Agricultural economy | เศรษฐกิจการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Developed market economy | เศรษฐกิจแบบตลาดพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Dual economy | เศรษฐกิจทวิลักษณ์ [เศรษฐศาสตร์] |
Centrally-planned economy | ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง [เศรษฐศาสตร์] |
Collective economy | ระบบเศรษฐกิจแบบกรรมสิทธิ์รวม [เศรษฐศาสตร์] |
Economy of scale | การประหยัดโดยเพิ่มขนาด (การผลิต) [เศรษฐศาสตร์] |
Underground economy | เศรษฐกิจใต้ดิน [เศรษฐศาสตร์] |
Knowledge-Based Economy | เศรษฐกิจฐานความรู้ [การจัดการความรู้] |
Dual economy | ระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ [TU Subject Heading] |
Engineering economy | เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม [TU Subject Heading] |
Subsistence economy | เศรษฐกิจพอเพียง [TU Subject Heading] |
Free Market Economy | เศรษฐกิจตลาดเสรี, Example: ระบบเศรษฐกิจซึ่งการจัดสรรทรัพยากร ถูกกำหนดโดยปัจจุบันด้านอุปสงค์และอุปทานในตลาดเสรี แม้ว่าจะมีการออกระเบียบข้อบังคับจากรัฐบาลบ้างแต่ก็เป็นเพียงส่วนน้อย เศรษฐกิจตลาดเสรีอาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า เศรษฐกิจทุนนิยม [สิ่งแวดล้อม] |
Economy of Scale | การประหยัดอันเนื่องมาจาก, Example: การลดต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย ของการผลิตสินค้าลงในขณะที่มีการขยายการผลิตสินค้าให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อาจกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า เมื่อการผลิตขยายออกไป ผู้ผลิตจะมีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นด้วยการได้รับประโยชน์ จากการใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ประโยชน์จากการแบ่งงานกันทำตามความถนัดเฉพาะอย่าง [สิ่งแวดล้อม] |
Bubble, Bubble Economy | ฟองสบู่ เศรษฐกิจฟองสบู่, Example: การเพิ่มขึ้นของราคาในทรัพย์สินต่างๆ อย่างมากติดต่อกันเป็นกระบวนการ กล่าวคือ การเพิ่มขึ้นครั้งแรกของราคาทรัพย์สินก่อให้เกิดการคาดคะเนต่อไปว่าจะมีการ เพิ่มขึ้นในราคาทรัพย์สินนั้นๆ อีก ซึ่งจะล่อใจให้ผู้ซื้อรายใหม่เข้ามา เกิดการเก็งกำไรจากการซื้อขายทรัพย์สิน มากกว่าที่จะเป็นการซื้อขายเพื่อการใช้ประโยชน์ที่จะก่อให้เกิดรายได้จาก ทรัพย์สินนั้น ภาวะเศรษฐกิจในช่วงต้นทศวรรษ 1990 ของประเทศญี่ปุ่น อาจเรียกได้ว่าเป็นภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ ซึ่งมีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่การประกาศลดอัตราซื้อลง (discount rate) ของทางการอันเป็นนโยบายกอบกู้ภาวะเศรษฐกิจซบเซา เมื่อ พ.ศ. 2528 และต่อมาเริ่มมีการปล่อยเงินกู้ให้ธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจที่ไม่ใช่ ธนาคาร ธุรกิจประเภทนี้ได้นำเงินจำนวนมากไปซื้อหุ้นและที่ดินในโตเกียวและ เมืองใหญ่ๆ ทำให้ราคาหุ้นและที่ดินในเมืองใหญ่มีราคาสูงมาก และเมื่อถึงเวลาชำระหนี้สินคืน ธุรกิจเหล่านี้จำเป็นต้องขายหุ้นและที่ดิน ออกมาในราคาต่ำลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ภาวะเช่นนี้ก่อให้เกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซา กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการค้าโดยรวมตกต่ำลง สินค้าต่างๆ มียอดขายตกต่ำลง โดยเฉพาะสินค้าฟุ่มเฟือย อย่างไรก็ตามภาวะเศรษฐกิจสบู่ก็มีผลในแง่บวกเช่นกัน กล่าวคือในช่วงดังกล่าวมีการสร้างที่พักมากขึ้น มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผลมากขึ้น และมีการลงทุนที่สร้างความทันสมัยและใช้เทคโนโลยีระดับสูง [สิ่งแวดล้อม] |
Open Economy | ระบบเศรษฐกิจเปิด, Example: ระบบเศรษฐกิจที่มีภาคเศรษฐกิจการค้าระหว่าง ประเทศขนาดใหญ่ เมื่อเปรียบเทียบกับระบบเศรษฐกิจโดยรวม ขนาดความเปิดของระบบเศรษฐกิจจะมากน้อยเพียงใด ขึ้นกับปริมาณการค้าระหว่างประเทศของประเทศนั้น หรือนโยบายของรัฐบาลในประเทศนั้น ผู้กำหนดนโยบายในประเทศ ที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะต้องพิจารณานโยบายของประเทศอื่นๆ ก่อนที่จะกำหนดหรือวางนโยบายใดๆ ในประเทศตน ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากประเทศอื่นๆ โดยผ่านมาทางประตูคู่ค้าได้ง่าย อาจจัดได้ว่าระบบเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันเป็นระบบเปิด เนื่องจากภาคเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศมีขนาดใหญ่ถึงร้อยละ 70 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ [สิ่งแวดล้อม] |
Mixed Economy | ระบบเศรษฐกิจแบบผสม, Example: ระบบเศรษฐกิจที่มีทั้งลักษณะของระบบทุนนิยม และระบบสังคมนิยมในระบบเศรษฐกิจผสมทั้งรัฐบาล และเอกชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของโลกเสรีปัจจุบันจะมีทั้งกิจการ อุตสาหกรรมที่เป็นของรัฐและเอกชนในสัดส่วนแตกต่างกัน แม้แต่ในสหรัฐอเมริกาที่เป็นประเทศเสรีมากที่สุดก็ยังมีกิจการหลายประเภท ดำเนินการโดยรัฐ [สิ่งแวดล้อม] |
Self-Sufficiency Economy | ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้, Example: ความสามารถของเมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาคหนึ่งๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาสินค้านำเข้า ข้อได้เปรียบสำคัญของ ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้คือ ไม่ต้องพึ่งพาสินค้าจำเป็นขั้นพื้นฐานจากประเทศอื่นที่อาจมีราคาแพงเกินไป เมื่อเกิดวิกฤตน้ำมันขึ้นราคาครั้งใหญ่ใน พ.ศ. 2516 ได้กระตุ้นให้มีการค้นหาและผลิตน้ำมันปิโตรเลียมในสหรัฐอเมิรกาและประเทศ ต่างๆ เพื่อให้พึ่งพาตนเองในด้านพลังงานและเชื้อเพลิงได้ ข้อเสียสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบนี้ คือ กระตุ้นให้มีการปกป้องผู้ผลิตในประเทศที่ด้อยประสิทธิภาพ [สิ่งแวดล้อม] |
Dual Economy | ระบบเศรษฐกิจที่มีสองลักษณะ, Example: ระบบเศรษฐกิจของประเทศหนึ่งๆ ซึ่งประกอบด้วยภาคที่เจริญก้าวหน้าและร่ำรวยอย่างมาก กับอีกภาคหนึ่งซึ่งยังล้าหลังยากจนไม่ได้รับการพัฒนา ศัพท์คำนี้ได้นำมาใช้เรียกระบบเศรษฐกิจของประเทศอาณานิคม ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอบเป็นครั้งแรก และได้ใช้กับระบบเศรษฐกิจในลักษณะคล้ายกันของประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ ในระยะต่อมา [สิ่งแวดล้อม] |
Closed Economy | ระบบเศรษฐกิจปิด, Example: ระบบเศรษฐกิจของประเทศที่ไม่มีการค้าขาย กับต่างประเทศหรือไม่มีการส่งออกหรือการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ซึ่งตามความหมายนี้ไม่มีประเทศใดในโลกปัจจุบันที่ไม่มีการค้าขายกับต่าง ประเทศ มีเพียงประเทศที่สัดส่วนการค้าระหว่างประเทศมีน้อย ประเทศในปัจจุบัน ที่มีลักษณะเข้าใกล้ระบบเศรษฐกิจปิดมากที่สุด เช่น สหภาพพม่า [สิ่งแวดล้อม] |
Centrally-Planned Economy | ระบบเศรษฐกิจวางแผนจากส่วนกลาง, Example: ระบบเศรษฐกิจที่หน่วยงานรัฐบาลกลางเป็นผู้ ตัดสินใจ ในการวางแผนบริหารและประเมินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด โดยมีสมมติฐานว่าการกระทำเช่นนี้เป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับประเทศ ระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ประชาชนจะไม่มีกรรมสิทธิ์เด็ดขาดในทรัพย์สิน กรรมสิทธิ์ในทรัพยากรและปัจจัยการผลิตที่สำคัญๆ ของประเทศจึงเป็นของส่วนกลาง โดยรัฐบาลเป็นผู้แทนในการดำเนินการหาผลประโยชน์จากทรัพยากรเหล่านั้นและมา เฉลี่ยเป็นสวัสดิการตอบแทนให้แก่ประชาชน เช่น รัฐบาลกลางของสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนเวียดนาม เป็นต้น ปัจจุบัยประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่วางแผนจากส่วกลางเหล่านี้ ได้ยอมให้ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ในบางเรื่อง [สิ่งแวดล้อม] |
Knowledge-based Economy | การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการพัฒนาความรู้ [การทูต] |
Low Carbon Economy | เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ [เศรษฐศาสตร์] |
Economy | ความประหยัด, ประหยัด [การแพทย์] |
เศรษฐศาสตร์การเมือง | (n) political economy, Example: หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงเศรษฐศาสตร์การเมือง ทฤษฎีการเมือง การเมือง และรัฐบาลของอังกฤษ |
เศรษฐกิจพอเพียง | (n) sufficient economy, Example: รัฐบาลให้บริการสวัสดิการทางสังคม เพื่อเน้นการสร้างเศรษฐกิจพอเพียงอย่างที่ในหลวงเคยมีพระราชดำรัสไว้, Thai Definition: วิธีดำเนินการทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งหมายให้ราษฎรมีพอกินพอใช้เป็นเบื้องต้นก่อนอื่นใดทั้งสิ้น |
เศรษฐกิจฟองสบู่ | (n) bubble economy, Example: เศรษฐกิจฟองสบู่ของโลกการเก็งกำไรใหญ่โตกว่าพื้นฐานจริงทางเศรษฐกิจ, Thai Definition: เศรษฐกิจที่ขยายตัวเกินสมควร |
เศรษฐกิจนอกระบบ | (n) black economy, See also: shadow economy, Example: บรรดานักเลือกตั้งเตรียมเชื่อมเศรษฐกิจนอกระบบของเจ้าพ่อตั้วเฮียมาเฟียอิทธิพล, Thai Definition: กิจกรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบหนึ่งที่ไม่เปิดเผย เพราะผู้ดำเนินการต้องการเลี่ยงจ่ายภาษี |
เศรษฐกิจนอกระบบ | (n) black economy, Thai Definition: กิจกรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบหนึ่งที่ไม่เปิดเผย เพราะผู้ดำเนินการต้องการเลี่ยงจ่ายภาษี |
สภาพเศรษฐกิจ | (n) state of economy, Syn. สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ |
เศรษฐกิจ | (n) economy, See also: economic affairs, Example: การพัฒนาวัฒนธรรมของสังคมต้องพึ่งพาพลังงานใหม่ๆ ภายใต้อิทธิพลทางวิทยาศาสตร์ เศรษฐกิจ การเมือง และอื่นๆ, Thai Definition: งานอันเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก และการบริโภคใช้สอยสิ่งต่างๆ ของชุมชน, Notes: (สันสกฤต) |
สภาวะเศรษฐกิจ | (n) economy, Syn. สภาพเศรษฐกิจ, Example: ธุรกิจภัตตาคารและร้านอาหารซบเซามากขึ้น เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจทรุดตัวลง |
ประหยัดถ้อยคำ | (v) be taciturn, See also: practice economy of words, Syn. ประหยัดปาก, ประหยัดคำ, ยับยั้ง, ระมัดระวัง, Example: เธอต้องประหยัดถ้อยคำไว้ หลังจากการถกเถียงกัน |
เสือ | (n) tiger (e.g. economy), Example: ในอดีตประเทศไทยถูกมองว่า จะเป็นเสือตัวใหม่ด้านเศรษฐกิจของโลก, Thai Definition: คนเก่ง |
ความประหยัด | (n) saving, See also: economy, thriftiness, Syn. ความมัธยัสถ์, ความกระเหม็ดกระแหม่, ความตระหนี่, Ant. ความสุรุ่ยสุร่าย, ความฟุ่มเฟือย, Example: ความประหยัดที่ติดตัวเขามาตั้งแต่เด็กทำให้เขากลายเป็นเศรษฐีในวันนี้, Thai Definition: การใช้จ่ายแต่พอควรแก่ฐานะ |
ชั้นประหยัด | [chan prayat] (n, exp) EN: economy class FR: classe économique [ f ] |
การขยายตัวของเศรษฐกิจ | [kān khayāitūa khøng sētthakit] (n, exp) EN: economic expansion ; expansion of the economy |
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ | [kān khayāitūa thāng sētthakit] (n, exp) EN: economic expansion ; expansion of the economy ; economic growth FR: expansion économique [ f ] |
การประหยัด | [kān prayat] (n) EN: saving ; economy FR: économie [ f ] ; épargne [ f ] (fig.) |
ความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ | [khwām øn-aē thāng sētthakit] (n, exp) EN: sluggishness of the economy |
ผู้โดยสารชั้นประหยัด | [phūdōisān chan prayat] (n, exp) EN: economy class passengers FR: passagers de classe économique [ mpl ] |
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | [pratyā sētthakit phøphīeng = pratchayā sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: sufficiency economy philosophy |
สภาวะเศรษฐกิจ | [saphāwa sētthakit] (n, exp) EN: economic situation ; economy |
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ | [sathānakān thāng sētthakit] (n, exp) EN: state of economy ; economic situation FR: situation économique [ f ] |
เศรษฐกิจ | [sētthakit] (n) EN: economy ; economic affairs FR: économie [ f ] ; affaires économiques [ fpl ] |
เศรษฐกิจแบบผสมผสาน | [sētthakit baēp phasomphasān] (n, exp) EN: mixed economy FR: économie mixte [ f ] |
เศรษฐกิจแบบปิด | [sētthakit baēp pit] (n, exp) EN: closed economy |
เศรษฐกิจแบบเปิด | [sētthakit baēp poēt] (n, exp) EN: open economy |
เศรษฐกิจฟองสบู่ | [sētthakit føng sabū] (n, exp) EN: bubble economy |
เศรษฐกิจการเมือง | [sētthakit kānmeūang] (n, exp) EN: political economy FR: économie politique [ f ] |
เศรษฐกิจโลก | [sētthakit lōk] (n, exp) EN: world economy ; global economy FR: économie mondiale [ f ] |
เศรษฐกิจมืด | [sētthakit meūt] (n, exp) EN: shadow economy ; underground economy |
เศรษฐกิจในสังคม | [sētthakit nai sangkhom] (n, exp) EN: social economy FR: économie sociale [ f ] |
เศรษฐกิจนอกระบบ | [sētthakit nøk rabop] (n, exp) EN: black economy ; shadow economy FR: économie parallèle [ f ] |
เศรษฐกิจภายในประเทศ | [sētthakit phāinai prathēt] (n, exp) EN: domestic economy |
เศรษฐกิจผสม | [sētthakit phasom] (n, exp) EN: mixed economy |
เศรษฐกิจพอเพียง | [sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: economic self-sufficiency ; sufficiency economy FR: économie auto-suffisante [ f ] ; auto-suffisance économique [ f ] ; économie de suffisance [ f ] |
เศรษฐกิจประชาชาติ | [sētthakit prachāchāt] (n, exp) EN: national economy FR: économie nationale [ f ] |
เศรษฐกิจประเทศญี่ปุ่น | [sētthakit prathēt Yīpun] (n, exp) EN: Japan's economy FR: économie japonaise [ f ] |
เศรษฐกิจไทย | [sētthakit Thai] (n, exp) EN: Thai economy FR: économie Thaïlandaise [ f ] |
เศรษฐกิจที่ร้อนแรง | [sētthakit thī rønraēng] (n, exp) EN: overheated economy |
เศรษฐกิจทั่วโลก | [sētthakit thūa lōk] (n, exp) EN: global economy FR: économie globale [ f ] |
เศรษฐศาสตร์การเมือง | [sētthasāt kānmeūang] (n, exp) EN: political economy FR: économie politique [ f ] |
ทำให้เศรษฐกิจมั่นคง | [thamhai sētthakit mankhong] (v, exp) EN: strenghten the economy |
ทำลายเศรษฐกิจ | [thamlāi sētthakit] (v, exp) EN: ruin the economy |
ธุรกิจใต้ดิน | [thurakit tāidin] (n, exp) EN: underground economy |
black economy | (n) a hidden sector of the economy where private cash transactions go unreported |
communist economy | (n) the managed economy of a communist state |
economy | (n) the system of production and distribution and consumption, Syn. economic system |
economy | (n) the efficient use of resources |
economy | (n) frugality in the expenditure of money or resources, Syn. thriftiness |
economy | (n) an act of economizing; reduction in cost, Syn. saving |
economy of scale | (n) the saving in cost of production that is due to mass production |
managed economy | (n) a non-market economy in which government intervention is important in allocating goods and resources and determining prices |
market economy | (n) an economy that relies chiefly on market forces to allocate goods and resources and to determine prices, Syn. free enterprise, private enterprise, laissez-faire economy, Ant. non-market economy |
mixed economy | (n) an economic system that combines private and state enterprises |
non-market economy | (n) an economy that is not a market economy, Ant. market economy |
token economy | (n) a form of behavior therapy that has been used in some mental institutions; patients are rewarded with tokens for appropriate behavior and the tokens may be cashed in for valued rewards |
cabin class | (n) a class of accommodations on a ship or train or plane that are less expensive than first class accommodations, Syn. economy class, second class |
capitalism | (n) an economic system based on private ownership of capital, Syn. capitalist economy, Ant. socialism |
economics | (n) the branch of social science that deals with the production and distribution and consumption of goods and services and their management, Syn. economic science, political economy |
socialism | (n) an economic system based on state ownership of capital, Syn. socialist economy, Ant. capitalism |
economy | n.; pl. Economies [ F. économie, L. oeconomia household management, fr. Gr. o'ikonomi`a, fr. o'ikono`mos one managing a household; o'i^kos house (akin to L. vicus village, E. vicinity) + no`mos usage, law, rule, fr. ne`mein to distribute, manage. See Vicinity, Nomad. ] 1. The management of domestic affairs; the regulation and government of household matters; especially as they concern expense or disbursement; as, a careful economy. [ 1913 Webster ] Himself busy in charge of the household economies. Froude. [ 1913 Webster ] 2. Orderly arrangement and management of the internal affairs of a state or of any establishment kept up by production and consumption; esp., such management as directly concerns wealth; as, political economy. [ 1913 Webster ] 3. The system of rules and regulations by which anything is managed; orderly system of regulating the distribution and uses of parts, conceived as the result of wise and economical adaptation in the author, whether human or divine; as, the animal or vegetable economy; the economy of a poem; the Jewish economy. [ 1913 Webster ] The position which they [ the verb and adjective ] hold in the general economy of language. Earle. [ 1913 Webster ] In the Greek poets, as also in Plautus, we shall see the economy . . . of poems better observed than in Terence. B. Jonson. [ 1913 Webster ] The Jews already had a Sabbath, which, as citizens and subjects of that economy, they were obliged to keep. Paley. [ 1913 Webster ] 4. Thrifty and frugal housekeeping; management without loss or waste; frugality in expenditure; prudence and disposition to save; as, a housekeeper accustomed to economy but not to parsimony. [ 1913 Webster ] Political economy. See under Political. Syn. -- Economy, Frugality, Parsimony. Economy avoids all waste and extravagance, and applies money to the best advantage; frugality cuts off indulgences, and proceeds on a system of saving. The latter conveys the idea of not using or spending superfluously, and is opposed to lavishness or profusion. Frugality is usually applied to matters of consumption, and commonly points to simplicity of manners; parsimony is frugality carried to an extreme, involving meanness of spirit, and a sordid mode of living. Economy is a virtue, and parsimony a vice. [ 1913 Webster ] I have no other notion of economy than that it is the parent to liberty and ease. Swift. [ 1913 Webster ] The father was more given to frugality, and the son to riotousness [ luxuriousness ]. Golding. [ 1913 Webster ] |
managed economy | n. A non-market economy in which government intervention is important in allocating goods and resources and determining prices. [ WordNet 1.5 ] |
oeconomy | n. See Economy. [ 1913 Webster ] |
经济 | [jīng jì, ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 经 济 / 經 濟] economy; economic #127 [Add to Longdo] |
市场经济 | [shì chǎng jīng jì, ㄕˋ ㄔㄤˇ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 市 场 经 济 / 市 場 經 濟] market economy #2,394 [Add to Longdo] |
繁荣 | [fán róng, ㄈㄢˊ ㄖㄨㄥˊ, 繁 荣 / 繁 榮] prosperous; booming (economy) #4,627 [Add to Longdo] |
计划经济 | [jì huà jīng jì, ㄐㄧˋ ㄏㄨㄚˋ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 计 划 经 济 / 計 劃 經 濟] planned economy #9,859 [Add to Longdo] |
过热 | [guò rè, ㄍㄨㄛˋ ㄖㄜˋ, 过 热 / 過 熱] to overheat (e.g. an economy) #11,032 [Add to Longdo] |
内向 | [nèi xiàng, ㄋㄟˋ ㄒㄧㄤˋ, 内 向] inward-looking; introvert; introverted (personality); domestic-oriented (economy) #12,007 [Add to Longdo] |
外向 | [wài xiàng, ㄨㄞˋ ㄒㄧㄤˋ, 外 向] outward-looking; extrovert; extroverted (personality); export-oriented (economy) #22,043 [Add to Longdo] |
经济制度 | [jīng jì zhì dù, ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ ㄓˋ ㄉㄨˋ, 经 济 制 度 / 經 濟 制 度] economy #24,188 [Add to Longdo] |
履约 | [lǚ yuē, ㄌㄩˇ ㄩㄝ, 履 约 / 履 約] to keep an promise; to keep an appointment; to honor an agreement; to practise economy #24,339 [Add to Longdo] |
节油 | [jié yóu, ㄐㄧㄝˊ ㄧㄡˊ, 节 油 / 節 油] saving gasoline; fuel economy #24,944 [Add to Longdo] |
政治经济学 | [zhèng zhì jīng jì xué, ㄓㄥˋ ㄓˋ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ ㄒㄩㄝˊ, 政 治 经 济 学 / 政 治 經 濟 學] political economy #29,374 [Add to Longdo] |
经济舱 | [jīng jì cāng, ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ ㄘㄤ, 经 济 舱 / 經 濟 艙] economy class #44,253 [Add to Longdo] |
统货 | [tǒng huò, ㄊㄨㄥˇ ㄏㄨㄛˋ, 统 货 / 統 貨] unified goods; goods in the command economy that are not graded by quality and uniformly priced #105,719 [Add to Longdo] |
践约 | [jiàn yuē, ㄐㄧㄢˋ ㄩㄝ, 践 约 / 踐 約] to keep an promise; to keep an appointment; to honor an agreement; to practise economy #109,704 [Add to Longdo] |
世界经济 | [shì jiè jīng jì, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 世 界 经 济 / 世 界 經 濟] global economy; world economy [Add to Longdo] |
商品经济 | [shāng pǐn jīng jì, ㄕㄤ ㄆㄧㄣˇ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 商 品 经 济 / 商 品 經 濟] commodity economy [Add to Longdo] |
泡沫经济 | [pào mò jīng jì, ㄆㄠˋ ㄇㄛˋ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 泡 沫 经 济 / 泡 沫 經 濟] bubble economy [Add to Longdo] |
稳定物价 | [wěn dìng wù jià, ㄨㄣˇ ㄉㄧㄥˋ ㄨˋ ㄐㄧㄚˋ, 稳 定 物 价 / 穩 定 物 價] stable prices; commodity prices fixed by government (in a command economy); to valorize (a commodity) [Add to Longdo] |
自然经济 | [zì rán jīng jì, ㄗˋ ㄖㄢˊ ㄐㄧㄥ ㄐㄧˋ, 自 然 经 济 / 自 然 經 濟] natural economy (exchange of goods by bartering not involving money) [Add to Longdo] |
邓小平理论 | [Dèng xiǎo píng lǐ lùn, ㄉㄥˋ ㄒㄧㄠˇ ㄆㄧㄥˊ ㄌㄧˇ ㄌㄨㄣˋ, 邓 小 平 理 论 / 鄧 小 平 理 論] Deng Xiaoping theory; the foundation of PRC economic development after the cultural revolution, building the capitalist economy within Chinese communist party control [Add to Longdo] |
経済 | [けいざい, keizai] (n, vs) economics; business; finance; economy; (P) #556 [Add to Longdo] |
低迷 | [ていめい, teimei] (n, vs) hanging low (over); hovering around (price level); low hanging (e.g. clouds); sluggish (e.g. economy); slump; recession; (P) #9,836 [Add to Longdo] |
家政 | [かせい, kasei] (n, adj-no) household economy; housekeeping; homemaking; (P) #10,264 [Add to Longdo] |
家計 | [かけい, kakei] (n) household economy; family finances; (P) #15,159 [Add to Longdo] |
METI | [メティ, metei] (n) Ministry of Economy, Trade and Industry; METI [Add to Longdo] |
エコノミー(P);エコノミ | [ekonomi-(P); ekonomi] (n) economy; (P) [Add to Longdo] |
エコノミークラス | [ekonomi-kurasu] (n) economy class [Add to Longdo] |
エコノミークラス症候群 | [エコノミークラスしょうこうぐん, ekonomi-kurasu shoukougun] (n) economy class syndrome (occurrence of deep vein thrombosis in air travelers) [Add to Longdo] |
オールドエコノミー | [o-rudoekonomi-] (n) Old Economy [Add to Longdo] |
スケールメリット | [suke-rumeritto] (n) (See 規模効果) economy of scale (wasei [Add to Longdo] |
ゼロ成長 | [ゼロせいちょう, zero seichou] (n) zero growth; zero economic growth; no-growth economy [Add to Longdo] |
ソフト化 | [ソフトか, sofuto ka] (n, vs) shift away from manufacturing to an information and service-based economy [Add to Longdo] |
ニューエコノミー | [nyu-ekonomi-] (n) New Economy [Add to Longdo] |
バブル景気 | [バブルけいき, baburu keiki] (n) bubble economy (of Japan, 1986-1991) [Add to Longdo] |
バブル経済 | [バブルけいざい, baburu keizai] (n) bubble economy [Add to Longdo] |
バブル経済時代 | [バブルけいざいじだい, baburu keizaijidai] (n) bubble economy era [Add to Longdo] |
バブル崩壊 | [バブルほうかい, baburu houkai] (exp, n) collapse of bubble economy; economic bubble burst [Add to Longdo] |
ヤングラ市場 | [ヤングラいちば, yangura ichiba] (n) young underground market (the underground economy in goods and services, involving lots of barter and buying and selling of secondhand goods) [Add to Longdo] |
貨幣経済 | [かへいけいざい, kaheikeizai] (n) monetary economy [Add to Longdo] |
開放経済 | [かいほうけいざい, kaihoukeizai] (n) an open economy [Add to Longdo] |
規模効果 | [きぼこうか, kibokouka] (n) (See スケールメリット) economy of scale [Add to Longdo] |
均衡経済 | [きんこうけいざい, kinkoukeizai] (n) balanced economy [Add to Longdo] |
緊縮 | [きんしゅく, kinshuku] (n, vs, adj-no) shrinkage; contraction; economy; retrenchment; (P) [Add to Longdo] |
景気改善策 | [けいきかいぜんさく, keikikaizensaku] (n) economy recovery plan [Add to Longdo] |
景気刺激策 | [けいきしげきさく, keikishigekisaku] (n) business-stimulating measures; economic stimulation program; measure to stimulate the economy [Add to Longdo] |
景気低迷 | [けいきていめい, keikiteimei] (n) economic slump; economic stagnation; lackluster economy; stagnant economy; sluggish economy; slow economy; dwindling economy [Add to Longdo] |
経済モデル | [けいざいモデル, keizai moderu] (n) economy model [Add to Longdo] |
経済観念 | [けいざいかんねん, keizaikannen] (n) sense of economy [Add to Longdo] |
経済産業省 | [けいざいさんぎょうしょう, keizaisangyoushou] (n) Ministry of Economy, Trade and Industry; METI [Add to Longdo] |
経済産業相 | [けいざいさんぎょうしょう, keizaisangyoushou] (n) (See 経済産業大臣) Minister of Economy, Trade and Industry [Add to Longdo] |
経済産業大臣 | [けいざいさんぎょうだいじん, keizaisangyoudaijin] (n) Minister of Economy, Trade and Industry [Add to Longdo] |
経済性 | [けいざいせい, keizaisei] (n) economy (saving money) [Add to Longdo] |
経済復興 | [けいざいふっこう, keizaifukkou] (n) economic revitalization; economic revitalisation; rebuilding of an economy [Add to Longdo] |
経産省 | [けいさんしょう, keisanshou] (n) (abbr) (See 経済産業省) Ministry of Economy, Trade and Industry; METI [Add to Longdo] |
経産相 | [けいさんしょう, keisanshou] (n) (See 経済産業大臣) Minister of Economy, Trade and Industry [Add to Longdo] |
計画経済 | [けいかくけいざい, keikakukeizai] (n) planned economy [Add to Longdo] |
倹約 | [けんやく, kenyaku] (adj-na, n, vs, adj-no) thrift; economy; frugality; (P) [Add to Longdo] |
好況 | [こうきょう, koukyou] (n) prosperous conditions; healthy economy; (P) [Add to Longdo] |
工業主導型経済 | [こうぎょうしゅどうがたけいざい, kougyoushudougatakeizai] (n) industrial-led economy [Add to Longdo] |
高度成長 | [こうどせいちょう, koudoseichou] (n, adj-no) (See 高度経済成長) rapid growth (e.g. of the economy); advanced maturity [Add to Longdo] |
国家経済 | [こっかけいざい, kokkakeizai] (n) the national economy [Add to Longdo] |
国際経済 | [こくさいけいざい, kokusaikeizai] (n) international economy [Add to Longdo] |
国際政治経済 | [こくさいせいじけいざい, kokusaiseijikeizai] (n) international political economy [Add to Longdo] |
国内経済 | [こくないけいざい, kokunaikeizai] (n) domestic economy [Add to Longdo] |
国民経済 | [こくみんけいざい, kokuminkeizai] (n) national economy [Add to Longdo] |
混合経済 | [こんごうけいざい, kongoukeizai] (n) mixed economy [Add to Longdo] |
左前 | [ひだりまえ, hidarimae] (n) (1) going badly (one's business, one's fortune, the economy); being in a bad financial situation; (2) wearing a kimono with the right side tucked under the left (normally used only for the dead); (P) [Add to Longdo] |
市場経済 | [しじょうけいざい, shijoukeizai] (n, adj-no) market economy [Add to Longdo] |
市場経済化 | [しじょうけいざいか, shijoukeizaika] (n) moving to a market-oriented economy; market-oriented economic reform [Add to Longdo] |
自由経済 | [じゆうけいざい, jiyuukeizai] (n) free economy; (P) [Add to Longdo] |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ