326 ผลลัพธ์ สำหรับ *ส่วนตัว*
ภาษา
หรือค้นหา: ส่วนตัว, -ส่วนตัว-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
โลกส่วนตัวสูง | [Lok Suan Tua Sung] (n, adj) private person, introvert, See also: S. คนเก็บตัว, คนเก็บตัวอยู่แต่ในบ้าน, R. คนมีโลกส่วนตัวสูง |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ของส่วนตัว | (n) personal effects, See also: personal property, personal belongings, Syn. ของใช้ส่วนตัว, Example: ในการเดินทางอุปกรณ์กองกลางเรามีให้ครบครัน เอาแต่ของส่วนตัว เต็นท์กับถุงนอนไปก็พอ |
ทุนส่วนตัว | (n) private fund, See also: personal fund |
สินส่วนตัว | (n) personal property, Syn. สินเดิม, Example: เขามีสินส่วนตัวมากมาย ผู้หญิงที่ไหนก็อยากจะมายุ่งกับเขาทั้งนั้น, Thai Definition: ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดกหรือโดยการให้โดยเสน่หา หรือทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น, Notes: (กฎหมาย) |
โดยส่วนตัว | (adv) privately, Syn. ส่วนตัว, Ant. โดยทั่วไป, Example: ศิลปินชอบทำงานโดยส่วนตัวมากกว่าทำร่วมกับคนอื่น |
ห้องส่วนตัว | (n) private room, Example: เธอชอบขังตัวเองอยู่ในห้องส่วนตัว, Count Unit: ห้อง |
ห้องส่วนตัว | (n) private room, See also: boudoir, den, Example: เธอชอบขังตัวเองอยู่ในห้องส่วนตัวเป็นประจำ, Count Unit: ห้อง |
สิทธิส่วนตัว | (n) individual right, Syn. สิทธิส่วนบุคคล, Ant. สิทธิส่วนรวม, Example: กรณีที่ข้าราชการประจำขอลาออกจากตำแหน่ง ย่อมเป็นสิทธิส่วนตัวของข้าราชการแต่ละคน, Count Unit: อย่าง |
สมบัติส่วนตัว | (n) personal property, See also: individual property, Ant. สมบัติส่วนรวม, Example: ชาวบ้านบางคนลักลอบขุดหาของโบราณขึ้นมาเป็นสมบัติส่วนตัว, Count Unit: ชิ้น, Thai Definition: ทรัพย์สินที่เป็นของส่วนบุคคล |
เรื่องส่วนตัว | (n) private matter, Syn. เรื่องส่วนบุคคล, เรื่องเฉพาะบุคคล, Example: ถ้าคุณอยากเปิดเผยเรื่องส่วนตัว ควรรอให้ความสัมพันธ์ระหว่างคุณและเขามั่นคงพอสมควร, Thai Definition: เรื่องราวเฉพาะของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง |
ประวัติส่วนตัว | (n) background and personal information, Example: ผู้สมัครงานต้องกรอกประวัติส่วนตัวให้ครบถ้วน |
ความเป็นส่วนตัว | (n) privacy, See also: isolation, seclusion, retirement, Ant. ความเป็นสาธารณะ, ความเป็นส่วนรวม, Example: คนที่เป็นดาราต้องเสียความเป็นส่วนตัวไปโดยปริยาย |
ความเห็นส่วนตัว | (n) personal opinion, See also: personal idea, personal concept, personal thought, Example: คุณมีสิทธิ์ในการที่จะแสดงความเห็นส่วนตัวซึ่งอาจจะแตกต่างจากคนในกลุ่ม |
ประโยชน์ส่วนตัว | (n) personal interest, Syn. ประโยชน์ส่วนตน, Ant. ประโยชน์ส่วนรวม, Example: หากพวกเราทำงานโดยนึกถึงแต่ประโยชน์ส่วนตัว องค์กรของเราก็จะไม่ก้าวหน้า |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ความผิดต่อส่วนตัว | น. ความผิดที่มีผลต่อผู้เสียหายเป็นการเฉพาะตัวโดยตรง และมีกฎหมายกำหนดให้เป็นความผิดต่อส่วนตัว ในปัจจุบันประมวลกฎหมายอาญาเรียกว่า ความผิดอันยอมความได้. |
ส่วนตัว | ว. เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น เรื่องส่วนตัว ของใช้ส่วนตัว. |
สินส่วนตัว | น. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส หรือที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแก่ฐานะ หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดก หรือโดยการให้โดยเสน่หา หรือทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น. |
เหตุส่วนตัว | น. ข้อเท็จจริงอันเกี่ยวกับผู้กระทำความผิดคนใดคนหนึ่งอันควรยกเว้นโทษ ลดโทษ หรือเพิ่มโทษแก่ผู้กระทำความผิดเฉพาะคนนั้น เช่น เหตุที่ผู้กระทำความผิดเป็นผู้เยาว์. |
กร้อ | น. เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ เช่น ส่วนตัวมึงคือกร้อ แต่งไว้วิดเรือ (โคลงกวี), สามัญเรียกว่า ตะกร้อ. |
กักตุน | น. มีเครื่องอุปโภคบริโภคไว้ในครอบครองเกินปริมาณที่จำเป็นสำหรับใช้ส่วนตัว และไม่นำออกจำหน่ายตามวิถีทางการค้าปรกติ. |
กิ้งกือ | น. ชื่อสัตว์ขาปล้อง ชั้น Diplopodae มีเปลือกตัวแข็ง ลำตัวกลมยาวแบ่งเป็นปล้อง ไม่แบ่งอกหรือท้องให้เห็น ปล้องตามลำตัวจับกันเป็นคู่ตามยาวยืดหดเข้าหากันได้ ทำให้สามารถขดตัวเป็นวงกลมได้เมื่อถูกรบกวน ปล้องแต่ละคู่จะมีขา ๒ คู่ ยกเว้นปล้องแรกไม่มีขา ปล้องที่ ๒ ถึง ๔ มีขาเพียงคู่เดียว จำนวนขาอาจมีได้ถึง ๒๔๐ คู่ ชนิดตัวโตที่พบบ่อย อยู่ในสกุล Thyropygusเช่น กิ้งกือกระบอก ชนิด T. allevatus (Karsch) วงศ์ Harpagophoridae ส่วนตัวขนาดย่อมอยู่ในสกุล Nepalmatoiulasวงศ์ Julidae. |
งานหลวงไม่ให้ขาด งานราษฎร์ไม่ให้เสีย | ทำงานไม่บกพร่องทั้งงานส่วนรวมและส่วนตัว, ใช้เพี้ยนว่า งานหลวงไม่ขาด งานราษฎร์ไม่เสีย ก็มี. |
เฉพาะตัว | ว. เฉพาะบุคคล, ส่วนตัว. |
ถ้ำมอง | ก. แอบดูตามรูหรือตามช่อง เพื่อดูผู้หญิงทำกิจส่วนตัว, เรียกผู้ที่มีพฤติกรรมเช่นนั้น ว่า พวกถ้ำมอง. |
ธุร-, ธุระ | เรื่อง, เรื่องส่วนตัว, เช่น นี่เป็นธุระของฉัน ไม่ใช่ธุระของคุณ. |
ปรนัย | (ปะระ-, ปอระ-) ว. เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบปรนัย, คู่กับ อัตนัย, วัตถุวิสัย ก็ว่า. |
เปี้ยว ๑ | น. ชื่อปูทะเลขนาดเล็กหลายชนิด ในสกุล Ucaวงศ์ Ocypodidae ตัวผู้มีก้ามข้างหนึ่งใหญ่เท่าหรือโตกว่าลำตัว และอีกข้างหนึ่งเล็กกว่ามาก ส่วนตัวเมียมีก้ามขนาดไล่เลี่ยกันทั้ง ๒ ข้าง อาศัยอยู่ตามชายเลนในน้ำกร่อยหรือทะเล เช่น ชนิด U. dussumieri (H. Milne Edwards), ก้ามดาบ ก็เรียก. |
เผื่อ | ให้มากไว้กว่าที่ต้องการสำหรับส่วนตัวหรือผู้อื่น เช่น กินเผื่อ เอาข้าวมาเผื่อ. สัน. ถ้า, หาก, สมมุติ, เผื่อว่า ก็ใช้. |
ยอมความ | ก. ตกลงระงับคดีอาญาที่เป็นความผิดต่อส่วนตัวก่อนคดีถึงที่สุด. |
รโหฐาน | น. ที่เฉพาะส่วนตัว. |
รู้ไม่จริง | ก. รู้ไม่ถ่องแท้, รู้ไม่มากพอ, เช่น เขาชอบเล่าเรื่องส่วนตัวของเพื่อน ๆ ทั้ง ๆ ที่รู้ไม่จริง. |
รู้ไส้ | ก. รู้ความในหรือเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นเป็นอย่างดี (มักใช้เกี่ยวกับฐานะการเงิน). |
เรียน ๑ | คำขึ้นต้นจดหมายหรือที่ใช้ในการจ่าหน้าซองในหนังสือราชการที่เขียนถึงบุคคลทั่วไป หรือจดหมายส่วนตัวที่บุคคลธรรมดาเขียนถึงกันเพื่อแสดงความนับถือ. |
ละลาบละล้วง | ก. ล่วงเกิน, อาจเอื้อม, เช่น การถามเรื่องส่วนตัวถือเป็นการละลาบละล้วง. |
ละเอียดอ่อน | อ่อนไหวง่าย, สะเทือนใจง่าย, เช่น บางคนถือเรื่องส่วนตัว เรื่องการเงินเป็นเรื่องละเอียดอ่อน. |
วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. |
วัตถุวิสัย | เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. |
สบาย | สะดวก เช่น ทำตามสบายไม่ต้องเกรงใจ มีรถส่วนตัวสบายกว่าไปรถประจำทาง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สุข หรือ สะดวก เป็น สุขสบาย หรือ สะดวกสบาย |
สวกรรม | น. งานส่วนตัว. |
ส่วนพระองค์ | ว. ส่วนตัว (ใช้แก่เจ้านาย) เช่น หนังสือส่วนพระองค์. |
ส่วนองค์ | ว. ส่วนตัว (ใช้แก่หม่อมเจ้า) เช่น ของใช้ส่วนองค์. |
สอดแทรก | ก. เข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน เช่น เขาชอบไปสอดแทรกในเรื่องส่วนตัวของคนอื่น. |
สินสมรส | น. ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรม หรือโดยการให้เป็นหนังสือ เมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้ระบุว่าเป็นสินสมรส รวมทั้งทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว. |
เส้นใยแก้ว | น. เส้นใยสังเคราะห์ทําจากแก้วให้เป็นเส้นเล็ก ๆ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า เซนติเมตร นําไปทอให้เป็นแผ่นแล้วชุบฉาบด้วยเรซินซึ่งเป็นสารประเภทพลาสติก ผลที่ได้เป็นแผ่นวัสดุที่เหนียวแข็งแรง ใช้ประโยชน์ทําเป็นแผ่นฉนวนความร้อน กันเสียง เสื้อเกราะกันกระสุน สร้างเรือขนาดเล็ก สร้างส่วนตัวถังรถยนต์ เป็นต้น. |
หางนกยูง ๒ | น. ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กที่ออกลูกเป็นตัว ชนิด Poecilia reticulata Peters ในวงศ์ Poeciliidae มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ นำเข้ามาเลี้ยงและขยายพันธุ์เป็นปลาสวยงาม ลำตัวยาว แบนข้าง คอดหางใหญ่ ปากเล็กเชิดขึ้น ตาโต ตัวผู้มีขนาดโตได้ยาวเพียง ๓ เซนติเมตร ส่วนตัวเมียยาวได้ถึง ๖ เซนติเมตร, กินยุง ก็เรียก. |
หุ่นใหญ่ | น. หุ่นชนิดทำจำลองย่อส่วนตัวละครขนาดสูงประมาณ ๒ ศอก ตัวหนึ่งใช้คนเชิด ๓ คน ใช้แสดงละครเล็ก. |
เหตุในลักษณะคดี | น. ข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด ซึ่งมิใช่เหตุส่วนตัวเฉพาะผู้กระทำความผิดคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นเหตุที่เป็นคุณหรือเป็นโทษแก่ผู้กระทำความผิดนั้นด้วยกันทุกคน เช่น ข้อเท็จจริงที่ว่าลักษณะบาดแผลที่ถูกทำร้ายเป็นอันตรายแก่กายถึงสาหัสหรือไม่สาหัส. |
เห่า ๒ | น. ชื่องูพิษรุนแรงขนาดกลาง ในสกุล Naja วงศ์ Elapidae ขนาดยาวประมาณ ๑.๓-๒ เมตร พบหลายสีต่างกันไปในแต่ละตัว เช่น ดำ นํ้าตาล เขียวอมเทา เหลืองหม่น บางตัวมีลายสีขาวและบางตัวไม่มีลาย สามารถยกตัวท่อนหัวตั้งขึ้นและแผ่บริเวณคอกว้างออกได้ เรียกว่า แผ่แม่เบี้ย ขณะแผ่แม่เบี้ยจะเห็นลายดอกจันบริเวณกลางหัวด้านหลัง ทำเสียงขู่พ่นลมออกทางจมูกดังฟู่ ๆ อาศัยอยู่ตามที่ลุ่ม กินหนู กบ เขียด ลูกไก่ ในประเทศที่พบแล้ว มี ๓ ชนิด คือ เห่าไทย (N. kaouthiaLesson) ส่วนตัวที่มีสีคลํ้า เรียก เห่าหม้อ, เห่าด่างพ่นพิษ (N. siamensis Laurenti) และเห่าทองพ่นพิษ (N. sumatrana Müller) ซึ่งสามารถพ่นฉีดพิษออกจากเขี้ยวพิษได้. |
อัชฌัตติก- | (อัดชัดติกะ-) ว. ภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, เช่น อัชฌัตติกปัญญา. |
อัตนัย | ว. ที่เปิดโอกาสให้แสดงความรู้หรือความคิดเห็นส่วนตัวได้, เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบอัตนัย, คู่กับ ปรนัย, จิตวิสัย ก็ว่า. |
อัตโนมัติ | (อัดตะ-) น. ความเห็นส่วนตัว, ความเห็นโดยลำพังตน, เช่นในคำว่า อัตโนมัตยาธิบาย คือ อธิบายตามความเห็นของตน. (ป. อตฺตโน ว่า ของตน + มติ ว่า ความเห็น). |
อาณาประโยชน์ | น. ผลประโยชน์ส่วนตัวจากการที่ตนมีอำนาจปกครอง. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
private library | คลัง(โปรแกรม)ส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
personal property | สังหาริมทรัพย์ส่วนตัว, สังหาริมทรัพย์ส่วนบุคคล [ ดู personalty ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal | ส่วนตัว, ส่วนบุคคล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personalty | สังหาริมทรัพย์ส่วนตัว, สังหาริมทรัพย์ส่วนบุคคล [ ดู personal property ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal effects | ของใช้ส่วนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal interview | การสัมภาษณ์เป็นส่วนตัว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
paraphernalia | สินส่วนตัวของภริยา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
privileged communication | การติดต่อส่วนตัวซึ่งมีเอกสิทธิ์ที่ไม่จำต้องเปิดเผย [ ดู confidential communication ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
privacy | ภาวะเฉพาะส่วนตัว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
privacy | ภาวะเฉพาะส่วนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
privacy | ภาวะส่วนตัว [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
privacy, right of | สิทธิเฉพาะส่วนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
privacy | ภาวะส่วนตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
legacy | การยกทรัพย์ส่วนตัวให้โดยพินัยกรรม [ ดู bequest ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of privacy | สิทธิเฉพาะส่วนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
secretary | โต๊ะเขียนหนังสือส่วนตัว [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
separate estate | สินส่วนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
strictly personal | เป็นการส่วนตัวโดยเฉพาะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offence of disclosure of private secrets | ความผิดฐานเปิดเผยความลับ (ส่วนตัวของผู้อื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bequeath | ยกทรัพย์ส่วนตัวให้โดยพินัยกรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bequest | การยกทรัพย์ส่วนตัวให้โดยพินัยกรรม [ ดู legacy ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
communications, privileged | การติดต่อส่วนตัวซึ่งมีเอกสิทธิ์ที่ไม่จำต้องเปิดเผย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
confidential communication | การติดต่อส่วนตัวซึ่งมีเอกสิทธิ์ที่ไม่จำต้องเปิดเผย [ ดู privileged communication ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disclosure of private secrets, offence of | ความผิดฐานเปิดเผยความลับ (ส่วนตัวของผู้อื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
things personal | สิ่งของส่วนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
worker on own account | คนทำงานส่วนตัว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Virtual Private Network | เครือข่ายส่วนตัวเสมือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Personal narratives | บันทึกส่วนตัว [TU Subject Heading] |
Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] |
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatic Secretaries | ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตในสถานเอกอัครราชทูต ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตจะมีอยู่ 3 ระดับ คือ เลขานุการเอก เลขานุการโท และเลขานุการตรี ทั้งสามระดับอยู่รองลงมาจากตำแหน่งที่ปรึกษา (Counselor) ระดับทั้งหมดนี้มีฐานะทางการทูต มีเอกสิทธิ และความคุ้มกันทางการทูตทั้งมวล และชื่อจะปรากฎอยู่ในสมุดเอกสารรายชื่อบุคคลในคณะทูตตำแหน่งเลขานุการทางการ ทูตเหล่านี้ อย่าไปปนกับตำแหน่งเลขานุการส่วนตัวของเอกอัครราชทูต ซึ่งแม้จะมีฐานะสำคัญในสถานเอกอัครราชทูต แต่ไม่มีสถานภาพทางการทูตแต่อย่างใด รวมทั้งตำแหน่งเลขานุการ ซึ่งทำหน้าที่เสมียนจดชวเลขและพิมพ์ดีด [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] |
Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] |
Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] |
Drawing account | บัญชีเบิกใช้ส่วนตัว [การบัญชี] |
Constitutional Factors | ปัจจัยเฉพาะตัวบุคคล, สิ่งที่ติดตัวเด็กมาแต่กำเนิด, ความอ่อนแอเฉพาะบุคคล, ลักษณะส่วนตัว [การแพทย์] |
Corpus Endometrium | ส่วนตัวมดลูก [การแพทย์] |
Counseling, Personal | การแนะนำส่วนตัว [การแพทย์] |
Crowns | ฟัน, วิธีการครอบ;ตัวฟัน;ฟันส่วนบน;ฟันกรามน้ำนมส่วนตัวฟัน [การแพทย์] |
Events, Personal, Important | เหตุการณ์ส่วนตัวที่สำคัญ [การแพทย์] |
Favoritism | ระบบความชอบพอส่วนตัว [การแพทย์] |
natural selection | การคัดเลือกโดยธรรมชาติ, การที่ลูกหลานของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์จะมีความแตกต่างไปจากพ่อแม่เล็กน้อย ซึ่งลูกหลานเหล่านี้ตัวที่มีความเหมาะสมต่อสภาพแวดล้อมมากกว่าก็จะมีชีวิตอยู่ และสืบพันธุ์ได้ ส่วนตัวที่มีความเหมาะสมน้อยจะตายไป จึงเป็นผลให้สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนไปเพื่อให้เ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
paint | สีทา, ของเหลวที่ได้จากการผสมตัวสีตัวกลาง ตัวทำละลาย และสารอื่น ๆ ซึ่งเมื่อทาบนพื้นผิววัตถุใด ตัวสีจะเกาะติดอยู่กับผิววัตถุนั้น ส่วนตัวทำละลายจะระเหยไป ตัวกลางที่ใช้มักจะเป็นสารที่ช่วยให้ตัวสีเกาะติดกับผิววัตถุได้ดีขึ้นหรือช่วยทำให้สีแห้งเร็วขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Impression, Personal | ความรู้สึกส่วนตัว [การแพทย์] |
Individual Factors | ลักษณะส่วนตัว [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ส่วนตัว | [dōi suantūa = dōi sūantūa] (adv) EN: privately |
การประชุมส่วนตัว | [kān prachum suantūa] (n, exp) EN: private meeting FR: réunion privée [ f ] |
ของใช้ส่วนตัว | [khøngchai suantūa] (n, exp) EN: personal belongings ; personal effects FR: affaires personnelles [ fpl ] ; effets personnels [ mpl ] |
ของส่วนตัว | [khøng suantūa] (n, exp) EN: personal effects FR: effets personnels [ mpl ] |
ความเป็นส่วนตัว | [khwām pen suan tūa] (n) EN: privacy FR: intimité [ f ] |
ความสัมพันธ์ส่วนตัว | [khwām samphan suantūa] (n, exp) EN: personal relations FR: relations personnelles [ fpl ] |
เลขาส่วนตัว | [lēkhā suantūa] (n, exp) EN: private secretary FR: secrétaire particulière [ f ] |
งานส่วนตัว | [ngān suantūa] (n, exp) EN: private matter |
เป็นส่วนตัวของ ... | [pen suantūa khøng ...] (x) EN: that's ... (+ poss. adj.) business FR: c'est l'affaire de ... (+ nom) ; c'est ... (+ adj. poss.) affaire |
ผลประโยชน์ส่วนตัว | [phonprayōt suantūa] (n, exp) EN: one's own profit |
เปิดเผยทรัพย์สินส่วนตัว | [poētphoēi sapsin suantūa] (v, exp) EN: disclose personal assets |
เรื่องส่วนตัว | [reūang suantūa] (n, exp) EN: private matter ; personal matter FR: affaire personnelle [ f ] |
รถส่วนตัว | [rot suantūa] (n, exp) EN: private car FR: voiture particulière [ f ] |
รถยนต์ส่วนตัว | [rotyon suantūa] (n, exp) EN: private car FR: voiture privée [ f ] ; voiture personnelle [ f ] |
สละผลประโยชน์ส่วนตัว | [sala phonprayōt suantūa] (v, exp) EN: sacrifice one's personal interests FR: sacrifier l'intérêt personnel |
ทรัพย์สินส่วนตัว | [sapsin suantūa] (n, exp) EN: personal effects ; private property |
สินส่วนตัว | [sinsuantūa] (n) EN: personal property |
สิทธิเฉพาะส่วนตัว | [sitthi chaphǿ suantūa] (n, exp) EN: right of privacy |
สิทธิส่วนตัว | [sitthisuantūa] (n, exp) EN: individual right FR: droit individuel [ m ] |
สมบัติส่วนตัว | [sombat suantūa] (n, exp) EN: personal property ; individual property FR: propriété personnelle [ f ] |
ส่วนตัว | [suantūa = sūantūa] (adj) EN: private ; personal ; individual FR: privé ; personnel ; individuel ; particulier |
ที่ปรึกษาส่วนตัว | [thīpreuksā suantūa] (n, exp) EN: personal counselor |
ทุนส่วนตัว | [thun suantūa] (n, exp) EN: one own's capital |
ธุรกิจส่วนตัว | [thurakit suantūa] (n, exp) FR: indépendant [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
PDA | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC |
blog | (n) เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้, See also: weblog, web diary, Syn. online diary |
NGV | (n, abbrev) ยานพาหนะที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ย่อมาจาก Natural Gas Vehicles, ส่วนตัวก๊าซจะเรียกว่า Compressed Natural Gas หรือ CNG |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
act | (n) พฤติกรรมส่วนตัว (คำไม่เป็นทางการ), See also: ลักษณะนิสัย |
appropriate | (vt) นำเอามาใช้ส่วนตัว, See also: ยึดเอา, นำมาใช้ประโยชน์โดยมิชอบ, Syn. seize, take possession of |
air one's dirty linen in public | (idm) พูดถึงเรื่องส่วนตัวในที่สาธารณะ, See also: เผยเรื่องส่วนตัวต่อสาธารณะ |
backstage | (adv) เกี่ยวกับชิวิตส่วนตัว, See also: เกี่ยวกับเรื่องลับๆ |
backstairs | (n) บันไดส่วนตัว (มักอยู่ด้านหลังสำหรับคนรับใช้) |
belongings | (n) สมบัติส่วนตัว, Syn. possession |
biography | (n) อัตชีวประวัติ, See also: ประวัติชีวิต, ประวัติส่วนตัว, ชีวประวัติ, Syn. autobiography, profile |
boudoir | (n) ห้องส่วนตัวหรือห้องนอนของผู้หญิง |
chapel | (n) ห้องสวดมนต์, See also: โรงสวด, ที่ส่วนตัวในโบสถ์สำหรับผู้สวดมนต์, Syn. place of worship |
closet | (adj) ที่เป็นส่วนตัว |
coach | (n) ครูพิเศษ, See also: ครูส่วนตัว, Syn. tutor, private instructor |
close with | (phrv) เข้าประชุมเป็นส่วนตัว (ใช้รูป passive voice เสมอ) |
close with | (phrv) ขอพบเป็นส่วนตัว, See also: พบปะส่วนตัวกับ, Syn. closet with |
closet with | (phrv) เข้าประชุมเป็นส่วนตัว, Syn. be closed with |
draw aside | (phrv) ขอคุยเป็นส่วนตัว, Syn. go aside, pull aside, take apart, take aside, take on, take to |
eyeball to eyeball | (idm) ตัวต่อตัว, See also: เป็นส่วนตัว, ประจันหน้ากัน คำไม่เป็นทางการ |
face to face | (idm) เป็นส่วนตัว |
demesne | (n) ผืนดินที่อยู่ล้อมรอบบ้านหลังใหญ่, See also: ที่ดินส่วนตัว, อสังหาริมทรัพย์, Syn. land, farm, estate |
den | (n) ห้องนั่งเล่น, See also: ห้องพักผ่อน, ห้องส่วนตัว, Syn. family room |
dope | (n) ข้อมูลลับ, See also: ข้อมูลส่วนตัว, Syn. inside information |
heart-to-heart | (n) การสนทนาอย่างเปิดเผยและเป็นส่วนตัว |
have a word with | (idm) คุยกับบางคนเป็นส่วนตัว |
wheels within wheels | (idm) เรื่องวุ่นวายส่วนตัวที่กระทบคนอื่นจนกลายเป็นเรื่องใหญ่ |
incorruptible | (adj) ซื่อตรง, See also: ซื่อสัตย์, ซึ่งไม่สามารถติดสินบนได้, ที่ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว, Syn. honest, Ant. corruptible, dishonest |
individual | (adj) แต่ละบุคคล, See also: ส่วนตัว, ส่วนบุคคล, Syn. personel, private |
individual right | (n) สิทธิส่วนตัว, See also: สิทธิส่วนบุคคล |
innermost | (adj) ส่วนตัว, See also: ซึ่งเป็นความลับ, Syn. inmost, personal, Ant. outermost |
intimate | (adj) ส่วนตัว (ทางเพศ), See also: ที่เป็นส่วนตัว, Syn. private, personal |
keep oneself to oneself | (idm) เก็บไว้เป็นส่วนตัว |
juggle | (vt) จัดสรรเวลาทำงานและชีวิตส่วนตัวให้เหมาะสม, See also: ปรับให้เหมาะสม |
lyric | (adj) เกี่ยวกับบทกวีที่บรรยายความรู้สึกส่วนตัว |
muckraking | (n) การหาข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตแบบส่วนตัว |
objectivity | (n) การไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง, Syn. impartiality, detachment, Ant. prejudice, partiality |
idio | (prf) ตัวเอง, See also: ส่วนตัว, โดยเฉพาะ |
paparazzo | (n) ช่างภาพอิสระที่ถ่ายภาพคนมีชื่อเสียงโดยมักล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว, See also: ปาปาราซโซ, Syn. candid camera, shutterbug |
paraphernalia | (n) ของใช้ส่วนตัว, See also: สมบัติส่วนตัว, Syn. gear, materials, apparatus |
PC | (abbr) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว (คำย่อ Personal Computer) |
peculiarity | (n) คุณสมบัติเฉพาะ, See also: นิสัยส่วนตัว, คุณลักษณะเฉพาะ |
personal | (adj) ส่วนตัว, See also: ส่วนบุคคล, เฉพาะบุคคล, เฉพาะตัว, Syn. private, secluded, Ant. public |
personal | (adj) เกี่ยวกับทรัพย์สินส่วนตัว |
personal computer | (n) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว, Syn. microprocessor, home computer |
personal effects | (n) สังหาริมทรัพย์, See also: ทรัพย์ส่วนตัว, Syn. belongings, personal estate |
personalize | (vt) ทำให้เป็นส่วนตัว, See also: ทำให้เป็นลักษณะส่วนบุคคล, ทำให้ของบุคคล, Syn. particularize, personify |
personally | (adv) โดยส่วนตัว, See also: โดยส่วนบุคคล, เป็นส่วนตัว, Syn. in person |
personalty | (n) สังหาริมทรัพย์, See also: ทรัพย์สินส่วนตัว, Syn. personal property |
PIN | (abbr) เลขรหัสลับส่วนตัว (คำย่อของ Personal Identification Number) |
privacy | (n) ความเป็นส่วนตัว, Syn. separation |
private | (adj) ที่เป็นส่วนตัว, Syn. separate |
private practice | (n) การทำธุรกิจส่วนตัว, See also: การทำกิจการส่วนตัว |
privateer | (n) เรือส่วนตัว, Syn. private vessel |
Hope Dictionary
affair | (อะแฟรฺ') n. ธุรกิจ, เรื่อง, ราชการ, เหตุการณ์, เรื่องรัก ใคร่, เรื่องส่วนตัว, เรื่องรักที่ไม่ถูกทำนองคลองธรรม, งานชุมนุม, Syn. event, incident, party, liaison, romance |
apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ |
boudoir | (บู'ดวาร์) n. ห้องส่วนตัวของหญิง |
by-end | n. วัตถุประสงค์ส่วนตัว, วัตถุประสงค์ประกอบ |
byway | n. ถนนส่วนตัว, ถนนลี้ภัย, ถนนสายเปลี่ยว, การวิจัยที่ปิดบัง, ความพยายามที่ปิดบัง |
cabinet | (แคบ'บิเนท) n. คณะรัฐมนตรี, ตู้, ตู้มีลิ้นชัก, ตู้เฟอร์นิเจอร์ที่มีชั้นวางวิทยุ, โทรทัศน์, ห้องเล็ก, ห้องลับadj. เกี่ยวกับคณะรัฐมนตรี, เกี่ยวกับห้องส่วนตัว, Syn. chest |
camera | (แคม'เมอระ) n. กล้องถ่ายรูป, เครื่องจับภาพของโทรทัศน -Phr. (in camera ส่วนตัว), See also: cameral adj. |
clandestine | (แคลนเดส'ทิน) adj. ลับ ๆ , ลี้ลับ, ส่วนตัว, ไม่เปิดเผย., See also: clandestineness n., Syn. hidden |
closet | (โคลซ'ซิท) n. ห้องส้วม, ห้องน้ำ, ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัว, ห้องลับ, ตู้ฝาผนัง. adj. ส่วนตัว, ลับเฉพาะ, เสี่ยงโชค. |
coach | (โคชฺ) { coached, coaching, coaches } n. รถม้าสี่ล้อขนาดใหญ่, รถยนต์โดยสาร, รถไฟโดยสารชั้นถูกที่สุด, เครื่องบินโดยสารชั้น2, บัตรโดยสารชั้น 2 ของเครื่องบิน, ผู้ฝึกนักกีฬา, ครูพิเศษ, ครูส่วนตัว v. ฝึก, ฝึกสอน., Syn. trainer, tutor |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ |
conclave | (คอน'เคลฟว) n. การประชุมลับ, การประชุมส่วนตัว, สถานที่ราชาคณะสงฆ์ของศาสนาโรมันคาทอลิกประชุมกันเพื่อเลือกสันตะปาปา, วิทยาลัยของราชาคณะสงฆ์ของศาสนาโรมันคาทอลิก |
condominium | (คอนดะมิน'เนียม) n. การร่วมกันควบคุมหรือปกครอง, รัฐบาลร่วม, บ้านอพาร์ทเม้นท์ที่ผู้อยู่มีกรรมสิทธิส่วนตัวของแต่ละห้องอาพาร์เม้นท์, ตึกอพาร์ทเม้นท์ดังกล่าว -pl. -niums |
corporal | (คอร์'เพอเริล) adj. เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา, โดยส่วนตัว, เกี่ยวกับร่าง (แตกต่างจากศรีษะและแขนขา) , เกี่ยวกับวัตถุ n. สิบโท, จ่าอากาศโท, See also: corporalcy n. ดูcorporal corporalship n. ดูcorporal |
corsair | (คอร์'แซร์) n. เรือส่วนตัวที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลให้ทำการจับกุมข้าศึกได้, โจรสลัด |
curriculum vitae | n. (เคอริค'คิวลัม ไว'ที) n. ประวัติส่วนตัวโดยสังเขป., Syn. vita, vitae, -pl. curricula vitae |
den | (เดน) { denned, denning, dens } n. ถ้ำสัตว์, รัง, กรงสัตว์, ซ่องโจร, ห้องสกปรกเล็ก ๆ , ห้องส่วนตัว vi. อาศัยอยู่ในถ้ำ vt. ไล่เข้าถ้ำ |
disinterested | adj. ไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัว, ไม่สนใจ, เมินเฉย, Syn. impartial, indifferent |
driveway | (ไดรฟว'เว) n. ถนน (โดยเฉพาะส่วนตัว) ที่เข้าหาถนนใหญ่, ทางรถ |
exploit | (เอคซฺ'พลอยทฺ) { exploited, exploiting, exploits } n. ความสามารถ, พฤติการณ์ที่ดีหรือกล้าหาญ, ความสำเร็จ vt. ใช้หาประโยชน์, ใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว, , See also: exploitable adj. exploitative adj. exploiter n. |
exploitation | (เอคซฺพลอยเท'เชิน) n. การใช้หาประโยชน์, การใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว, การส่งเสริมโดยการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์, Syn. manipulation |
gentleman's gentleman | คนใช้ส่วนตัวของนายผู้ชาย, คนใช้ผู้ดี, Syn. valet |
guru | (กู'รู) n. ผู้นำที่ฉลาด, ผู้นำทางศาสนาที่ฉลาด, พระอาจารย์ส่วนตัว., See also: guruship n. |
impersonal | (อิมเพอ' ซะเนิล) adj. ไม่ใช่ส่วนตัว, ไม่มีลักษณะของมนุษย์, ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. -n. คำกริยาหรือคำนามที่ไม่ใช่บุรุษสรรพนาม. |
impersonalise | (อิมเพอ' เซิน นะไลซ) vt. ทำให้ไม่ใช่ส่วนตัว, ทำให้ไม่มีลักษณะของบุคคลหรือมนุษย์, ทำให้ขาดบุคลิกภาพ., See also: impersonalisation, impersonalization n. |
individual | (อินดะวิด'จวล) n. ตัวบุคคล, คน ๆ เดียว, สิ่งมีชีวิตเดียว, ปัจเจกชน. adj. ตัวบุคคล, เฉพาะราย, ส่วนบุคคล, ส่วนตัว, ตัวต่อตัว, โดยลำพัง, Syn. single, unique |
inner | (อิน'เนอะ) adj. ภายใน, ข้างใน, ส่วนตัว, ลับเฉพาะ, คลุมเครือ, ไม่ชัดเจน, ซ่อนเร้น., See also: innerness n., Syn. internal |
interior | (อินเทีย'เรีย) adj. ภายใน, ข้างใน, ธาตุแท้, ส่วนลึก, ภายในประเทศ, ส่วนตัว, ลี้ลับ. n. ส่วนใน, เรื่องภายใน, ส่วนในของประเทศ, ลักษณะภายใน., See also: interiority n. ., Syn. inside |
intimacy | (อิน'ทะมาซี) n. ความคุ้นเคย, ความใกล้ชิด, ความสนิทสนม, ความเข้าใจลึกซึ้ง, ความสนิทสนมในทางเพศ, ความเป็นเรื่องส่วนตัว, Syn. closeness |
intimate | อิน'ทะเมท) adj. คุ้นเคย, ใกล้ชิด, สนิทสนม, ละเอียด, ส่วนตัว, สนิทสนมในทางเพศ, ในสุด, ลึกซึ้ง, แก่นแท้. n. เพื่อนสนิท., See also: intimately adv. intimateness n. vt. แนะนำ, ชี้แนะ, แย้ม, บอกเป็นนัย, ประกาศ, แจ้ง. intimater n. intimation n. |
liveware | หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า1. วิศวกรคอมพิวเตอร์ (computer engineer) ซึ่งมีหน้าที่ดูแลเรื่องการบำรุงรักษาตัวเครื่อง หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับส่วนตัวเครื่อง (hardware) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) คือ ผู้ที่จะวิเคราะห์ระบบงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล3. นักเขียนชุดคำสั่งหรือผู้ทำโปรแกรม (programmer) คือผู้ที่จะเขียนคำสั่งต่าง ๆ ให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตาม4. ผู้ควบคุมเครื่อง (operator) คือผู้ที่จะบังคับควบคุมคอมพิวเตอร์ ด้วยการกดปุ่มบนแผงหน้าปัด ให้ทำงานตามคำสั่ง5. ผู้เตรียมข้อมูล (data entry operator) หมายถึงผู้ที่นำข้อมูลลงในสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แถบบันทึก จานบันทึกมีความหมายเหมือน peopleware |
oach | (โคช) n. รถโดยสาร, ครูพิเศษ, ครูส่วนตัว |
payola | (เพโอ'ละ) n. เงินสินบนส่วนตัว, เงินสินบนลับ |
pc | พีซีส่วนบุคคลย่อมาจากคำว่า personal computer (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป ดู microcomputer ประกอบ |
peculium | (พิคิว'เลียม) n. ทรัพย์สินส่วนตัว |
personal | (เพอ'ซะเนิล) adj. ส่วนตัว, ส่วนบุคคล, เกี่ยวกับบุรุษ (ในไวยากรณ์) , เกี่ยวกับทรัพย์สินส่วนตัว. n. ข่าวบุคคล (ในหน้าหนังสือพิมพ์) , บุคคลในข่าว, Syn. individual, private, bodily, carnal |
personal computer | คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใช้ตัวย่อว่า PC (อ่านว่า พีซี) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำขึ้นไว้ใช้เป็นการเฉพาะหรือส่วนบุคคล ส่วนมากจะหมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ (ก่อนหน้านี้ จะมีขายก็แต่คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ซึ่งเน้นในเรื่องของการเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีราคาถูกพอที่จะซื้อหามาใช้เป็นของส่วนตัวได้ ปัจจุบัน มีการผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จ (packaged software) สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดนี้กันมาก โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นงานบ้าน งานส่วนตัว เช่น งานพิมพ์ สมุดบันทึกประจำวัน บัญชีรับจ่าย จึงทำให้พีซีเป็นที่นิยมทั่วไป แต่ในบางครั้งนำมาใช้หมายถึงเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม หรือประเภทเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เพื่อให้เห็นแตกต่างระบบแมคอินทอช |
personalize | (เพอ'ซะนัลไลซ) vt. ทำให้เป็นส่วนตัว, ทำให้เป็นลักษณะส่วนบุคคล, ทำให้เป็นของตัว, ทำให้เป็นตัว., See also: personalization n. |
postern | (โพส'เทิร์น) n., adj. (เกี่ยวกับ) ประตูหลัง, ทางเข้าส่วนตัว, ประตูข้าง, ค่อนข้างน้อย |
primary key | กุญแจหลักในการสั่งให้เรียง (sort) ข้อความหรือตัวเลข จะต้องมีการกำหนดว่าจะเรียงตามอะไร เช่น ตามตัวอักษร ตามความมากน้อย ตามอายุ ฯ ตัวกำหนดนี้เรียกว่า กุญแจ (key) ตัวกำหนดที่สำคัญเป็นอันดับแรก เรียกว่า " กุญแจหลัก" ส่วนตัวสำคัญรองลงมา ก็เรียกว่า "กุญแจรอง" เช่นกำหนดให้เรียงตามตัวอักษร และอายุ ตัวอักษรจะเป็นกุญแจหลัก คือให้เรียงตามตัวอักษรก่อน เมื่อตัวอักษรซ้ำกัน จึงเรียงตามอายุ อายุก็เป็นกุญแจรอง ดู secondary key ประกอบ |
private | (ไพร'วิท) adj. สันโดษ, ส่วนตัว, ไม่ปล่อยให้คนอื่นรู้, เป็นความลับ, เฉพาะตัว, บุคคล, รโหฐาน, โดยเอกชน, เกี่ยวกับพลทหาร. n. พลทหาร, อวัยวะสืบพันธุ์. -Phr. (in private ส่วนตัวเป็นความลับ), See also: privateness n., Syn. personal |
private library | คลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library |
private practice | n. การทำธุรกิจหรือกิจการส่วนตัว |
private secretary | n. เลขานุการส่วนตัว |
privily | (พริฟ'วะลี) adv. เป็นการส่วนตัว, อย่างลับ ๆ, Syn. privately |
privy | (พริฟ'วี) adj. ส่วนตัว, เฉพาะตัว, ลับตา, ที่ลับ, ซ่อนเร้น, ส่วนพระองค์. n. ห้องส้วม, บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน, Syn. private |
public | (พับ'ลิค) n. สาธารณชน, สาธารณ adj. เกี่ยวกับสาธารณชน, โดยส่วนรวม, มีชื่อเสียง, เลื่องลือ, ระดับชาติ -Phr. (go public ขายหุ้นแก่สาธารณะ) -Phr. (in public โดยเปิดเผย, ไม่ใช่ส่วนตัว, ในที่สาธารณะ) |
sanctum | (แซงคฺ'ทัม) n. สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, ปูชนียสถาน, สถานที่หลบภัยที่มิอาจล่วงล้ำเข้าไปได้, ห้องส่วนตัว, ห้องลับ, ถ้ำ, ห้องบูชาภายใน pl. santums. sancta, Syn. sanctuary |
scene | (ซีน) n. ฉาก, เวที, ภาพ, เหตุการณ์, สถานที่เกิดเหตุ, (ละคร) บทหนึ่ง, (ภาพยนตร์) ตอนหนึ่ง, เรื่องราว, อุปกรณ์ประกอบฉาก, สิ่งแวดล้อม, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, -Phr. (behind the scenes ส่วนตัว, เป็นความลับ), Syn. view, landscape, setting, display, s |
Nontri Dictionary
backstage | (adv) หลังเวที, หลังฉาก, อย่างลับๆ, ส่วนตัว |
boudoir | (n) ห้องส่วนตัวของผู้หญิง |
cabinet | (n) ตู้ใส่ของ, ห้องลับ, ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัว, คณะรัฐมนตรี |
clandestine | (adj) ลับ, ลอบ, ไม่เปิดเผย, ปิดบัง, ส่วนตัว |
closet | (adj) ส่วนตัว, สันโดษ, ลับเฉพาะ |
closet | (n) ห้องส้วม, ห้องสุขา, ห้องลับ, ห้องส่วนตัว, ตู้ฝาผนัง |
coach | (n) รถม้า, รถโดยสาร, รถไฟ, ครูพิเศษ, ครูส่วนตัว, โค้ช |
exploitation | (n) การกล้ากระทำ, การแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว, การหากำไร |
individually | (adv) ทีละอย่าง, เฉพาะราย, เรียงตัว, โดยส่วนตัว |
inner | (adj) ข้างใน, ภายใน, ลับเฉพาะ, ส่วนตัว, ซ่อนเร้น |
interior | (adj) ชั้นใน, ภายใน, ข้างใน, ส่วนตัว, ส่วนลึก, ลี้ลับ |
intimate | (adj) คุ้นเคย, ใกล้ชิด, ส่วนตัว, สนิทสนม, ลึกซึ้ง |
personal | (adj) ส่วนตัว, เฉพาะตัว, ส่วนบุคคล, เฉพาะบุคคล, ด้วยตัวเอง |
personally | (adv) ส่วนตัว, ซึ่งแสดงเป็นตัว, ด้วยตัวเอง, เฉพาะตัว |
privacy | (n) ความเป็นส่วนตัว, ความสันโดษ, ความสงบ, ความโดดเดี่ยว |
private | (adj) ส่วนตัว, เฉพาะตัว, รโหฐาน, สันโดษ |
privately | (adv) โดยส่วนตัว, โดยเฉพาะ, อย่างสันโดษ |
privy | (adj) ส่วนตัว, ลับ, ส่วนพระองค์, เฉพาะตัว |
SELF-self-interest | (n) ความเห็นแก่ตัว, ประโยชน์ส่วนตัว |
SELF-self-sacrifice | (n) การเสียสละประโยชน์ส่วนตัว |
stateroom | (n) ห้องพิธี, ห้องส่วนตัว, ห้องนอน, ท้องพระโรง |
subjective | (adj) ส่วนตัว, เกี่ยวกับผู้กระทำ, อยู่ในใจ, เกี่ยวกับจิตวิสัย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bailout | (n) สถานการณ์ที่ธุรกิจ บุคคลส่วนตัว หรือ รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือแก่ธุรกิจที่ล้มเหลว เพื่อที่จะป้องกันผลลัพธ์ที่จะตามมาจากความหายนะของธุรกิจ การช่วยเหลือมีหลายรูปแบบ เช่น สินเชื่อ พันธบัตร หุ้น หรือ เงินสด ในเงื่อนไขที่จะคืนหรือไม่ก็ตาม |
body man | [บอดี้แมน] (n, jargon) ผู้ช่วยส่วนตัวของนักการเมือง หรือ ผู้สมัครชิงตำแหน่งทางการเมือง (ศัพท์ในวงการเมืองอเมริกัน) |
effects | (n) สินค้า, สังหาริมทรัพย์, ทรัพย์สินส่วนตัว |
hi5 | (n) เว็บไซต์ยอดนิยมของคนไทย ซึ่งสามารถลงรูปถ่ายส่วนตัว ลงเพลง อัพjournalสั้นๆ หรือแม้แต่ตกแต่ง พูดคุยสื่อสารกับชาวบ้าน http://www.hi5.com/ |
intrabusiness | [ไทย] (n, vt) Intrabusiness ก็คือ การติดต่อ ระหว่างคนในองค์กรกันเอง หรือ ระหว่างบริษัทที่เป็นคู่ค้ากันอยู่ เช่น เว็บของมหาวิทยาลัยบ คนอื่น ก็จะเข้ามาได้ แต่ไม่สามารถเข้ามาดูข้อมูลส่วนตัวได้ หรือ อย่างธนาคารที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสาขากัน |
phishing | (n) การหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ต, การส่งข้อความที่ดูน่าเชื่อถือ เพื่อหลอกลวงให้กรอกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลบัตรเครดิต ฯลฯ ลงไป, See also: phishing email, Syn. fishing |
privacy policy | นโยบายความเป็นส่วนตัว, Syn. นโยบายข้อมูลส่วนบุคคล |
self employed | ธุรกิจส่วนตัว |
Self employed business | ธุรกิจส่วนตัว |
triptych | [ทริพ-ติค] (n) บานภาพพับที่แบ่งเป็นสามแผงที่เป็นศิลปะที่นิยมสร้างกันในศิลปะยุคกอธิคของศิลปะตะวันตก และมักจะใช้เป็นฉากแท่นบูชาในวัดคริสต์ศาสนา หรือถ้ามีขนาดเล็กก็อาจจะใช้ในชาเปลส่วนตัว (Wikipedia.org), See also: diptych, polyptych, altarpiece |
Longdo Approved JP-TH
個人 | [こじん, kojin] (n) ส่วนตัว, See also: private |
経歴 | [けいれき, keireki] (n) ประวัติส่วนตัว |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
家庭教師 | [かていきょうし, kateikyoushi] (n) ครูสอนพิเศษ, ครูส่วนตัว, ผู้ภิทักษ์, |
口を合わせる | [くちをあわせる, kuchiwoawaseru] (exp) ปรับลิ้นให้เข้ากัน (กับสิ่งที่รสชาติต่างไปจากความเคยชินส่วนตัว) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
個人 | [こじん, kojin] TH: เป็นการส่วนตัว EN: individual |
私邸 | [してい, shitei] TH: บ้านพักส่วนตัว EN: private residence |
Longdo Approved DE-TH
unter vier Augen | เป็นการส่วนตัว, สองต่อสอง เช่น Kann ich mit dir unter vier Augen sprechen? |
individuell | (adj) เฉพาะบุคคล, แต่ละบุคคล, ส่วนบุคคล, ส่วนตัว |
Kosten | (n) |nur Pl.| ผลรวมรายจ่ายในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง, ค่าใช้จ่าย เช่น Die beiden Politiker haben ihre Asienreise auf eigene Kosten gemacht. นักการเมืองสองท่านนี้ใช้เงินส่วนตัวจ่ายค่าเดินทางไปทวีปเอเซีย, See also: Related: Ausgaben, Unkosten |
Lebenslauf | (n) |der, pl. Lebenläufe| ประวัติส่วนบุคคลโดยสังเขป, ประวัติส่วนตัวโดยย่อ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.125 seconds, cache age: 4.003 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม