**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
call pay | (phrase) การจ่ายค่าจ้างเมื่อลูกจ้างมารายงานตัวเพื่อทำงาน |
genetically | (adv) ด้วยกลไกทางพันธุกรรม เช่น scientific and consumer concerns about genetically engineered and modified foods |
collect call | (n) โทรศัพท์เรียกเก็บเงินปลายทาง |
call | (n) การมาเยี่ยม, Syn. visit, visiting |
call | (n) การเรียก, See also: การตะโกนเรียก, Syn. yell, cry, whoop |
call | (n) การสนทนาทางโทรศัพท์ |
call | (n) ความต้องการ, Syn. demand |
call | (vt) โทรศัพท์ไปหา, Syn. telephone, call up, ring, phone |
call | (vi) โทรศัพท์ไปหา |
call | (vt) เรียก, See also: ร้องเรียก, ตะโกนเรียก |
call | (vi) เรียก, See also: ร้องเรียก, ตะโกนเรียก, Syn. shout, call out, cry out |
call | (vt) เรียกว่า |
call | (n) สัญญาณ, Syn. signal |
call | (คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบ, Syn. exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น |
call girl | n. นางทางโทรศัพท์, โสเภณี |
call loan | n. การยืมที่ต้องใช้คืนเมื่อถูกเรียกให้ใช้คืน |
call number | n. หมายเลขหิ้งหนังสือ |
call-in | (คอล'อิน) n. การสนทนาทางโทรศัพท์เพื่อกระจายเสียง adj. เกี่ยวกับการสนทนาทางโทรศัพท์ที่กระจายเสียง |
callboy | (คอล'บอย) n. พนักงานชายบริการในโรงแรม, พนักงานคอยเรียกผู้แสดงขึ้นเวที |
caller | (คอล'เลอะ) n. คนร้องเรียก, สิ่งเรียก, สิ่งที่เรียกร้อง, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้โทรศัพท์, ผู้เรียกประชุม |
calligraphy | (คะลิก'กระพี) n. ลายมือดี, ลายมือสวย, การคัดลายมือ, ศิลปะการคัดลายมือ., See also: calligrapher n. ผู้มีลายมือดี calligraphist n. ผู้มีลายมือดี calligraphic adj. ลายมือดี calligraphical adj. ลายมือดี |
calling | (คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn. vocation |
calling card | n. นามบัตร, บัตรผู้มาเยี่ยม., Syn. visiting card |
call | (vt) ร้อง, ร้องเรียก, เรียกหา, มาหา, เยี่ยมเยียน, โทรศัพท์ |
CALL call girl | (n) นางทางโทรศัพท์ |
caller | (n) ผู้ขานชื่อ, ผู้เรียก, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้มาหา |
calling | (n) อาชีพ, การเรียกร้อง, การเยี่ยมเยียน, การไปมาหาสู่ |
callisthenics | (n) การบริหารกาย, การเพาะกาย |
callous | (adj) แข็ง, ด้าน, กระด้าง, ใจแข็ง, ใจดำ, ไม่เห็นใจ |
callow | (adj) ยังเล็ก, ยังหนุ่ม, ยังเด็ก, อ่อนหัด |
automatically | (adv) ด้วยตนเอง, อย่างอัตโนมัติ |
botanically | (adv) ในทางพฤกษศาสตร์ |
characteristically | (adv) โดยมีลักษณะพิเศษ, โดยมีลักษณะเฉพาะ, โดยมีคุณสมบัติพิเศษ |
call | ๑. เรียก๒. การเรียก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
call | การเรียกประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
call | เบี้ยพีแอนด์ไอ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
call | ๑. การทวงถาม (ให้ชำระหนี้) (ปพพ.)๒. การเรียก (ให้ชำระหนี้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
call | ๑. เรียก๒. การเรียก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
call back | การกลับไปติดต่อ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
call by name | เรียกด้วยชื่อ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
call by need | เรียกตามความต้องการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
call by reference | เรียกโดยอ้างอิง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
call by value | เรียกด้วยมูลค่า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Call centers | ศูนย์ประสานงานบริการ [TU Subject Heading] |
Call number | เลขเรียกหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Call number | เลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือ, Example: หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Call price | ราคาเมื่อเรียกคืน [เศรษฐศาสตร์] |
Call privilege | สิทธิพิเศษในการเรียกคืน [เศรษฐศาสตร์] |
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
call | (n) ประชุม |
call | (n) ข้อเรียกร้อง |
Call back | (n, vi, vt, modal, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, org, uniq) Call back |
Call back | (n, vi, vt, modal, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, org, uniq) Call back |
call on | เรียกร้อง เช่น He called on the government to urgently help him. |
call option | ออฟชั่นไถ่ถอน |
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
โทร | (v) call, See also: telephone, phone, Syn. โทรศัพท์, ติดต่อ, Example: เธอโทรไปถามโรงพยาบาลหรือยังว่าหมอโรคกระดูกเข้าวันไหน, Thai Definition: ติดต่อสื่อสารถึงบุคคลลอื่นโดยใช้โทรศัพท์, Notes: (ปาก) |
ร้องเรียก | (v) call, Syn. เรียก, กู่เรียก, Example: บริเวณตลาดท่าช้างกำลังพลุกพล่าน แม่ค้าแม่ขายร้องเรียกลูกค้ากันเอ็ดอึง, Thai Definition: ส่งเสียงเรียกเพื่อให้มา |
เรียก | (v) call, See also: shout, yell, hail, cry, Example: ผมเรียกจนแสบคอ เธอก็ยังไม่หันมา, Thai Definition: เปล่งเสียงดังเพื่อให้มาหรือเพื่อมุ่งหมายอย่างอื่น |
ขานรหัส | (v) call someone by signals, See also: call, Syn. เรียกรหัส, Ant. ตอบรหัส, Example: ทางศูนย์ขานรหัสมาแล้วแต่ฝ่ายเราส่งกลับไปไม่ได้, Thai Definition: ร้องเรียกโดยใช้สัญญาณหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดรู้กันโดยเฉพาะ |
ขาน | (v) call out, See also: call, Syn. เรียก, เรียกชื่อ, ขานชื่อ, Example: คุณครูขานชื่อนักเรียนทุกคนเพื่อจะดูว่าใครขาดเรียน, Thai Definition: เรียกชื่อเพื่อให้ตอบกลับมา |
พร้อง | (v) call, Syn. ร้อง, ร้องเรียก, พร้องเพรียก, Example: ผู้ที่มีใจกว้างย่อมพร้องเพรียกเพื่อนฝูงมาร่วมวงสุราอาหาร |
ร้องเรียกร้องหา | (v) call, See also: cry out for, shout or yell after, call out |
การเยี่ยม | (n) visit, See also: call, Syn. การเยี่ยมเยียน, การเยี่ยมเยือน, การเยือน, การไปมาหาสู่, Example: การเยี่ยมผู้ป่วยต้องปฏิบัติตามกฎของโรงพยาบาล |
การเยือน | (n) visit, See also: call, Syn. การเยี่ยม, การเยี่ยมเยียน, การเยี่ยมเยือน, Example: รัฐมนตรีกลาโหมแห่งแดนหมีขาวเสร็จสิ้นการเยือนแดนมังกรเมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา |
โก่ | (v) call, Syn. โก้, กู่ตะโกน, Example: เขาโก่เรียกเพื่อน, Thai Definition: เรียกดังๆ, Notes: (ถิ่นใต้) |
การโทรศัพท์ | [kān thōrasap] (n) EN: call |
ร้องเรียก | [røng rīek] (v) EN: call FR: appeler ; héler |
โทรเข้า | [thō khao] (v, exp) EN: call |
call | |
calla | |
calle | |
calls | |
cally | |
call's | |
call's | |
callan | |
callas | |
called |
call | |
calls | |
called | |
caller | |
callow | |
callus | |
call-up | |
callers | |
calling | |
callous |
call | (n) a telephone connection, Syn. telephone call, phone call |
call | (n) a special disposition (as if from a divine source) to pursue a particular course |
call | (n) a demand especially in the phrase, Syn. claim |
call | (n) a brief social visit |
call | (n) a demand for a show of hands in a card game |
call | (n) a request |
call | (n) an instruction that interrupts the program being executed |
call | (n) a visit in an official or professional capacity |
call | (n) (sports) the decision made by an umpire or referee |
call | (v) ascribe a quality to or give a name of a common noun that reflects a quality |
Call | n. I rose as at thy call, but found thee not. Milton. [ 1913 Webster ] Dependence is a perpetual call upon humanity. Addison. [ 1913 Webster ] Running into danger without any call of duty. Macaulay. [ 1913 Webster ] St. Paul himself believed he did well, and that he had a call to it, when he persecuted the Christians. Locke. [ 1913 Webster ] The baker's punctual call. Cowper. [ 1913 Webster ]
|
Call | v. i. You must call to the nurse. Shak. [ 1913 Webster ] The angel of God called to Hagar. Gen. xxi. 17. [ 1913 Webster ] They called for rooms, and he showed them one. Bunyan. [ 1913 Webster ] He ordered her to call at the house once a week. Temple. [ 1913 Webster ]
|
Call | v. t. Call hither Clifford; bid him come amain Shak. [ 1913 Webster ] Paul . . . called to be an apostle Rom. i. 1. [ 1913 Webster ] The Holy Ghost said, Separate me Barnabas and Saul for the work whereunto I have called them. Acts xiii. 2. [ 1913 Webster ] Now call we our high court of Parliament. Shak. [ 1913 Webster ] If you would but call me Rosalind. Shak. [ 1913 Webster ] And God called the light Day, and the darkness he called Night. Gen. i. 5. [ 1913 Webster ] What God hath cleansed, that call not thou common. Acts x. 15. [ 1913 Webster ] [ The ] army is called seven hundred thousand men. Brougham. [ 1913 Webster ] This speech calls him Spaniard. Beau. & Fl. [ 1913 Webster ] No parish clerk who calls the psalm so clear. Gay. [ 1913 Webster ] I call God for a witness. 2 Cor. i. 23 [ Rev. Ver. ] [ 1913 Webster ] If thou canst awake by four o' the clock.
|
Calla | n. [ Linnæus derived Calla fr. Gr. &unr_;&unr_;&unr_;&unr_;&unr_;&unr_;&unr_; a cock's wattles but cf. L. calla, calsa, name of an unknown plant, and Gr. ☞ The common |
callable | adj. subject to a demand for payment or redemption before the due date; -- of financial instruments; |
Callat | n. Same as Callet. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] A callat of boundless tongue. Shak. [ 1913 Webster ] |
callathump | n.
|
call-back | n. |
call-board | n. a bulletin board backstage in a theater. [ WordNet 1.5 ] |
Calle | n. [ See Caul. ] A kind of head covering; a caul. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] |
喊 | [喊] call; cry; to shout #2,247 [Add to Longdo] |
称为 | [称 为 / 稱 為] called; to call sth (by a name); to name #2,612 [Add to Longdo] |
质疑 | [质 疑 / 質 疑] call into question; question (truth or validity) #4,127 [Add to Longdo] |
号召 | [号 召 / 號 召] call; appeal #5,504 [Add to Longdo] |
自称 | [自 称 / 自 稱] call oneself; claim to be; profess #6,184 [Add to Longdo] |
书法 | [书 法 / 書 法] calligraphy; penmanship #8,083 [Add to Longdo] |
书画 | [书 画 / 書 畫] calligraphy #10,684 [Add to Longdo] |
停靠 | [停 靠] call at; stop at; berth #12,815 [Add to Longdo] |
嘤 | [嘤 / 嚶] calling of birds #13,474 [Add to Longdo] |
字体 | [字 体 / 字 體] calligraphic style; typeface; font #15,632 [Add to Longdo] |
Anrufsignal { n } | call sign [Add to Longdo] |
Anruferkennung { f } | call identification [Add to Longdo] |
Anrufbestätigung { f } | call confirmation [Add to Longdo] |
Anruferkennung { f } | call detection [Add to Longdo] |
Anrufumleitung { f } | call diversion [Add to Longdo] |
Anrufwiederholung { f } | call repetition [Add to Longdo] |
Anrufzeit { f }; Verbindungsdauer { f } | call time [Add to Longdo] |
Aufrufadresse { f } [ comp. ] | call address [Add to Longdo] |
Ausschreibung { f } | call for proposal [Add to Longdo] |
Bestellschein { m } | call card; request form [Add to Longdo] |
Bestellzettel { m } | call slip [Add to Longdo] |
Callcenter { n } | call center; call centre [ Br. ] [Add to Longdo] |
Callgirl { n } | call girl [Add to Longdo] |
Gebührencomputer { m } | call charge computer [Add to Longdo] |
Kaufoption { f } | call option [Add to Longdo] |
なる | [naru] (suf, adj-f) (1) (arch) (See 也・なり・2) that is in; (2) who is called; that is called; (3) that is #70 [Add to Longdo] |
たら(P);ったら(P) | [tara (P); ttara (P)] (conj, prt) (1) indicates supposition; if ... then; when; after; (prt) (2) (usu. ったら) (typically after someone's name) indicates exasperation; (P) #149 [Add to Longdo] |
それ | [sore] (int) there! (used to call someone's attention to something) #171 [Add to Longdo] |
用 | [よう, you] (n, n-suf) (1) task; business; (2) use; duty; service; (3) (See 用を足す) call of nature; excretion; (P) #187 [Add to Longdo] |
土(P);地 | [つち(P);つし(地), tsuchi (P); tsushi ( chi )] (n) (1) earth; soil; dirt; (2) the earth (historically, esp. as opposed to the heavens); the ground; the land; (3) (See 鳥の子紙) low-quality torinoko-gami (containing mud); (4) (also written as 犯土, 椎, 槌) (See 陰陽道) (period of) refraining from construction in the direction of the god of the earth (in On'youdou); (P) #252 [Add to Longdo] |
よ | [yo] (prt) (1) (at sentence end) indicates certainty, emphasis, contempt, request, etc.; (2) (after a noun) used when calling out to someone; (3) (in mid-sentence) used to catch one's breath or get someone's attention; (int) (4) yo!; (P) #441 [Add to Longdo] |
彼 | [かれ, kare] (n) (1) (uk) (See 何れ・1, 此れ・1, 其れ・1) that (indicating something distant from both speaker and listener (in space, time or psychologically), or something understood without naming it directly); (2) that person (used to refer to one's equals or inferiors); (3) (arch) over there; (4) (あれ only) (col) down there (i.e. one's genitals); (5) (あれ only) (col) period; menses; (int) (6) hey (expression of surprise or suspicion); eh?; (n) (7) that (something mentioned before which is distant psychologically or in terms of time); (P) #451 [Add to Longdo] |
もし | [moshi] (int) excuse me! (when calling out to someone) #494 [Add to Longdo] |
転送 | [てんそう, tensou] (n, vs) transfer; transmission; (telephone call, e-mail, etc.) forwarding #545 [Add to Longdo] |
え | [e] (int) (1) eh? (surprise); (2) eh (agreement); (prt) (3) (arch) (See かえ, ぞえ, わえ) strengthens a question, assertion, etc.; (4) (after a noun) used when calling out to someone #611 [Add to Longdo] |
カリグラフィック表示装置 | [カリグラフィックよょうじそうち, karigurafikku yoyoujisouchi] calligraphic display device, directed beam display device [Add to Longdo] |
コール | [こーる, ko-ru] call (vs) [Add to Longdo] |
コールウエイティング | [こーるうえいていんぐ, ko-ruueiteingu] call waiting [Add to Longdo] |
コールセットアップ | [こーるせっとあっぷ, ko-rusettoappu] call setup [Add to Longdo] |
コレクトコール | [これくとこーる, korekutoko-ru] collect call [Add to Longdo] |
システムコール | [しすてむこーる, shisutemuko-ru] system call [Add to Longdo] |
スーパバイザコール | [すーぱばいざこーる, su-pabaizako-ru] supervisor call [Add to Longdo] |
セットアップ手続き | [セットアップてつづき, settoappu tetsuduki] (call) setup procedure [Add to Longdo] |
ダイレクトコール機能 | [ダイレクトコールきのう, dairekutoko-ru kinou] direct call facility [Add to Longdo] |
テレホンカード | [てれほんかーど, terehonka-do] telephone card, calling card [Add to Longdo] |
Time: 0.0317 seconds, cache age: 3.33 (clear)