อ | น. เอ็นชนิดที่ปลายใดปลายหนึ่งยึดกับกล้ามเนื้อ. | กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. | กระตุก | อาการที่กล้ามเนื้อหดและยืดตัวขึ้นทันที เช่น เส้นกระตุก ขากระตุก. | กระหมิบ | อาการที่กล้ามเนื้อขอบปากทวารรัดตัวเข้ามา. (แผลงมาจาก ขมิบ). | กระเหม่น | (-เหฺม่น) ก. เขม่น คือ อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้ เช่น กระเหม่นตา | กระแหม่ว | (-แหฺม่ว) ก. ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง. | กล้าม | (กฺล้าม) น. มัดเนื้อที่รวมกันเป็นก้อน ๆ ในกายคนและสัตว์ เรียกว่า กล้ามเนื้อ | กะบังลม | น. แผ่นกั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ และแผ่นพังผืด กั้นระหว่างช่องอกกับช่องท้อง ยืดและหดช่วยการหายใจ, คนทั่วไปเรียกบริเวณระหว่างหัวหน่าวกับสะดือ ว่า กะบังลม ด้วย. | กิริยาสะท้อน | น. การเคลื่อนไหวอย่างฉับพลันของกล้ามเนื้อที่ไม่อยู่ในอำนาจสั่งงานของสมอง เพื่อตอบสนองสิ่งกระตุ้น เป็นการหลีกเลี่ยงอันตรายหรือสิ่งรบกวน เช่นหดมือเมื่อถูกของร้อน. | กึ๋น | น. กระเพาะที่ ๒ ของสัตว์ประเภทสัตว์ปีก มีหน้าที่ย่อยอาหารต่อจากกระเพาะที่ ๑ ประกอบด้วยผนังที่มีกล้ามเนื้อหนาและเหนียวสำหรับบดอาหาร โดยมีหินก้อนเล็ก ๆ ที่กลืนเข้าไปเป็นเครื่องช่วย | เกร็ง | (เกฺร็ง) ก. ทำกล้ามเนื้อให้แข็ง เช่น เกร็งข้อ เกร็งแขน. | เกร็ง | (เกฺร็ง) ว. อาการที่กล้ามเนื้อเป็นต้นแข็งอย่างงอไม่ได้ เช่น มือเกร็ง เท้าเกร็ง. | เกลียวข้าง | น. กล้ามเนื้อที่สีข้าง. | เกลียวคอ | น. กล้ามเนื้อที่คอ สำหรับทำให้เอี้ยวคอได้สะดวก. | ขมิบ | อาการที่กล้ามเนื้อขอบปากทวารรัดตัวเข้ามา. | เขม่น | (ขะเหฺม่น) ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้, กระเหม่น ก็ว่า | แขม่ว | (ขะแหฺม่ว) ก. ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง, กระแหม่ว ก็ว่า. | ไข้หวัดใหญ่ | น. โรคติดต่อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมีไข้สูงมาก มีอาการหนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อและอ่อนเพลีย. | เคล็ด ๒ | (เคฺล็ด) ก. อาการที่กล้ามเนื้อแพลง เช่น ขาเคล็ด คอเคล็ด. | จับเส้น | ก. บีบนวดเพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัว | ฉีดยา | ก. เอายาฉีดเข้าไปในร่างกายทางใต้ผิวหนัง ทางกล้ามเนื้อ หรือทางเส้นเลือด. | ชัก ๒ | ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกอย่างกะทันหันและรุนแรง มักมีอาการมือเท้าเกร็ง. | ตะคริว, ตะคิว | น. อาการหดตัวของกล้ามเนื้อและค้างอยู่ ทำให้เกิดการเจ็บปวด. | ตะโพก | น. ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, สะโพก ก็ว่า. | ตาเดียว | น. ชื่อปลาในอันดับ Pleuronectiformes มีหลายชนิด หลายสกุล พบทั้งในทะเล นํ้ากร่อย และนํ้าจืด เมื่อเกิดใหม่ตาจะอยู่คนละข้างกันเหมือนลูกปลาทั่วไป แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นกะโหลกจะบิดไปข้างใดข้างหนึ่ง เป็นผลให้กล้ามเนื้อข้างหนึ่งบิดตามไปด้วย จึงทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างเหนี่ยวกันมาหรือเคลื่อนมาอยู่ด้านเดียวกัน มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ลิ้นหมา ลิ้นสุนัข ยอดม่วง ลิ้นควาย ลิ้นเสือ ลิ้นหมาหงอนยาว ใบไม้ ใบขนุน ซีกเดียว จักรผาน. | น่อง ๑ | น. กล้ามเนื้อที่อยู่ด้านหลังหน้าแข้ง. | เนื้อเยื่อ | น. กลุ่มของเซลล์ที่มักมีลักษณะเหมือนกัน ทำหน้าที่ร่วมกัน มีหลายชนิด เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เป็นเนื้อเยื่อส่วนที่ช่วยให้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายเคลื่อนไหวได้ เนื้อเยื่อบุผิว เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่บุผิวนอก บุผิวใน บุโพรง บุท่อ บุต่อมของอวัยวะ. | ปลี | (ปฺลี) น. ช่อดอกของกล้วยที่ยังมีกาบหุ้มอยู่ เรียกว่า หัวปลี, กล้ามเนื้อที่มีรูปลักษณะอย่างหัวปลี เช่น ปลีน่อง | ปอดเหล็ก | น. เครื่องกลไกสร้างด้วยโลหะ ใช้ทำให้เกิดการบีบและขยายของทรวงอกในการหายใจแทนการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติในเมื่อมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ เช่นในโรคโปลิโอ. | โปลิโอ | น. โรคกล้ามเนื้อลีบและอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต เพราะประสาทไขสันหลังอักเสบเนื่องจากเชื้อไวรัสประเภทหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า โปลิโอไวรัส, โรคไขสันหลังอักเสบ ก็เรียก. | พฤติกรรม | น. การกระทำหรืออาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึก เพื่อตอบสนองสิ่งเร้า. | พังผืด | น. เยื่อเหนียวที่ยึดกล้ามเนื้อให้ติดกัน, พั้งผืด ก็ว่า. | เพาะกาย | ก. บริหารร่างกายเพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรงโดยวิธียกน้ำหนักเป็นต้น. | เมื่อย | ก. อาการเพลียของกล้ามเนื้อเมื่อทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ำ ๆ อยู่เป็นเวลานาน เช่น เดินอยู่นานจนเมื่อย เมื่อยมือเพราะเขียนหนังสือนาน. | ลูกสะบ้า | น. กระดูกมีลักษณะกลม ๆ แบน ๆ คล้ายลูกสะบ้า มีเอ็นยึดระหว่างกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับกระดูกหน้าแข้ง ประกอบเป็นส่วนนูนสุดของกระดูกหัวเข่า, สะบ้าหัวเข่า ก็ว่า. | ลูกหนู ๒ | น. ส่วนที่นูนขึ้นบนกล้ามเนื้อเวลาเอามือดึงหรือฟันที่แขน, ต่อมนํ้าเหลืองที่โตขึ้นและคลำได้เป็นก้อนบริเวณใต้หูใต้ขากรรไกรล่างและใต้คาง. | เล่นกล้าม | ก. บริหารร่างกายเพื่อเพาะกล้ามเนื้อให้ใหญ่แข็งแรง. | สลักเพชร | กล้ามเนื้อที่เกาะอยู่ระหว่างขอบกระดูกเชิงกรานตรงตะโพกกับหัวกระดูกต้นขาทำให้ขากางออกได้. | สะบ้าหัวเข่า | น. กระดูกมีลักษณะกลม ๆ แบน ๆ คล้ายลูกสะบ้า มีเอ็นยึดระหว่างกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับกระดูกหน้าแข้ง ประกอบเป็นส่วนนูนสุดของกระดูกหัวเข่า, ลูกสะบ้า ก็ว่า. | สะโพก | น. ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, ตะโพก ก็ว่า. | สีกรุด | น. ชื่อปลาทะเลทุกชนิดในสกุล Pomadasysวงศ์ Haemulidae หรือ Pomadasyidae โดยเฉพาะชนิด P. maculatus (Bloch) ลำตัวป้อม แบนข้าง เกล็ดเป็นแบบเกล็ดหนาม บริเวณใต้คางมีรู ๒ รู ลำตัวสีเงิน ใกล้แนวสันหลังมีสีน้ำตาลอ่อนและมีแต้มสีน้ำตาลเข้มกระจายอยู่ตอนบนของลำตัว ปลาในสกุลนี้ทั้งขณะอยู่ในน้ำและเมื่อขึ้นพ้นน้ำจะทำเสียงได้จากการขบฟันที่บริเวณคอรวมทั้งการหดและขยายตัวของถุงลมและกล้ามเนื้อ โดยถุงลมยังทำให้เสียงก้องขึ้นอีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, มโหรี กระต่ายขูด กะทิขูด หรือ หัวขวาน ก็เรียก. | เส้นแข็ง | น. อาการที่กล้ามเนื้อตึงจนแข็งทำให้เลือดลมเดินไม่สะดวก | เส้นจม | น. อาการที่เส้นเลือดถูกกล้ามเนื้อที่ตึงแข็งกดให้อยู่ลึกลงไปกว่าปรกติ. | เส้นตึง | น. อาการที่กล้ามเนื้อตึงเกิดจากเลือดลมเดินไม่สะดวกหรือออกกำลังกายไม่ถูกวิธีเป็นต้น. | หูรูด | ปากช่องทวารหนักที่กล้ามเนื้อรัดตัวเข้ามาคล้ายปากถุงที่รูด, โดยปริยายเรียกผู้ที่พูดพล่าม พูดพล่อย หรือพูดโดยไม่ยั้งคิดเสียก่อนว่าอะไรควรพูดหรือไม่ควรพูด ว่า ปากไม่มีหูรูด. | เอ็น | น. กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียวเห็นได้ชัด และไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย, ชาวบ้านเรียก เส้นเอ็น. |
| partial ophthalmoplegia | อัมพาตกล้ามเนื้อกลอกตาบางมัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paratonia | ภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวผิดปรกติ, ภาวะความตึงตัวผิดปรกติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | perimysium | เยื่อหุ้มกลุ่มใยกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pilomotor | ๑. -ทำให้ขนลุก๒. กล้ามเนื้อชันขน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pyomyositis | กล้ามเนื้ออักเสบเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | polymyositis | กล้ามเนื้ออักเสบหลายมัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pyloromyotomy | การตัดกล้ามเนื้อไพลอรัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | lateral pterygoid muscle | กล้ามเนื้อเทอริกอยด์มัดนอก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | levator | กล้ามเนื้อยก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | levator of upper eyelid muscle; musculus levator palpebrae superioris | กล้ามเนื้อลืมตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | respiratory spasm | ภาวะกล้ามเนื้อหายใจหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | relaxant | ๑. -ผ่อนคลาย, -หย่อน, -ลดความตึง๒. ยาคลายกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rigidity, muscle | สภาพกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | risorius muscle | กล้ามเนื้อแสยะยิ้ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | syndrome, floppy infant | กลุ่มอาการทารกกล้ามเนื้อปวกเปียก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | superior pharyngeal constrictor muscle | กล้ามเนื้อหดคอหอยมัดบน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | sarcous | -เนื้อ, -กล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarc(o)- | เนื้อ, กล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarc(o)- | เนื้อ, กล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stethospasm | กล้ามเนื้อทรวงอกหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sthenometer; dynamometer; ergometer | มาตรกำลังกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sthenometry | การวัดกำลังกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasticity | ภาวะหดเกร็ง (กล้ามเนื้อ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | skeletal muscle | กล้ามเนื้อโครงร่าง [ มีความหมายเหมือนกับ muscle, striated ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm, tonoclonic | อาการกระตุกรัว (กล้ามเนื้อ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm of accommodation | การหดเกร็งกล้ามเนื้อปรับตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm, facial | อาการกล้ามเนื้อใบหน้ากระตุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sesamoid | ๑. -รูปเมล็ดงา๒. กระดูกในเอ็นกล้ามเนื้อ [ มีความหมายเหมือนกับ bone, sesamoid ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sesamoid bone | กระดูกในเอ็นกล้ามเนื้อ [ มีความหมายเหมือนกับ sesamoid ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | subdeltoid | ใต้กล้ามเนื้อไหล่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sinew; tendon | เอ็นกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spastic | -หดเกร็ง (กล้ามเนื้อ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stapedius muscle | กล้ามเนื้อดึงกระดูกรูปโกลน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarcogenic; sarcopoietic | -สร้างเนื้อ, -สร้างกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarcolemma | เยื่อหุ้มเส้นใยกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sarcopoietic; sarcogenic | -สร้างเนื้อ, -สร้างกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | synclonus | อาการกล้ามเนื้อกระตุกสั่นด้วยกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | spasm, respiratory | ภาวะกล้ามเนื้อหายใจหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter | ๑. หูรูด๒. กล้ามเนื้อหูรูด [ มีความหมายเหมือนกับ muscle, sphincter ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter muscle | กล้ามเนื้อหูรูด [ มีความหมายเหมือนกับ sphincter ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter oculi; muscle, orbicularis oculi | กล้ามเนื้อหลับตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter oris; muscle, orbicularis oris | (กล้ามเนื้อ)หูรูดปาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sphincter vesicae | กล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sheath, tendon | ปลอกเอ็นกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, muscle; myaesthesia; myesthesia; sense, muscular | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense, muscular; myaesthesia; myesthesia; sense, muscle | การกำหนดรู้จากกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | strabismus, kinetic | ตาเหล่เหตุกล้ามเนื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | supinator muscle | กล้ามเนื้อดึงหงาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | smooth muscle; muscle, non-striated | กล้ามเนื้อเรียบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | striated muscle | กล้ามเนื้อลาย [ มีความหมายเหมือนกับ muscle, skeletal ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Muscle strength training | การฝึกกำลังกล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Cardiomyopathy, Hypertrophic | โรคกล้ามเนื้อหัวใจหนา [TU Subject Heading] | Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Fascia lata | เนื้อเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Injections, Intramuscular | การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscle contraction | กล้ามเนื้อหดตัว [TU Subject Heading] | Muscle relaxants, Central | ยาคลายกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscle spasticity | ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง [TU Subject Heading] | Muscle strength | กำลังกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscle, skeletal | กล้ามเนื้อโครงร่าง [TU Subject Heading] | Muscles | กล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Muscular fatigue | ความล้าของกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Musculoskeletal diseases | โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก [TU Subject Heading] | Musculoskeletal manipulations | การดัดดึงทางระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก [TU Subject Heading] | Musculoskeletal system | ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก [TU Subject Heading] | Myocardial infarction | กล้ามเนื้อหัวใจตาย [TU Subject Heading] | Myocardial ischemia | กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด [TU Subject Heading] | Myofascial pain syndromes | กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด [TU Subject Heading] | Myofibroma | เนื้องอกกล้ามเนื้อชนิดเซลล์เยื่อเหนียว [TU Subject Heading] | Myometrium | กล้ามเนื้อมดลูก [TU Subject Heading] | Neoplasms, Muscle tissue | เนื้องอกเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Neuromuscular blockade | การระงับความรู้สึกที่จุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Oculomotor muscles | กล้ามเนื้อโอคูโลมอเตอร์ [TU Subject Heading] | Pyomyositis | กล้ามเนื้ออักเสบเป็นหนอง [TU Subject Heading] | Respiratory muscles | กล้ามเนื้อหายใจ [TU Subject Heading] | Tendinitis | เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ [TU Subject Heading] | Abdominal Muscles | กล้ามเนื้อหน้าท้อง, กล้ามเนื้อท้อง [การแพทย์] | Abdominal Pressure | แรงจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง [การแพทย์] | Abductor Digital Quintl | กล้ามเนื้อกางนิ้วก้อย [การแพทย์] | Abductor Group | กล้ามเนื้อกลุ่มทางด้านนอก [การแพทย์] | Abductor Hallucis | กล้ามเนื้อกางหัวแม่เท้า [การแพทย์] | Abductor Pollicis Brevis | กล้ามเนื้อกางหัวแม่มือมัดสั้น [การแพทย์] | Abductor Pollicis Longus | กล้ามเนื้อกางหัวแม่มือมัดยาว [การแพทย์] | Abscess, Psoas | ฝีชั้นในกล้ามเนื้อ, ฝีข้างกระดูกสันหลัง, ฝีในกล้ามเนื้อป์โซแอส [การแพทย์] | Accessory Muscles | กล้ามเนื้อช่วยหายใจ [การแพทย์] | Accessory Muscles of Respiration | กล้ามเนื้อของระบบหายใจส่วนอื่นๆ, กล้ามเนื้อช่วยการหายใจอื่นๆ [การแพทย์] | Achilles Tendon | เอ็นร้อยหวาย, เอ็นอะคิลลิส, กลุ่มของกล้ามเนื้อเอ็นร้อยหวาย [การแพทย์] | Adductor Group | การเกร็งของกล้ามเนื้อขา [การแพทย์] | Adductor Hallucis | กล้ามเนื้อหุบหัวแม่เท้า [การแพทย์] | Adductor Longus | แอดดัคเตอร์ลองกัส, กล้ามเนื้อต้นขาด้านใน [การแพทย์] | Adductor Muscle | กล้ามเนื้อทำหน้าที่หุบเข้า [การแพทย์] | Adductor of Hip | กล้ามเนื้อหุบข้อตะโพก [การแพทย์] | Adductor Pollicis | หุบหัวแม่มือชิดกับนิ้วอื่นๆ, กล้ามเนื้อหุบหัวแม่มือ [การแพทย์] | Adductor Tubercle | ปุ่มที่เกาะของกล้ามเนื้อหุบขาบนกระดูกต้นขา [การแพทย์] | Adductor Tuberosity | ปุ่มที่เกาะของกล้ามเนื้อหุบขาบนกระดูกต้นขา [การแพทย์] | Adductors | ดึงเข้าหาแกนของร่างกาย, กล้ามเนื้อหุบแขน, อาการหุบเข้า [การแพทย์] | Adenomyosis | เยื่อบุมดลูกเจริญเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก, เนื้องอกแอดดิโนไมโอซิส [การแพทย์] |
| - Oh... - Brain, brawn and guile... | โอ้สมองกล้ามเนื้อและอุบาย How I Won the War (1967) | Of skin and guts and fortitude Of brain and brawn and guile | ของสมองและกล้ามเนื้อและ อุบาย How I Won the War (1967) | Are you trying to muscle me? Listen, you son-of-a-bitch! | คุณพยายามที่จะกล้ามเนื้อได้หรือไม่ ฟังคุณลูกชายของ-บ้า! The Godfather (1972) | I know you're not in the muscle end of the family, so don't be scared. | ฉันรู้ว่าคุณไม่ได้อยู่ในส่วนท้ายของกล้ามเนื้อของครอบครัวจึงไม่ต้องกลัว The Godfather (1972) | From there, the poison works on the central nervous system, causing severe muscle spasms, followed by the inevitable drooling. | จากตรงนั้น พิษจะทำลาย ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดอาการกล้ามเนื้อกระตุกรุนแรง ตามด้วยน้ำลายไหลยืดตลอด Airplane! (1980) | The Jew is using the black... as muscle against you. | คนยิว ใช้ คนผิวดำ ขณะที่กล้ามเนื้อต้านคุณ The Blues Brothers (1980) | It still has motor function, probably still has powers of deliberation. | กล้ามเนื้อยังเคลื่อนไหวได้ และอาจมีความคิดด้วย Day of the Dead (1985) | I was probing to determining muscle tone and skeletal girth. it's a new technique! | ผมกำลังวัดแนวกล้ามเนื้อ และโครงกระดูก มันเป็นเทคนิคใหม่ Spies Like Us (1985) | I'm going to whale on my pecks, and then I'm going to do my back. | ผมกำลังบริหารกล้ามท้อง แล้วเดี๋ยวจะเปลี่ยนเป็นกล้ามเนื้อหลัง American Beauty (1999) | Muscular data... | ข้อมูลกล้ามเนื้อ Street Fighter Alpha (1999) | You gotta practice, Clark. Your eyes have muscles just like your legs. | ลูกต้องฝึกฝน, คล้าก ดวงตาก็มีกล้ามเนื้อเหมือนขาของลูกนั่นแหละ X-Ray (2001) | - Some to be our muscles and sinews. | บางพวกเป็นกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น The Time Machine (2002) | FYI, my friend, a lot of this is muscle. | FYI เพื่อนของฉันจำนวนมากนี้เป็นกล้ามเนื้อ Showtime (2002) | He was the first in the family on the force. Big muscles. | เขาเป็นคนแรกในครอบครัวที่แรง กล้ามเนื้อใหญ่ Showtime (2002) | Still using all the muscles except the one that matters. | ยังคงใช้กล้ามเนื้อทุกส่วนยกเว้นสมองอีกรึ? The Matrix Reloaded (2003) | And I couldn't get over that that's all that tethers us to this planet, you know that... fragile little muscle and it's tiny you know, in the scheme of things... and when you think about all the things that can stop it... there's got to be something else, | ผมไม่เคยลืมภาพนั้นเลย นี่แหละโลกของเรา กล้ามเนื้อที่แสนบอบบางนั่น Latter Days (2003) | Your fisherman muscles. | นายมีกล้ามเนื้อที่สวยแบบนักประมง 50 First Dates (2004) | But once the water's gone, then you'll be all muscle. | แต่พอน้ำหายไปหมด ก็จะมีแต่กล้ามเนื้อ. Mean Girls (2004) | Your chest is so muscular. | ที่อกมีแต่กล้ามเนื้อนะ Everybody Has a Little Secret (2004) | First off, tighten your stomach muscles. | ก่อนอื่น เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง Imagine Me & You (2005) | No, the muscles, the diaphragm, I'm there, but-- | ไม่นะ ไอ้กล้ามเนื้อ กระบังลมอะไรเนี่ย ฉันเก็ตนะ แต่ว่า.. Imagine Me & You (2005) | I'm no more that face than I am the muscles beneath it or the bones beneath them. | มันก็ไม่ต่างอะไรจาก กล้ามเนื้อ... ...หรือกระดูกที่อยู่ภายใต้ใบหน้าอีกที V for Vendetta (2005) | --fixed in dramatic and athletic poses that reveal the true-to-life spatial relationships amongst organs. | - - ถูกจัดแต่งให้อยู่ในท่วงท่าที่เป็นศิลปะ และท่าทางที่เคลื่อนไหว เผยความสัมพันธ์ที่สมจริงและแม่นยำ ระหว่างกล้ามเนื้อต่างๆ Casino Royale (2006) | How could the Ab Scissor four-minute ab machine--? | -ไอ้เจ้าเครื่องออกกำลังกาย Ab Scissor ทำกล้ามเนื้อในสี่นาที-- The Lake House (2006) | Slipped disc, my ass. Get behind me. | กล้ามเนื้อที่หลังนั่น ช่างหัวมันสิ Gridiron Gang (2006) | Sid, don't move a muscle. We're coming up. | ซิด อย่าขยับกล้ามเนื้อ เรากำลังมาแล้ว Ice Age: The Meltdown (2006) | You move so much as a muscle, and I get to call you Jack for the rest of the night. | เธอขยับกล้ามเนื้อเธอได้นะ และฉันจะเรียกเธอว่าแจ็ค สำหรับคืนนี้ที่เหลือ Peaceful Warrior (2006) | This exercise is good for the back muscles. | การออกกำลังมันเป็นผลดีกับกล้ามเนื้อหลัง My Wife Is a Gangster 3 (2006) | Mum says playing too difficult things can damage your muscles. | แม่บอกเล่นเพลงยากเกินไป จะทำลายกล้ามเนื้อเรา The Page Turner (2006) | Relax my muscles. | ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ Saw III (2006) | That goes for muscles too. | ใช้ได้กับกล้ามเนื้อด้วย Fly, Daddy, Fly (2006) | Off somewhere on Saturdays, even on Sundays, and losing weight and building muscles and coming home with black eyes. | ออกไปข้างนอกทุกวันเสาร์ แม้แต่วันอาทิตย์ น้ำหนักลดลง กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น กลับบ้านพร้อมกับตาช้ำ Fly, Daddy, Fly (2006) | I know that embarrassment makes a stutter worse, and that when you're flustered, it's more difficult to control the articulatory musculature of the face. | ฉันรู้ว่าความอับอายขายหน้า/Nทำให้การพูดติดอ่างแย่ยิ่งขึ้น และยิ่งเมื่อคุณโมโห/Nมันยิ่งยาก ที่จะควบคุมกล้ามเนื้อ/Nที่ใช้ในการออกเสียงบนใบหน้า Compulsion (2005) | The only thing holding his head on to his body is skin and muscle. | ศรีษะของเขามีแค่ผิวหนังและกล้ามเนื้อเท่านั้นที่ช่วยยึดติดไว้กับตัวได้ A Change Is Gonna Come (2007) | He could have cardiomyopathy from meth use. | เขาเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจ มาจากการใช้ยา Love/Addiction (2007) | - Functional muscle transfer. | - ทำการปลูกถ่ายกล้ามเนื้อ Let the Truth Sting (2007) | What's a functional muscle transfer? | อะไรคือการปลูกถ่ายกล้ามเนื้อ Let the Truth Sting (2007) | I did do a functional muscle transfer to restore elbow function once. | ฉันเพิ่งผ่าถ่ายโอนกล้ามเนื้อฟื้นฟูการทำงานของข้อศอก Let the Truth Sting (2007) | A functional muscle transfer of the tongue? | การถ่ายโอนกล้ามเนื้อมาที่ลิ้น? Let the Truth Sting (2007) | His heart's racing. And his temp's rising. Muscles are rigid. | และแทมป์ำเขากำลังเพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อกำลังเกร็ง Kung Fu Fighting (2007) | Every bone... and every muscle in my body... aches. | กระดูกทุก... และกล้ามเนื้อทุกมัดในตัวฉัน มันล้า Kung Fu Fighting (2007) | No, I mean, did she pack on any pounds while she was gone, cause last time I saw her, she was tight. | ไม่ใช่ หมายถึง เธออ้วนขึ้นบ้างหรือเปล่า เพราะครั้งสุดท้ายที่เจอ เธอกล้ามเนื้อฟิตปั๋ง It's Alive! (2007) | Heavily muscled. | มีกล้ามเนื้อมาก The British Invasion (2007) | normally, wouldn'tbe this close to you without a tetanus shot. | ก็ปกติ จะไม่ใกล้อย่างนี้ กับคุณนอกซะจากกล้ามเนื้อจะหดลง Bad News Blair (2007) | She's a muscle mimic. | เธอล้อเลียนกล้ามเนื้อ Chapter Five 'Fight or Flight' (2007) | Others have different gifts, But you're the first we've met With adoptive muscle memory. | คนอื่นมีพรสวรรค์ต่างออกไป แต่คุณเป็นคนแรก ที่เราพบว่ากล้ามเนื้อนำเอาความทรงจำไปใช้ได้ Chapter Six 'The Line' (2007) | Hey, what's with these muscles? How you staying so fit? | เฮ้ กล้ามเนื้อพวกนี้อะไรกัน ทำยังไงถึงได้ยังหุ่นดีแบบนี้ Out of the Past (2007) | Fine. I'll do liver enzyme tests. | จากแผลช้ำที่เกิดระหว่าง กระดูกและกล้ามเนื้อ Alone (2007) | I could try, but I pulled a muscle in 1987 | ฉันก็อยากหรอกนะ แต่ว่าฉันทำกล้ามเนื้อฉันตายไปเมื่อปี1987หน่ะ The Right Stuff (2007) | Suffers from severe ascending muscle weakness. | ทนทุกข์จากโรคกล้ามเนื้ออ่อนแอ ที่กำลังแย่ลง 97 Seconds (2007) |
| ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ | [chītyā khao klāmneūa] (v, exp) EN: intramuscular injection FR: faire une injection intramusculaire | ครีมบรรเทาอาการปอดกล้ามเนื้อ | [khrīm banthāo ākān pøt klāmneūa] (n, exp) EN: analgesic cream FR: pommade analgésique [ f ] | กล้ามเนื้อ | [klāmneūa] (n) EN: muscle FR: muscle [ m ] ; biceps [ m ] ; tissu musculaire [ m ] | กล้ามเนื้อหัวใจ | [klāmneūa hūajai] (n, exp) EN: cardiac muscle | กล้ามเนื้อกะบังลม | [klāmneūa kabang-lom] (n, exp) EN: diaphragm FR: diaphragme [ m ] | กล้ามเนื้อลาย | [klāmneūa lāi] (n, exp) EN: reticular muscle | กล้ามเนื้อเรียบ | [klāmneūa rīep] (n, exp) EN: smooth muscle | กล้ามเนื้อตา | [klāmneūa tā] (n, exp) EN: ciliary muscle FR: muscle ciliaire [ m ] | กล้ามเนื้อท้อง | [klāmneūa thøng] (n, exp) EN: abdominal muscles FR: abdominaux [ mpl ] | ภายในกล้ามเนื้อ | [phāinai klāmneūa] (adj) EN: intramuscular FR: intramusculaire | ระบบกล้ามเนื้อ | [rabop klāmneūa] (n, exp) EN: muscular system FR: système musculaire [ m ] | ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก | [rabop klāmneūa lae kradūk] (n, exp) EN: musculoskeletal system | เซลล์กล้ามเนื้อ | [sel klāmneūa] (n, exp) EN: muscle cell FR: cellule musculaire [ f ] |
| myositis | (n) อาการกล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรัง | diaphram | [ได'อะแฟรม] (n) กะบังลม, แผ่นของกล้ามเนื้อที่กั้นระหว่างช่องท้องกับทรวงอก | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| actin | (n) โปรตีนในกล้ามเนื้อ | adductor | (n) กล้ามเนื้อที่ดึงเข้าสู่แกนร่างกาย | beef | (n) กำลังกล้ามเนื้อ, See also: อำนาจ, พละกำลัง | biceps | (n) กล้ามเนื้อด้านหน้าของแขนส่วนบน | blubber | (n) ชั้นไขมันที่อยู่ระหว่างชั้นกล้ามเนื้อและหนังของปลาวาฬ | bodybuilding | (n) การสร้างกล้ามเนื้อให้ใหญ่และแข็งแรงด้วยการออกกำลัง | brawn | (n) กล้ามเนื้อ, See also: กำลังกล้ามเนื้อ, Syn. muscle | brawny | (adj) ซึ่งมีกล้ามเนื้อแข็งแรง | contracture | (n) การหดตัวของกล้ามเนื้อ | crick | (n) อาการเจ็บจากกล้ามเนื้อตึง, Syn. spasm, cramp, kink | erector | (n) กล้ามเนื้อที่ยกส่วนต่างๆ ของร่างกาย | fibrillate | (vi) สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) | fibrillate | (vi) ทำให้สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) | fibrillation | (n) การสั่นระริกของกล้ามเนื้อ | fibroid | (n) เนื้องอกซึ่งประกอบด้วยเส้นใยและกล้ามเนื้อเรียบ | flex | (vt) เกร็ง (กล้ามเนื้อ) | glycogen | (n) สารไกลโคเจนซึ่งเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ | grand mal | (n) โรคลมบ้าหมูที่มีการหมดสติ กล้ามเนื้อเกร็ง น้ำลายฟูมปาก | intercostal | (n) กล้ามเนื้อที่อยู่ระหว่างซี่โครง | kink | (n) อาการปวดกล้ามเนื้อ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. mascular spasm | labor | (n) กระบวนการในการคลอดบุตร (โดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงการหดตัวของกล้ามเนื้อ), Syn. parturition | labour | (n) กระบวนการในการคลอดบุตร (โดยเฉพาะการหดตัวของกล้ามเนื้อ), Syn. parturition | motor | (adj) เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ | muscle | (n) กล้ามเนื้อ, See also: กล้าม, Syn. fiber, flesh, meat | muscle | (n) กำลังของกล้ามเนื้อ, See also: กำลังวังชา, ความแข็งแรง, Syn. brawn | muscle-bound | (adj) ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อยืดขยาย, Syn. athletic | muscly | (adj) ซึ่งมีกล้ามเนื้อใหญ่และแข็งแรงมาก | muscular | (adj) เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ | muscular dystrophy | (n) โรคกล้ามเนื้อเสื่อม | muscularity | (n) การมีกล้ามเนื้อ | muscularly | (adv) เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ | musculature | (n) ระบบกล้ามเนื้อ, Syn. grip | musculoskeletal | (adj) เกี่ยวกับส่วนที่ติดกันของกระดูกและกล้ามเนื้อ | myalgia | (n) อาการปวดกล้ามเนื้อ | myalgic | (adj) ซึ่งมีอาการปวดกล้ามเนื้อ | myopathy | (n) ความผิดปกติของเซลล์กล้ามเนื้อ | myoscope | (n) เครื่องมือตรวจการหดตัวของกล้ามเนื้อ | orthopaedic | (adj) เกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ, Syn. orthopaedics | orthopaedics | (n) การรักษากระดูกและกล้ามเนื้อ, Syn. orthopaedic | orthopedic | (adj) เกี่ยวกับการรักษากระดูกและกล้ามเนื้อ | osteopathic | (adj) เกี่ยวกับการรักษาโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ | pectoralis | (n) กล้ามเนื้ออก, Syn. pectoral muscle | pull in | (phrv) เก็บเข้า (กล้ามเนื้อ), See also: หดกล้าม, Syn. hold in, keep in | rheumatic | (adj) เกี่ยวกับโรคปวดตามข้อและกล้ามเนื้อ, See also: เกี่ยวกับโรคไขข้ออักเสบ, Syn. arthritic, gouty | sartorius | (n) กล้ามเนื้อแคบและยาวที่ทอดเฉียงทางด้านหน้าของสะโพก | scalenus | (n) กล้ามเนื้อบริเวณก้านคอ | spasm | (n) การชักกระตุกของกล้ามเนื้อ, See also: การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ, อาการกล้ามเนื้อ, Syn. contraction, convulsion, seizure | suspensory | (n) เส้นเอ็นพยุง, See also: เส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อที่พยุงร่างกายอยู่, Syn. ligament, muscle | taut | (adj) เกร็ง (เช่น กล้ามเนื้อเกร็ง), Syn. tense | tendon | (n) เส้นเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อและกระดูก, See also: เอ็น, เส้นเอ็น, Syn. cord, ligament |
| abasia | (อะเบ' เชีย) การที่ไม่สามารถจะเดินได้เพราะขาดการประสานกันของกล้ามเนื้อ | abducent nerve | ควบคุมการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อภายนอกลูกตา | abductor | กล้ามเนื้อที่ดึงออกห่างจากแกนกลาง | achilles tendon anat. | เส้นเอ็นที่เชื่อมระหว่างกล้ามเนื้อน่องกับกระดูกส้นเท้า | actin | (แอค' ทิน) globulin ที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ | actomyosin | (แอคโทไม' โอซิน) n., Biochem. โปรตีนเชิงซ้อนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของกล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อกระดูก มันทำปฏิกริยากับ ATP ทำให้กล้ามเนื้อบีบตัวได้ (a complex protein) | adductor | (อะดัค' เทอะ) n. กล้ามเนื้อที่ดึงAdelaide (แอด' ดิเลด) ชื่อเมืองในออสเตรเลีย | amyosthenia | กล้ามเนื้อขาดกำลัง | amyotrophy | กล้ามเนื้อฝ่อลีบ | antagonist | (แอนแทก' โกนิสทฺ) n. ผู้ต่อต้าน, ผู้เป็นปรปักษ์, ศัตรู, กล้ามเนื้อที่ต้านกล้ามเนื้ออื่น, ยาต้านฤทธิ์, Syn. opponent, adversary | aponeurosis | (แอพพะนิวโร'ซิส) n. (Pl. -ses) แผ่นกล้ามเนื้อยืดต่อที่ยึดกล้ามเนื้อกับกระดูกหรือเนื้อเยื่ออื่น. -aponeurotic adj. | ataxia | (อะแทค'เซีย, -ซี) n. ภาวะกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน (โดยเฉพาะกล้ามเนื้อแขนขา) . -ataxic adj. เดินโซเซ | atony | (แอท'โทนี) n. การไร้ความตึงตัว, การไร้พลังงาน, ความอ่อนเพลียของกล้ามเนื้อ, การไม่เน้น | atp | abbr. adenosine triphosphate เป็นแหล่งของพลังงานของร่างกาย (โดยเฉพาะการบีบตัวของกล้ามเนื้อ) | beef | (บีฟ) { beefed, beefing, beefs } n. เนื้อวัว, เนื้อควาย, วัวสำหรับฆ่าเป็นอาหาร, กำลังกล้ามเนื้อ, อำนาจ, พละกำลัง, น้ำหนัก, การบ่น vi. บ่น, See also: beef up ทำให้แข็งแรง, เพิ่มกำลัง, เพิ่มจำนวน | biceps | (ไบ'เซพซฺ) n. กล้ามเนื้อลูกหนูที่โคนแขน | blepharospasm | กล้ามเนื้อรอบเบ้าตากระตุก | blubber | (บลับ'เบอะ) n. เปลวไขมันระหว่างผิวหนังและกล้ามเนื้อของปลาวาฬ, การร้องไห้สะอึกสะอื้น vi. ร้องไห้สะอึกสะอื้น adj. บวม, โป่งออก, เป็นมัน, See also: blubberer n., Syn. weep | brawn | (บรอน) n. กล้ามเนื้อ, กำลังกล้ามเนื้อ, นื้อสุกร, เนื้อหมูป่าเค็ม | brawny | (บรอ'นี) adj. แข็งแรง, กล้ามเนื้อเป็นมัด, See also: brawniness n. ดูbrawny | catalepsy | (แคท'ทะเลพซี) n. ภาวะการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อในร่างกายบางส่วน/ทำให้ร่างอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งชั่วขณะ, See also: cataleptic adj. ดูcatalepsy | cataplexy | n. ช็อคที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหัน ซึ่งกล้ามเนื้อไร้กำลังและคนไข้ล้มลง | chalasia | n. การยับยั้งหรือผ่อนคลายการหดตัวของกล้ามเนื้อ | chalasis | n. การยับยั้งหรือผ่อนคลายการหดตัวของกล้ามเนื้อ | ciliary muscle | กล้ามเนื้อปรับเลนส์ตา | clonic | adj. เกี่ยวกับการกระตุกสั่นของกล้ามเนื้อ, See also: clonism n. clonicity n. | clonus | n. การกระตุกสันของกล้ามเนื้อ | compressor | (คัมเพรส'เซอะ) n. ผู้อัด, สิ่งอัด, กล้ามเนื้อที่กดส่วนหนึ่งของร่างกาย, เครื่องยนต์ที่มีลูกสูบหรือเครื่องปั๊ม | constrictor | n. งูที่สามารถรัดเหยื่อให้ตาย, กล้ามเนื้อที่บีบตัว, ผู้บีบ, สิ่งหรือเครื่องบีบ | contractor | (คอน'แทรคเทอะ) n. ผู้ทำสัญญา, สิ่งที่หดตัว, กล้ามเนื้อที่หดตัว | contracture | n. การหดตัวของกล้ามเนื้อเนื่องจากอาการเกร็งตัว แผลเป็นหรืออัมพาต | convulse | (คันวัลสฺ') { convulsed, convulsing, convulses } vt. สั่นสะเทือนอย่างรุนแรง, ทำให้สั่นสะเทือนอย่างรุนแรงด้วยการหัวเราะ (ความโกรธ ความเจ็บปวด หรืออื่น ๆ) , ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวอย่างรุนแรง, ทำให้ชัก | convulsion | (คันวัล'เชิน) n.อาการชักกระตุก, การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, การสั่นอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง, Syn. fit, spasm, tremor | convulsive | (คันวัล'ซิฟว) adj. เกี่ยวกับมีลักษณะอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, เกี่ยวกับอาการชักกระตุก., See also: convulsiveness n. ดูconvulsive, Syn. fifful, jerky | crick | (คริค) n. อาการกล้ามเนื้อเกร็งและปวด, โดยเฉพาะที่คอและหลัง) , ลำธาร, ลำคลอง vt. บิด, Syn. spasm | deltoid | (เดล'ทอยด์) n. กล้ามเนื้อขนาดใหญ่รูปสามเหลี่ยม | dengue | (เดง'เก) n. ไข้เด๊งซึ่งเป็นโรคติดต่อชนิดหนึ่ง, มีลักษณะอาการเจ็บปวดข้อต่อและกล้ามเนื้อ, ไข้ส่า, Syn. dengue fever | dystonia | ความตึงตัวของกล้ามเนื้อเสื่อม | erector | (อีเรค'เทอะ) n. ผู้ตั้งตรง, สิ่งที่ตั้งตรง, สิ่งที่ลุก, กล้ามเนื้อลุกชัน | fibrillation | การกระตุกรัวของกล้ามเนื้อ | flexor | (เฟลค'เซอะ) n. กล้ามเนื้อที่งอข้อต่อ | glossopharyngeal | ไปเลี้ยงลิ้นส่วนหลังรับความรู้สึกจากลิ้น การกลืน เร้าให้หลั่งน้ำลาย ทำให้กล้ามเนื้อของหลอดคอเคลื่อนไหว | grand mal | โรคลมบ้าหมูที่มีการหมดสติกล้ามเนื้อเกร็งและน้ำลายฟูมปาก | hypoglassal nerve | เส้นประสาทของcranial nerves คู่ที่ 12 ที่ไปสู่กล้ามเนื้อของลิ้น ควบคุมการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อลิ้นให้มีการเคลื่อนไหว | kink | (คิงคฺ) n. ส่วนงอ, ส่วนโค้ง, หงิกงอ, ข้อบกพร่อง, รอยด่างพร้อย, อาการปวด, กล้ามเนื้อที่คอหรือหลัง, ความคิดประหลาด v. ทำให้งอ, กลายเป็นงอ, Syn. bend, curl, quirk | massage | (มะซาจฺ') v. การนวดกล้ามเนื้อ, เทคนิคการนวดกล้ามเนื้อ., See also: massager, massagist n. | masseur | (มะเซอ') n. หมอนวดผู้ชาย, นักนวดกล้ามเนื้อที่เป็นผู้ชาย | masseuse | (มะซูส', มะซูซ') n. หมอนวดที่เป็นหญิง, นักนวดกล้ามเนื้อที่เป็นหญิง | mesomorph | (เมซ'ซะมอรฟ) n. ผู้ที่มีรูปกายที่มีกล้ามเนื้อและกระดูกมากเช่น นักกีฬา | motor | (โม'เทอะ) n. เครื่องจักร, เครื่องยนต์, เครื่องเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล adj. ซึ่งทำให้เกิดการเคลื่อนไหว, ซึ่งนำกระแสประสาท (impules) , เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ. vi. ขับรถยนต์, เดินทางโดยรถยนต์, See also: motors n., pl. พันธบัตรหรือใบหุ้นระหว่างบริษัทรถยนต์ |
| biceps | (n) กล้ามเนื้อลูกหนู | brawn | (n) หมูเค็ม, หมูตั้ง, กล้ามเนื้อ, พละกำลัง, กำลัง, ความแข็งแรง | muscle | (n) กล้ามเนื้อ | muscular | (adj) เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ, กำยำ, แข็งแรง, ล่ำสัน | sinew | (n) กล้ามเนื้อ, เอ็น, แก่น, ความแข็งแรง, กำลังวังชา, อำนาจ | spasm | (n) อาการกระตุก, กล้ามเนื้อกระตุก |
| abducens nerve | (n) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 นำคำสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนื้อตา บังคับให้เกิดการชำเลืองตา ให้โฟกัสภาพชัด | Acute Compartment syndromes | เกิดขึ้นเมื่อความดันเนื้อเยื่อภายในช่องกล้ามเนื้อปิดเกินความดันระบบและผลในกล้ามเนื้อและการขาดเลือดของเส้นประสาท มันมักจะเกิดขึ้นในภายหลังกับเหตุการณ์ที่บาดเจ็บ, ส่วนใหญ่มักจะแตกหัก | anticonvulsant | ยาคลายกล้ามเนื้อ | cardiotoxin | (n) พิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ | Compartment syndrome | เงื่อนไขที่เจ็บปวดและอันตรายที่เกิดจากการสะสมของความดันจากเลือดออกภายในหรือบวมของเนื้อเยื่อ ความดันลดการไหลเวียนของเลือด, กีดกันกล้ามเนื้อและเส้นประสาทของการบํารุงที่จําเป็น.อาการอาจรวมถึงอาการปวดอย่างรุนแรงความรู้สึกของหมุดและเข็มและความอ่อนแอของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ สําหรับกรณีที่รุนแรงของโรคช่องจําเป็นต้องผ่าตัดฉุกเฉิน | dermatophytosis | (n) โรคผิวหนังชนิดหนึ่งแสดงโดยอาการอักเสบของผิวหนังและกล้ามเนื้ออ่อนแรง | Fibromyalgia | ความผิดปกติเรื้อรังที่แพร่กระจายด้วยความเจ็บปวดที่และมีความแข็งกดเจ็บบริเวณของกล้ามเนื้อและโครงสร้างเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องซึ่งมักจะเกิดขึ้นพร้อมกับความเมื่อยล้าปวดศีรษะและการรบกวนในเวลานอน | Frontalis | of or pertainingกล้ามเนื้อฟรอนทาลิส (Frontalis muscle) เป็นกล้ามเนื้อบางๆ ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าของศีรษะ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และเกาะกับพังผืดชั้นผิว (superficial fascia) มีลักษณะกว้างกว่ากล้ามเนื้อออกซิปิตาลิส (Occipitalis) และใยของกล้ามเนื้อนี้ยังยาวและสีซีดกว่ากล้ามเนื้อออกซิปิตาลิส กล้ามเนื้อนี้ไม่มีจุดเกาะอยู่กับกระดูก to the temple and jaw | myotoxin | (n) พิษต่อกล้ามเนื้อ | pelvic floor muscles | (n) กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (กล้ามเนื้อที่ควบคุมการกลั้น ปัสสาวะ อุจาระ และกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการคลอดบุตร) | Polymyositis | โรคอักเสบของกล้ามเนื้อที่เริ่มต้นเซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์ภูมิคุ้มกันของการอักเสบ, เป็นธรรมชาติกล้ามเนื้อ, โดยเฉพาะกับลำตัว, ส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ, และอ่อนแอ | Prostaglandins | ที่มีศักยภาพฮอร์โมนเช่นสารที่พบในหลายเนื้อเยื่อร่างกาย (และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในน้ำอสุจิ); ผลิตในการตอบสนองต่อการบาดเจ็บและอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการเผาผลาญและกิจกรรมกล้ามเนื้อเรียบ | Rhabdomyolysis | ความผิดปกติของเซลล์กล้ามเนื้อม, อาจนำไปสู่สภาวะร้ายแรง การสลายตัวของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อโครงร่างเป็นผลมาจากการเกิดไฟฟ้าหรือการสัมผัสเป็นเวลานานกับสารพิษ (ลักษณะการขับถ่ายของ ปัสสาวะออกมาสีดำเหมือนน้ำโคคาโคล่า ในปัสสาวะ) | Semispinalis capitis | กล้ามเนื้อตามยาวลึกของหลังที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกระบวนการตามขวางของทรวงอกหกหรือเจ็ดส่วนบนและกระดูกสันหลังส่วนคอที่เจ็ดถูกแทรกบนพื้นผิวด้านนอกของกระดูกท้ายทอยระหว่างสองสันหลัง (ช่องเปิดในกะโหลกศีรษะที่ไขสันหลังผ่านจนกลายเป็นไขกระดูก) และทําหน้าที่ขยายและหมุนศีรษะ | Serratus | หมายถึงกล้ามเนื้อในลำต้น (ทรวงอก) | Sternomastoid | [สเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์] เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ในส่วนนอกของลำคอ ชื่อของกล้ามเนื้อมัดนี้มาจากจุดเกาะทั้งสามจุดของกล้ามเนื้อ ซึ่งได้แก่ กระดูกอก (sternum, sterno- ) กระดูกไหปลาร้า (clavicle, cleido- ) และมาสตอยด์ โพรเซส (mastoid process) ซึ่งเป็นส่วนนูนขนาดใหญ่บนกระดูกขมับ (temporal bone) ในบางครั้งอาจเรียกชื่อกล้ามเนื้อนี้ว่า สเตอร์โนมาสตอยด์ (sternomastoid) กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ทำหน้าที่หลักในการหมุนและการงอของศีรษะ นอกจากนี้ยังทำงานร่วมกับกลุ่มของกล้ามเนื้อสคาลีนนัส (scalenus muscles) เพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวของช่องอกระหว่างการหายใจ แนวของกล้ามเนื้อนี้ยังใช้ในการแบ่งอาณาบริเวณทางกายวิภาคของลำคอเป็นสองส่วน คือพื้นที่สามเหลี่ยมลำคอด้านหน้า (anterior triangle of neck) และพื้นที่สามเหลี่ยมลำคอด้านหลัง (posterior triangle of neck) | Teratomas | ชนิดของเนื้องอกเซลล์เชื้อโรคที่อาจมีหลายชนิดที่แตกต่างกันของเนื้อเยื่อ, เช่นผม, กล้ามเนื้อ, และกระดูก. เกิดขึ้นบ่อยที่สุดในรังไข่ในผู้หญิงลูกอัณฑะในผู้ชายและกระดูกในเด็ก | Thromboxane | สารต่างๆที่มีการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกล็ดเลือด, จะเกิดขึ้นจากการแทรกขนาดกลางในการเปลี่ยนแปลงของขา endoperoxides, ทำให้เกิดการหดตัวของหลอดเลือดและหลอดลมกล้ามเนื้อเรียบ, และส่งเสริมการแข็งตัวของเลือด | Trabeculation | ของกระเพาะปัสสาวะเกิดจากสิ่งกีดขวางซ้ำในท่อปัสสาวะ เมื่อเกิดการอุดตัน, ผนังกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะจะต้องทำงานยากเกินไปที่จะย้ายปัสสาวะที่ผ่านการกีดขวาง. นี้นำไปสู่ความหนาของผนังกล้ามเนื้อและการสูญเสียความยืดหยุ่น. | Troponin | Troponin เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่พบในกล้ามเนื้อของหัวใจของคุณ. โทรโพนินปกติไม่พบในเลือด. เมื่อกล้ามเนื้อหัวใจได้รับความเสียหาย troponin จะถูกส่งเข้าสู่กระแสเลือด เมื่อความเสียหายของหัวใจเพิ่มขึ้นปริมาณของ troponin จะถูกปล่อยออกมาในเลือดมากขึ้น | กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ | (adj, name, uniq) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก |
| 筋肉 | [きんにく, kinniku] (n) กล้ามเนื้อ |
| 屈筋 | [くっきん, kukkin] (n) กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์, See also: R. flexor muscle | 心筋 | [しんきん, shinkin] (n) กล้ามเนื้อหัวใจ, See also: R. cardiac muscle | 心筋炎 | [しんきんえん, shinkin'en] (n) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, See also: R. myocarditis |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |