441 ผลลัพธ์ สำหรับ *สั่น*
ภาษา
หรือค้นหา: สั่น, -สั่น-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สั่น | (v) totter, See also: stagger, be unsteady, sway, reel, Syn. โยก, คลอน, Ant. มั่นคง, แข็งแรง, Thai Definition: ไม่มั่นคง |
ใจสั่น | (v) shake, See also: tremble, shiver, quiver, palpitate, Example: พอผมได้ฟังข่าวร้ายนั้นถึงกับมือเย็นใจสั่น, Thai Definition: มีอาการหัวใจเต้นแรงผิดปกติ |
การสั่น | (n) shake, See also: tremble, quiver, quake, shudder, vibration, shiver, Syn. การเขย่า, การกระตุก, Thai Definition: การไหวถี่ๆ, การทำให้ไหวถี่ๆ |
ตัวสั่น | (adv) trembly, See also: shakily, weakly, shudderingly, Syn. สั่นเทิ้ม, Example: น้องนอนตัวสั่นด้วยความหนาวจากพิษไข้, Thai Definition: อย่างมีอาการตัวสั่นไหวถี่ๆ |
ตัวสั่น | (v) tremble, See also: shake, quiver, shiver, shudder, shiver, shudder, weak, be frail, Syn. สั่นเทิ้ม, หวาดกลัว, Example: นักโทษตัวสั่นด้วยความกลัว ขณะรอผลการพิจารณาคดีของศาล, Thai Definition: อาการที่ตัวสั่นไหวถี่ๆ ด้วยความหวาดกลัว |
ตัวสั่น | (v) tremble, See also: shake, quiver, shiver, shudder, shiver, vibrate, Example: นักโทษตัวสั่นด้วยความกลัว ขณะรอผลการพิจารณาคดีของศาล, Thai Definition: อาการที่ตัวสั่นไหวถี่ๆ ด้วยความหวาดกลัว |
ตัวสั่น | (adv) trembly, See also: shakily, Example: น้องนอนตัวสั่นด้วยความหนาวจากพิษไข้, Thai Definition: อย่างมีอาการตัวสั่นไหวถี่ๆ |
ตัวสั่น | (v) tremble, See also: shake, quiver, shiver, shudder, shiver, vibrate, Example: นักโทษตัวสั่นด้วยความกลัว ขณะรอผลการพิจารณาคดีของศาล, Thai Definition: อาการที่ตัวสั่นไหวถี่ๆ ด้วยความหวาดกลัว |
สั่นงกๆ | (v) tremble, See also: shake, quiver, shudder, shiver, Example: ตาเฒ่าสั่นงกๆ ด้วยความหนาวเหน็บ |
สั่นหัว | (v) shake one's head, Syn. ส่ายหัว, สั่นศีรษะ, ส่ายศีรษะ, Example: น้องสั่นหัวไม่ยอมพูดสักคำ, Thai Definition: อาการทำให้ศีรษะไหวถี่ๆ |
สั่นเทา | (adj) shivering, Example: รอดค่อยๆ ล้วงมืออันสั่นเทาเข้าไปควานหาเงินในกระเป๋าอย่างระมัดระวัง, Thai Definition: เกี่ยวกับอาการสั่นรัวๆ อย่างคนเป็นไข้ |
สั่นเทา | (v) shiver, Example: ขาของเขาสั่นเทาเมื่อต้องลงมาจากที่สูง, Thai Definition: อาการสั่นรัวๆ อย่างคนเป็นไข้ |
สั่นคลอน | (v) be unstable, See also: be unsteady, be infirm, be shaky, be insecure, become loose, shake, waver, Syn. ง่อนแง่น, คลอนแคลน, Example: ชีวิตสมรสจะเริ่มสั่นคลอนในวัยกลางคน, Thai Definition: ไม่มั่นคง |
สั่นคลอน | (adj) unstable, See also: unsteady, infirm, shaky, insecure, wobbly, Syn. ง่อนแง่น, คลอนแคลน, Example: ผู้สื่อข่าวรุมถามถึงสภาพอันสั่นคลอนของเก้าอี้รัฐมนตรีมหาดไทย, Thai Definition: ไม่มั่นคง |
หนาวสั่น | (v) tremble, See also: shiver, quiver, shake, Ant. ร้อนวูบ, Example: ความเยือกเย็นของอากาศทำให้ทหารยามหนาวสั่น แม้จะสวมเสื้อหนาๆ แล้วก็ตาม, Thai Definition: หนาวเย็นมากจนตัวสั่น |
สั่นระรัว | (v) vibrate, See also: shake, judder, quiver, tremble, Example: เสียงคำรามของมันหวีดหวิวจนแผ่นกระจกสั่นระรัว |
สั่นเครือ | (v) tremble, See also: quiver, shake, quaver, vibrate, Syn. สั่น, เครือ, Example: น้ำเสียงแกสั่นเครือขณะบีบมือตัวเองไว้แน่น, Thai Definition: ลักษณะของเสียงที่สั่นพร่าไม่แจ่มใส เรียกว่า เสียงเครือ |
เสียงสั่น | (n) shivering sound, See also: shaking sound, trembling sound, vibrating sound, quivering sound, Syn. เสียงสั่นเครือ, Example: พระรูปนี้มีเสียงสั่นเวลาเทศน์เพราะมีอายุมากแล้ว |
สั่นสะท้าน | (v) tremble, See also: shake, shudder, shiver, Syn. สั่น, สะท้าน, สั่นเทิ้ม, Example: เธอหนาวจนร่างกายสั่นสะท้านไปทั้งตัว, Thai Definition: อาการสั่นเย็นเยือกเข้าหัวใจ ทำให้ครั่นคร้าม หรือสั่นไหวเพราะหนาวมาก |
ไข้จับสั่น | (n) malaria, Syn. ไข้มาลาเรีย, มาลาเรีย, ไข้ป่า, Example: พอออกจากป่าได้ประมาณอาทิตย์นึงเขาก็เป็นไข้จับสั่นทันที, Thai Definition: ไข้เนื่องจากถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียกัด มีอาการหนาวและสั่น |
สั่นสะเทือน | (v) quake, See also: shake, vibrate, Syn. สะเทือน, สั่น, ไหว |
อกสั่นขวัญแขวน | (v) tremble with fright, See also: frighten, scare, Example: เจ้าพ่อตะโกนใส่ด้วยน้ำเสียงที่ดุดันทำให้หลายคนถึงกับอกสั่นขวัญแขวน, Thai Definition: ตกใจกลัวเป็นอย่างยิ่ง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กล้วยสั้น | ดู กุ ๒. |
ไข้จับสั่น | น. ไข้ที่เกิดเพราะถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียกัด มีอาการหนาวและสั่น, ไข้มาลาเรีย ก็ว่า. |
คลื่นสั้น | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง ตั้งแต่ ๓ เมกะเฮิรตซ์ ถึง ๓๐ เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารระยะไกล. |
คิดสั้น | ก. คิดทำลายตนเองเพราะหาทางออกไม่ได้. |
จับสั่น | น. ชื่อไข้ที่เกิดเพราะถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียกัด มีอาการหนาวและสั่น, ไข้จับสั่น หรือ ไข้มาลาเรีย ก็เรียก. |
ปืนสั้น | น. ชื่อปืนชนิดหนึ่ง ลำกล้องยาว ๒-๖ นิ้ว มีแหนบหรือลูกโม่สำหรับบรรจุกระสุน. |
ผ่อนสั้นผ่อนยาว | ก. ประนีประนอมกัน, อะลุ้มอล่วยกัน, ผ่อนผันสั้นยาว ก็ว่า. |
มีดสั้น | น. มีดขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายมีดพก แต่สันบางกว่า. |
มือสั้นตีนสั้น | ก. ขาดกำลังที่จะช่วยให้กิจการสำเร็จด้วยดี. |
ไม้สั้น | น. เครื่องต่อสู้ป้องกันตัวในการเล่นกระบี่กระบอง เป็นท่อนไม้ขนาดสั้น ๆ ปลายด้านหนึ่งมีห่วงสำหรับสอดแขนเข้าไปถึงข้อศอก ปลายอีกด้านหนึ่งมีไม้หลัก ๒ อัน อันในสำหรับมือจับ อันนอกเป็นเครื่องป้องกันในเวลาต่อสู้, ตรงข้ามกับ ไม้ยาว ซึ่งได้แก่พลองเป็นต้น. |
ไม้สั้นไม้ยาว | น. เรียกวิธีเสี่ยงทายแบบหนึ่งว่าจับไม้สั้นไม้ยาว คือ ใช้ไม้เล็ก ๆ ขนาดสั้นยาวลดหลั่นกันไป จำนวนเท่าคนที่จะจับ กำปลายไม้ให้โผล่เสมอกัน มักตกลงกันว่า ผู้จับได้ไม้สั้นที่สุดเป็นผู้แพ้. |
ยาวบั่น สั้นต่อ | ก. รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความคิดอาฆาตพยาบาทออกไป รักจะอยู่กันสั้น ๆ ให้คิดอาฆาตพยาบาทเข้าไว้, รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ ก็ว่า. |
รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ | ก. รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความคิดอาฆาตพยาบาทออกไป รักจะอยู่กันสั้น ๆ ให้คิดอาฆาตพยาบาทเข้าไว้, ยาวบั่น สั้นต่อ ก็ว่า. |
รู้ยาวรู้สั้น | ก. รู้จักผ่อนสั้นผ่อนยาว. |
เรื่องสั้น | น. บันเทิงคดีร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิดเป็นต้น เช่น เรื่องสร้อยคอที่หาย ของประเสริฐอักษร เรื่องจับตาย ของมนัส จรรยงค์ เรื่องมอม ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช. |
ลิ้นไก่สั้น | ว. อาการที่พูดอ้อแอ้หรือพูดไม่ชัดอย่างคนเมาเหล้าเป็นต้น. |
สั่น | ก. ไหวถี่ ๆ เช่น กลัวจนตัวสั่น หนาวจนคางสั่น, ทำให้ไหวถี่ ๆ เช่น สั่นกระดิ่ง สั่นหัว. |
สั่นงั่ก | ก. สั่นสะท้าน. |
สั่นเทา | ก. สั่นรัว ๆ อย่างคนเป็นไข้. |
สั่นเทิ้ม | ก. สั่นไปทั้งตัว. |
สั้น | ว. ลักษณะส่วนหนึ่งของสิ่งใด ๆ มีกำหนดระยะยืดหรือยืนเป็นเส้นตรงจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งน้อยกว่าอีกสิ่งหนึ่งเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น เสื้อแขนสั้น กระโปรงสั้น ถนนสายนี้สั้นกว่าถนนสายอื่น ๆ, มีระยะเวลานานน้อยกว่าอีกช่วงเวลาหนึ่ง เมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น หน้าหนาวกลางวันสั้นกว่ากลางคืน. |
สายตาสั้น | น. ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ใกล้เท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ไกลมองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์เว้า. |
อกสั่นขวัญแขวน, อกสั่นขวัญหนี, อกสั่นขวัญหาย | ก. ตกใจสุดขีด, ตกใจกลัวอย่างยิ่ง. |
เอาไม้สั้นไปรันขี้ | ก. โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลมีแต่ทางเสีย. |
ก้นบุหรี่ | น. ส่วนท้ายของมวนบุหรี่ที่สั้นจนสูบต่อไปไม่ได้, ก้นยา ก็เรียก. |
ก้นยา | น. ส่วนท้ายของมวนบุหรี่ที่สั้นจนสูบต่อไปไม่ได้, ก้นบุหรี่ ก็เรียก. |
กบ ๒ | น. ชื่อสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกหลายชนิด ในสกุล Rana วงศ์ Ranidae ลำตัวสั้นป้อมมีขนาดต่าง ๆ กัน ขาคู่หลังใหญ่และยาวกว่าขาคู่หน้า ตีนแบนมีพังผืดติดเป็นพืด เมื่อโตเต็มที่ไม่มีหาง กระโดดได้ไกล ว่ายน้ำ ดำน้ำได้เร็ว เมื่อยังเป็นตัวอ่อนมีหาง อยู่ในน้ำเรียกว่า ลูกอ๊อด ภายหลังจึงงอกขา หางหดหายไป แล้วขึ้นอาศัยบนบก หน้าแล้งอยู่แต่ในรู ไม่ออกหาอาหารชั่วคราว เรียกว่า กบจำศีล เช่น กบนา [ Hoplobatrachus rugulosus (Wiegmann) หรือ R. rugulosus (Wiegmann) ]. |
กรน | (กฺรน) ก. หายใจมีเสียงดังในลำคอขณะหลับ เหตุลิ้นตกจุกคอหอยหรือลิ้นตกจุกคอหอยและลิ้นไก่กับเพดานอ่อนสั่น. |
กรอด ๓ | (กฺรอด) ก. บรรเลงดนตรีประเภทเครื่องตีดำเนินทำนอง โดยวิธีบังคับหรือห้ามเสียงในช่วงท้ายให้สั้นลง มักใช้ในการตีระนาด ฆ้องวง และกรับเสภา. |
กระจกเงา | น. แผ่นกระจกฉาบด้านหลังด้วยแผ่นบาง ๆ ของโลหะเงินหรือโลหะเจือปรอทแล้วทาสีทับ ใช้สำหรับส่องหน้าเป็นต้น, มักเรียกสั้น ๆ ว่า กระจก, ลักษณนามว่า บาน, ราชาศัพท์ว่า พระฉาย |
กระแจะ ๒ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นและกิ่งมีหนามเปลือกขรุขระสีเทา ดอกเล็กสีขาวเป็นช่อสั้น ยาวประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ท่อนไม้ฝนกับนํ้าใช้เป็นเครื่องประทิ่นผิว รากใช้ทำยา, กะแจะ ขะแจะ ตุมตัง หรือ พญายา ก็เรียก. |
กระฉอก | ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเพื่อมอย่างแรงหรือล้นหกเพราะความสั่นสะเทือน, (ปาก) กระดอนหรือกระเด้ง เช่น ลูกบอลกระฉอกออกจากมือผู้รักษาประตู. |
กระชอน ๒ | น. ชื่อแมลงหลายชนิด ในวงศ์ Gryllotalpidae ลำตัวสีน้ำตาล ยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร ปีกสั้น บินได้ในระยะใกล้ ขาคู่หน้าสั้นป้อมและแบนทางข้าง คล้ายอุ้งมือ ปลายมีหนามแข็งใช้ขุดดิน อาศัยอยู่ในดิน กินรากพืชและแมลงเล็ก ๆ ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Gryllotalpa orientalis Burmeister. |
กระดี่ได้น้ำ | น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น เช่น เขาดีใจเหมือนกระดี่ได้น้ำ. |
กระติ๊ด ๑ | น. ชื่อนกขนาดเล็ก ในวงศ์ Estrildidae ปากสั้นหนารูปกรวยปลายแหลม หัวกลม ลำตัวอ้วนป้อม มีหลายสี ปลายหางแหลม ใช้หญ้าทำรังเป็นรูปกลมอยู่บนพุ่มไม้เตี้ย ๆ หรือกอหญ้า ปากรังอยู่ทางด้านข้าง กินเมล็ดพืช มีหลายชนิด ที่พบมาก คือ กระติ๊ดขี้หมู [ Lonchura punctulata (Linn.) ] ชนิดอื่น ๆ เช่น กระติ๊ดเขียวหรือไผ่ [ Erythrura prasina (Sparrman) ] กระติ๊ดแดงหรือสีชมพูดง [ Amandava amandava (Linn.) ] กระติ๊ดท้องขาว[ Lonchura leucogastra (Blyth) ], กะทิ ก็เรียก. |
กระเต็น | น. ชื่อนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิด ในวงศ์ Alcedinidae หัวโต คอสั้น ปากแหลม ยาว ตรง แบนข้าง และแข็งแรง หากินโดยวิธีพุ่งตัวลงจับเหยื่อเช่นปลาในนํ้าหรือแมลงตามท้องทุ่ง พวกที่มีขนาดเล็กส่วนใหญ่มีสีสวยสะดุดตา เช่น กระเต็นน้อยแถบอกดำ ( Alcedo euryzona Temminck) กระเต็นน้อยสามนิ้ว [ Ceyx erithacus (Linn.) ] พวกที่มีขนาดกลาง เช่น กระเต็นลาย [ Lacedo pulchella (Horsfield) ] กระเต็นอกขาว [ Halcyon smyrnensis (Linn.) ] กระเต็นสร้อยคอสีน้ำตาล [ Actenoides concretus (Temminck) ] และพวกที่มีขนาดใหญ่ เช่น กระเต็นขาวดำใหญ่ [ Megaceryle lugubris (Temminck) ] กระเต็นปักหลักหรือปักหลัก [ Ceryle rudis (Linn.) ]. |
กระแต ๔ | น. ชื่อนกขนาดเล็ก วงศ์ย่อย Charadriinae ในวงศ์ Charadriidae หัวใหญ่ ปากสั้น อาจมีเดือยที่ปีก ขายาวปานกลาง มี ๔ ชนิด คือ กระแตหาด [ Vanellus duvaucelii (Lesson) ] กระแตหัวเทา [ V. cinereus (Blyth) ] กระแตหงอน [ V. vanellus (Linn.) ] และกระแตแต้แว้ดหรือต้อยตีวิด [ V. indicus (Boddaert) ]. |
กระถิก, กระถึก | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Sciuridae เป็นกระรอกขนาดเล็ก ขนสีนํ้าตาล มีแถบสีน้ำตาลเข้ม ๓ แถบพาดตามยาวลำตัว สลับกับแถบสีน้ำตาลจาง ๆ ๔ แถบ ตั้งแต่สันหลังลงไปถึงข้างลำตัว อาศัยอยู่ตามต้นไม้สูง ๆ กินแมลงและผลไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ กระถิกขนปลายหูยาว [ Tamiops rodolphe i (Milne-Edwards) ] และกระถิกขนปลายหูสั้น [ T. mxcclellandi (Horsfield) ], กระเล็น ก็เรียก. |
กระทา | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Phasianidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับไก่และไก่ฟ้า ลำตัวกลม ขนลายเป็นกระ ปีกและหางสั้น บินได้ในระยะทางสั้น ๆ คุ้ยเขี่ยหาอาหารบนพื้นดิน กินเมล็ดพืชและแมลง เช่น กระทาทุ่ง [ Francolinus pintadeanus (Scopoli) ] กระทาดงคอสีแสด [ Arborophila rufoyularis (Blyth) ] กระทาป่าไผ่ ( Bambusicola fytchii Anderson) กระทาดงปักษ์ใต้ [ A. chaltionii (Eyton) ]. |
กระทุ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk. ในวงศ์ Myrtaceae ขึ้นชุมตามป่าโปร่งทางปักษ์ใต้ ใบหนา สีเขียวแก่ ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง บางทีออกเป็น ๓ ใบจากข้อเดียวกัน ด้านล่างของใบมีขนทึบสั้น ๆ ดอกสีชมพู สัณฐานคล้ายกุหลาบลาขนาดเล็ก ๆ ออกตามง่ามใบ ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ ๒-๓ ดอกก็มี ผลกลม เมื่อสุกสีม่วงดำ กินได้ มีรสหอมหวาน, ทุ พรวด พรวดใหญ่ หรือ พรวดกินลูก ก็เรียก. |
กระเทือน | ก. มีอาการสั่นไหวเพราะถูกกระทบ เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกกระเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านกระเทือน, โดยปริยายหมายความว่า เป็นทุกข์กังวล เช่น เขาว่าลูกก็กระเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่กระเทือน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ กระทบ เป็น กระทบกระเทือน, สะเทือน ก็ว่า. |
กระบม | น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุด รูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระโบม ก็เรียก, อีสานและพายัพว่า กะบมหรือกะโบม. |
กระบอก ๑ | เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง เรียกว่า เสื้อกระบอก |
กระบี่ ๒ | น. อาวุธชนิดหนึ่ง ใบแบนยาว ปลายแหลม มีคมข้างหนึ่งหรือทั้ง ๒ ข้าง ด้ามสั้น ที่ด้ามถืออาจมีโกร่งหรือไม่มีก็ได้ มีฝัก. |
กระเบน | น. ชื่อปลากระดูกอ่อนพวกหนึ่ง มีหลายชนิด หลายสกุล และหลายวงศ์ ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ลำตัวกว้างตั้งแต่ ๑๕-๓๐๐ เซนติเมตร ลำตัวแบนลงมาก และต่อเนื่องกับครีบอกแผ่ออกด้านข้าง บางชนิดแผ่ออกไปจดด้านหน้าและด้านท้ายเกือบเป็นวงกลมดูคล้ายจานหรือว่าว บางชนิดแผ่ยื่นด้านข้างออกไปเป็นปีกคล้ายนกหรือผีเสื้อ และบางชนิดครีบอกแผ่ไปไม่ถึงส่วนหน้า ทำให้หัวแยกจากลำตัวและส่วนยื่นของหัวเป็นลอน มีเหงือก ๕ คู่ อยู่ด้านล่างของส่วนหัว บริเวณถัดจากส่วนท้ายของนัยน์ตามีรูเปิดข้างละช่อง ซึ่งด้านในติดต่อกับโพรงเหงือกและปาก หางส่วนมากเรียว สั้นบ้างยาวบ้าง มักมีผิวหยาบหรือขรุขระ บางพวกมีเงี่ยงอยู่บนหางตอนใกล้ลำตัว และมีต่อมน้ำพิษอยู่บริเวณโคนเงี่ยง เมื่อใช้เงี่ยงแทงจะปล่อยน้ำพิษออกมาด้วย ทำให้คนหรือสัตว์ที่ถูกแทงรู้สึกปวด |
กระโบม ๒ | น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุด รูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระบม ก็เรียก, อีสานและพายัพว่า กะบมหรือกะโบม. |
กระเรียน | น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Grus antigone (Linn.) ในวงศ์ Gruidae ขนลำตัวสีเทา หนังหัวและต้นคอสีแดง คอยาว ขายาว ปีกกว้าง หางกว้างและสั้น เวลาบินคอเหยียดตรง หากินตามที่ราบลุ่ม กินพืช แมลง และสัตว์ขนาดเล็ก, กาเรียน ก็เรียก. |
กระเส่า, กระเส่า ๆ | ว. สั่นเครือและเบา (ใช้แก่เสียง). |
กระแห, กระแหทอง | น. ปลาตะเพียนขนาดกลางชนิด Barbonymus schwanefeldi (Bleeker) หรือ Puntius schwanefeldi (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวสั้นกว้างคล้ายปลาตะเพียนขาว มักมีสีแดงอ่อนบนครีบ เฉพาะส่วนปลายของครีบหลังและขอบทั้งบนและล่างของครีบหางมีสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๔๐ เซนติเมตร, ตะเพียนหางแดง หรือ เลียนไฟ ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ลำปำ. |
กรัน ๒ | (กฺรัน) น. ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่งของสกุล Musax paradisiaca L. ผลสั้นป้อม ไม่มีเมล็ด. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
postmalarial; postpaludal | -หลังเป็นไข้จับสั่น, -หลังเป็นมาลาเรีย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paludism; fever, malarial; malaria | ไข้จับสั่น, (ไข้)มาลาเรีย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palustral; malarial | -ไข้จับสั่น, -มาลาเรีย [ มีความหมายเหมือนกับ malarious ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postpaludal; postmalarial | -หลังเป็นไข้จับสั่น, -หลังเป็นมาลาเรีย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallaesthetic; pallesthetic; palmaesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallesthesia; pallaesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallesthetic; pallaesthetic; palmaesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmesthetic; pallaesthetic; pallesthetic; palmaesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmus; palpitation; tremor, cordis | อาการใจสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
persistent tremor | อาการสั่นตลอดเวลา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
passive tremor; tremor, rest; tremor, resting | อาการสั่นขณะอยู่เฉย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postural tremor; tremor, action; tremor, intention; tremor, kinetic | อาการสั่นขณะจะทำการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palpitation; palmus; tremor, cordis | อาการใจสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmaesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmaesthetic; pallaesthetic; pallesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laryngograph; glottograph | เครื่องวัดเส้นเสียงสั่น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resonant frequency | ความถี่สั่นพ้อง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resonance | การสั่นพ้อง, การกำธร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
resonance | การสั่นพ้อง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resonance, vocal | การสั่นพ้องเสียงพูด, การกำธรเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
resilient mounting | อุปกรณ์รองรับการสั่นสะเทือน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resting tremor; tremor, passive; tremor, rest | อาการสั่นขณะอยู่เฉย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rest tremor; tremor, passive; tremor, resting | อาการสั่นขณะอยู่เฉย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
shiver | ๑. สั่น (เช่น หนาว)๒. อาการสะท้าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
seismomorphogenesis | การเกิดสัณฐานเพราะการสั่น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
shock absorber; suspension damper | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
shimmy | การสั่นแกว่ง [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
synclonus | อาการกล้ามเนื้อกระตุกสั่นด้วยกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
senile tremor | อาการสั่นวัยชรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensibility, vibratory; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suspension damper; shock absorber | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
oscillation | ๑. การแกว่งไกว [ มีความหมายเหมือนกับ vibration ๑ ]๒. การสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
action tremor; tremor, intention; tremor, kinetic; tremor, postural | อาการสั่นขณะจะทำการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
abasia, trembling; abasia trepidans | ภาวะเดินไม่ได้เหตุขาสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
alcohol withdrawal delirium; delirium tremens | โรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
athetosis | อาการสั่นหลังอัมพาต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antirattle spring | สปริงลดการสั่น [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ankle clonus | ข้อเท้ากระตุกสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
asterixis; tremor, flapping | อาการสั่นกระพือ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
abasia trepidans; abasia, trembling | ภาวะเดินไม่ได้เหตุขาสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
judder | การสั่นกระตุก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malaria; fever, malarial; paludism | ไข้จับสั่น, (ไข้)มาลาเรีย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
malarial; palustral | -ไข้จับสั่น, -มาลาเรีย [ มีความหมายเหมือนกับ malarious ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
malarial fever; malaria; paludism | ไข้จับสั่น, (ไข้)มาลาเรีย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
malarious | ๑. -ไข้จับสั่น, -มาลาเรีย [ มีความหมายเหมือนกับ malarial; palustral ]๒. -ไข้จับสั่นชุก, -มาลาเรียชุก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cordis tremor; palmus; palpitation | อาการใจสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
clonus | อาการกระตุกสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
clonus, ankle | ข้อเท้ากระตุกสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Vibration | การสั่นสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mechanical vibration | การสั่นสะเทือนเชิงกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Active noise and vibration control | การควบคุมเสียงและความสั่นสะเทือนแบบแอคทีฟ [TU Subject Heading] |
Modal analysis | การวิเคราะห์การสั่นไหว [TU Subject Heading] |
Shock absorbers | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Ventricular fibrillation | การสั่นของหัวใจห้องล่าง [TU Subject Heading] |
Vibration | การสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Butyl Rubber or Isobutylene Isoprene Rubber: IIR | ยาง IIR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากโคโพลิเมอร์ระหว่าง isobutylene กับ isoprene มีสมบัติทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องจากสารเคมี ความร้อน แสงแดด ได้เป็นอย่างดี มีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้อง นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีสมบัติเด่น คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำมาก ดังนั้นจึงนิยมใช้ในการผลิตยางในรถยนต์ หรือเคลือบผนังด้านในของยางเรเดียล ใช้ทำถุงยางลมสำหรับอบยางล้อให้คงรูปในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น และเนื่องการมีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้อง ทำให้ดูดซับพลังงานกลและการสั่นสะเทือนได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กว้าง จึงเหมาะที่จะผลิตเป็นยางกันสะเทือนด้วย [เทคโนโลยียาง] |
Isobutylene isoprene rubber or Butyl rubber | ยาง IIR หรือยางบิวไทล์เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากโคพอลิเมอร์ระหว่าง isobutylene กับ isoprene มีสมบัติทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องจากสารเคมี ความร้อน แสงแดด ได้เป็นอย่างดี มีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้องทำให้ดูดซับพลังงานกลและการสั่น สะเทือนได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กว้าง จึงเหมาะที่จะผลิตเป็นยางกันสะเทือน นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีสมบัติเด่น คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำมาก ดังนั้นจึงนิยมใช้ในการผลิตยางในรถยนต์ หรือเคลือบผนังด้านในของยางเรเดียล ใช้ทำถุงยางลมสำหรับอบยางล้อให้คงรูปในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Oscillating disc rheometer | เครื่องมือที่ใช้ในการหาเวลาที่ยางเกิดการคงรูป (หรือหาอัตราเร็วของการเกิด ปฏิกิริยาวัลคาไนเซชัน) โดยวัดค่าความแข็งที่เพิ่มขึ้นของยางคอมพาวด์เมื่อเกิดการวัลคาไนซ์จากการ สั่นของตัววัด (Disc) ภายในช่องวัด (Chamber) เครื่องมือชนิดนี้มีความสำคัญมากต่อโรงงานอุตสาหกรรมยาง เพราะนอกจากเครื่อง ODR จะช่วยบอกระยะเวลาที่ทำให้เกิดยางตายหรือที่เรียกในภาษาเทคนิคว่า “scorch time” แล้ว เครื่องมือนี้ยังบอกระยะเวลาที่เหมาะสมในการอบยางให้คงรูป (optimum cure time)อีกด้วย [เทคโนโลยียาง] |
Asterixis | มือสั่น, การสั่นกระพือของมือ, อัสทีริกซิส [การแพทย์] |
Atrial Fibrillation | หัวใจเต้นผิดปกติ, เอเตรียลฟิบริลเลชัน, การสั่นของหัวใจห้องบน [การแพทย์] |
Brain, Pulsation of | การสั่นสะเทือนของสมอง, การสั่นสะเทือนของสมอง [การแพทย์] |
Carpopedal Spasm | การเกร็งของกล้ามเนื้อฝ่ามือ, นื้วมือเหยียดเกร็ง, มือและเท้าเกร็ง, ข้อมือและฝ่ามือเกร็ง, แขนขาสั่น, การกระตุกงอมือและเท้า [การแพทย์] |
Chill | การสั่น, หนาวสั่น, หนาวสะท้าน [การแพทย์] |
Chill and Fever, Unexplained | มีไข้หนาวสั่นอธิบายสาเหตุไม่ได้ [การแพทย์] |
Chill, Shaking | หนาวสั่นมาก [การแพทย์] |
Chill, Zinc | การสั่นแบบได้รับสังกะสี [การแพทย์] |
Chilliness | หนาวสั่น, สะท้าน [การแพทย์] |
Convulsions, Generalized | การสั่นกระตุกเห็นได้ชัดเจน [การแพทย์] |
Delirium Trements | โรคสั่นและเพ้อ [การแพทย์] |
Dyskinetic Type | แบบสั่นกระตุก [การแพทย์] |
Energy, Vibrational | พลังงานการสั่น [การแพทย์] |
Excitation, Vibrational | การเร้าการสั่น [การแพทย์] |
Fasciculation | ฟาสศิคุเลชั่น, กล้ามเนื้อมีการสั่นกระตุกเห็นเป็นคลื่นใต้ผิวหนัง, การกระตุกของกล้ามเนื้อ, กล้ามเนื้อหดตัวเป็นหย่อมๆ, อาการกระตุกของกล้ามเนื้อ, การกระตุก, กล้ามเนื้อกระตุก [การแพทย์] |
Febrile Non-Hemolytic Reaction | มีไข้หนาวสั่นจากการให้เลือด [การแพทย์] |
Fluid Thrill | การสั่นสะเทือนของสารน้ำการสั่นสะเทือนของของเหลว [การแพทย์] |
ความสับสน | ความสับสน, สภาพการใช้สติสัมปะชัญญะ การรับรู้ หรือการคิด ที่ทำให้เกิดความลังเล ไม่แน่ใจ เกิดความไม่ชัดเจน ยุ่งเหยิง วุ่นวายของอารมณ์หรือความคิด จนแสดงออกทางกาย เช่น ประหม่้า กระวนกระวาย สั่น หรือแสดงให้เห็นถึงระดับวุฒิภาวะของบุคคลนั้น โดยเฉพาะเรื่องกาลเวลา สถานที่ แล [สุขภาพจิต] |
vibrating roller | vibrating roller, รถบดแบบสั่นสะเทือน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
resonance | การสั่นพ้อง, เรโซแนนซ์, ปรากฎการณ์เมื่อระบบถูกทำให้สั่นด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบเองแล้ว การสั่นนั้นจะสั่นได้รุนแรงหรือมีช่วงกว้างของการสั่นกว้างมากที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
wave | คลื่น, การรบกวนซึ่งเกิดจากการถ่ายโอนพลังงานผ่านตัวกลางหรืออวกาศ เช่น คลื่นเสียงเกิดจาการสั่นของวัตถุในอากาศ แล้วถ่ายโอนพลังงานผ่านอากาศ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electromagnetic wave | คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, คลื่นซึ่งเกิดจากการสั่นของประจุไฟฟ้าหรือเกิดจากประจุไฟฟ้าที่มีความเร่ง คลื่นนี้ประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนค่าตลอดเวลาและตั้งฉากซึ่งกันและกัน แผ่กระจายออกจากแหล่งกำเนิดคลื่นด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
natural frequency | ความถี่ธรรมชาติ, ความถี่ของการสั่นอย่างอิสระของวัตถุหรือระบบ เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
node | บัพ, ตำแหน่งของคลื่นในคลื่นนิ่งซึ่งมีการกระจัดเป็นศูนย์ หรือซึ่งตัวกลางไม่มีการสั่น จากรูป ตำแหน่ง N คือ บัพ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antinode | ปฏิบัพ, ตำแหน่งของคลื่นในคลื่นนิ่ง ซึ่งมีการกระจัดมากที่สุด หรือซึ่งตัวกลางมีการสั่นมากที่สุด จากรูป ตำแหน่ง A คือ ปฏิบัติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
polarization | โพลาไรเซชัน, กระบวนการที่จำกัดให้คลื่นตามขวางสั่นในระนาบเดียว เช่น โพลาไรเซชันของแสง คือ กระบวนการที่จำกัดให้สนามไฟฟ้าของคลื่นแสงสั่นในระนาบเดียว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
plane of polarization | ระนาบโพลาไรเซชัน, ระนาบของการสั่นของคลื่นโพลาไรซ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
resonance tube | หลอดเรโซแนนซ์, อุปกรณ์ทดลองเกี่ยวกับการเกิดการสั่นพ้องของเสียง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
earthquake | แผ่นดินไหว, การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
period | คาบ, เวลาที่เคลื่อนที่ครบ 1 รอบของการเคลื่อนที่แบบสั่น หรือการเคลื่อนที่แบบคลื่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Iridodonesis | ม่านตาสั่นกระเพื่อม, การพริ้วของม่านตา [การแพทย์] |
Jitteriness | สะดุ้งผวา, การสั่นกระตุก [การแพทย์] |
Jitters, Preappearance | อาการสั่นๆ [การแพทย์] |
Jittery | อาการสั่นง่าย [การแพทย์] |
Joint Vibration | ความรู้สึกสั่นสะเทือนของข้อ [การแพทย์] |
Jumpy | สั่น [การแพทย์] |
Malaria | มาลาเรีย; มาลาเรีย, ไข้จับสั่น; โรคไข้จับสั่น; ไข้มาลาเรีย; ไข้จับสั่น [การแพทย์] |
Malaria, Cerebral | มาเลเรียขึ้นสมอง, ไข้จับสั่นขึ้นสมอง, มาลาเรียทางสมอง, มาลาเรียขึ้นสมอง [การแพทย์] |
Motion, Vibrational | การเคลื่อนที่โดยการสั่น [การแพทย์] |
Movement, Brownian | สั่นไปๆมาๆอยู่กับที่, บราวน์เนียนมูฟเม้นท์, การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อายุสั้น | [āyu san] (adj) EN: short-lived |
ชื่อเรียกสั้น ๆ | [cheū rīek san-san] (n, exp) FR: surnom [ m ] ; sobriquet [ m ] |
ช่วงสั้น ๆ | [chūang san-san] (x) EN: for a short period |
ชุมนุมเรื่องสั้น | [chumnum reūangsan] (n, exp) EN: anthology of short stories FR: recueil de nouvelles [ m ] |
หัวสั่นหัวคลอน | [hūa san hūa khløn] (n, exp) EN: run full tilt |
กางเกงขาสั้น | [kāngkēng khā san] (n, exp) EN: shorts ; short pants FR: short [ m ] ; bermuda [ m ] |
การสั่น | [kān san] (n) EN: shake ; tremble ; quiver ; quake ; shudder ; vibration ; shiver FR: tremblement [ m ] ; vibration [ f ] ; frémissement [ m ] |
การวางแผนในระยะสั้น | [kān wāngphaēn nai raya san] (n, exp) EN: short-term planning |
การวางแผนระยะสั้น | [kān wāngphaēn raya san] (n, exp) EN: short range planning |
การวิ่งระยะสั้น | [kān wing raya san] (n, exp) FR: sprint [ m ] |
ไข้จับสั่น | [khai jap san] (n) EN: malaria FR: malaria [ f ] ; paludisme [ m ] |
คำเรียกสั้น ๆ | [kham rīek san san] (n, exp) EN: diminutive FR: diminutif [ m ] |
ข่าวสั้น | [khāo san] (n, exp) EN: news in brief FR: nouvelles en bref [ fpl ] ; flash d'information [ m ] |
เข็มสั้น | [khem san] (n, exp) EN: hour hand FR: petite aiguille [ f ] |
ขีดสั้น | [khīt san] (n) EN: short line ; hyphen FR: tiret [ m ] ; trait d'union [ m ] |
คิดสั้น | [khitsan] (v) EN: suicide ; take one's own life |
คลื่นสั้น | [khleūn san] (n, exp) EN: short wave [ f ] FR: onde courte [ f ] |
กระเล็นขนปลายหูสั้น | [kralen khon plāi hū san] (n, exp) EN: Burmese Striped Squirrel |
กระโปรงบานขาสั้น | [kraprōng bān khā san] (n, exp) FR: lycéenne [ f ] ; collégienne [ f ] |
กระโปรงสั้น | [kraprōng san] (n, exp) EN: miniskirt FR: minijupe [ f ] |
หลับช่วงสั้น ๆ | [lap chūang san san] (v, exp) EN: cat nap FR: dormir un bref instant ; piquer un roupillon (fam.) |
โลมาหัวขวดปากสั้น | [lōmā hūa khūat pāk san] (n, exp) EN: Tropical Bottle-nosed Dolphin |
แนวโน้มในระยะสั้น | [naēonōm nai raya san] (n, exp) EN: short-term trend FR: tendance à court terme [ f ] |
ในระยะสั้น | [nai raya san] (x) EN: in the short-term FR: à court terme |
ในระยะสั้น | [nai raya san] (n, exp) FR: sur une courte distance |
นากเล็กเล็บสั้น | [nāk lek lep san] (n, exp) EN: Oriental Small-clawed Otter |
นักวิ่งระยะสั้น | [nakwing raya san] (n, exp) EN: sprinter FR: sprinteur [ m ] ; sprinteuse [ f ] ; sprinter [ m ] (anglic.) |
หนาวสั่น | [nāo san] (n) EN: shivering FR: frisson [ m ] ; tremblement [ m ] ; grelottement [ m ] |
หน้าสั้น | [nā san] (x) EN: Ompok bimaculatus |
นวนิยายเรื่องสั้น | [nawaniyāi reūang san] (n) EN: short story FR: nouvelle [ f ] ; opuscule [ m ] ; recueil [ m ] |
นโยบายระยะสั้น | [nayōbāi raya raya san] (n, exp) EN: short-term policy FR: politique à court terme [ f ] |
เงินให้กู้ยืมระยะสั้น | [ngoen hai kūyeūm raya san] (n, exp) EN: short-term loan |
เงินกู้ยืมระยะสั้น | [ngoen kūyeūm raya san] (n, exp) EN: short-term loan |
เงินลงทุนระยะสั้น | [ngoen longthun raya san] (n, exp) EN: short-term investment |
เงินทุนระยะสั้น | [ngoenthun raya san] (n, exp) EN: working capital |
หนี้ระยะสั้น | [nī raya san] (n, exp) EN: floating debt |
หนี้สินระยะสั้น | [nīsin raya san] (n, exp) EN: short-term liabilities |
นกจมูกหลอดหางสั้น | [nok jamūk løt hāng san] (n, exp) EN: Short-tailed Shearwater FR: Puffin à bec grêle [ m ] ; Puffin à bec mince [ m ] |
นกจู๋เต้นหางสั้น | [nok jū ten hāng san] (n, exp) EN: Streaked Wren-Babbler FR: Turdinule à queue courte [ f ] ; Timalie zébrée [ f ] ; Turdinule maillée [ f ] |
นกกะปูดนิ้วสั้น = นกกระปูดนิ้วสั้น | [nok kapūt niū san = nok krapūt niū san] (n, exp) EN: Short-toed Coucal FR: Coucal de Strickland [ m ] |
นกเค้าแมวหูสั้น | [nok khao maēo hū san] (n, exp) EN: Short-eared Owl FR: Hibou des marais [ m ] ; Hibou brachyote [ m ] ; Grande Chevêche [ f ] ; Duc à oreilles courtes [ m ] ; Dame des marais [ f ] |
นกคอสั้นตีนไว | [nok khø san tīn wai] (n, exp) EN: Sanderling FR: Bécasseau Sanderling [ m ] ; Sanderling des sables [ m ] ; Bécasseau des sables [ m ] |
นกกินแมลงป่าหางสั้น | [nok kin malaēng pā hāng san] (n, exp) EN: Short-tailed Babbler FR: Akalat à queue courte [ m ] ; Timalie à queue courte [ f ] |
นกปากนกแก้วหางสั้น | [nok pāk nok kaēo hāng san] (n, exp) EN: Short-tailed Parrotbill FR: Paradoxornis de David [ m ] ; Paradoxornis à queue courte [ m ] ; Paradoxornis du Père David [ m ] |
นกปีกสั้น | [nok pīk san] (n, exp) EN: shortwing |
นกปีกสั้นเล็ก | [nok pīk san lek] (n, exp) EN: Lesser Shortwxing FR: Petite Brachyptère [ f ] ; Petite Courtaile [ f ] ; Brachyptéryx à queue courte ; Petite Grive à ailes courtes [ f ] |
นกปีกสั้นสีน้ำเงิน | [nok pīk san sī nāmngoen] (n, exp) EN: White-browed Shortwing FR: Brachyptère bleue [ f ] ; Courtaile bleue [ f ] ; Brachyptéryx à sourcils blancs ; Grive à ailes courtes bleue [ f ] |
นกระวังไพรปากแดงสั้น | [nok rawang phrai pāk daēng san] (n, exp) EN: Coral-billed Scimitar-Babbler FR: Pomatorhin à bec corail [ m ] ; Pomatorhin à bec rougeâtre [ m ] ; Pomatorhin ferrugineux [ m ] |
นกสาลิกาเขียวหางสั้น | [nok sālikā khīo hāng san] (n, exp) EN: Indochinese Green Magpie ; Short-tailed Magpie ; Yellow-breasted Magpie FR: Pirolle à ventre jaune [ f ] |
นกแว่นตาเหลืองคิ้วสั้น | [nok waentā leūang khiu san] (n, exp) EN: Plain-tailed Warbler FR: Pouillot sœur [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude |
MRI | (n, abbrev) ระบบสร้างภาพจากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก (Magnetic Resonance Imaging) |
rumble strip | (n) เส้นจราจรที่ตีขวางบนถนนเป็นแถบๆ ใช้สำหรับเตือนคนขับรถถึงลักษณะสภาพถนนที่เปลี่ยนไป หรือให้ระวัง (เช่น เตือนเมื่อถึงทางเลี้ยว, เตือนเมื่อถึงทางลาด) เส้นนี้ทำงานโดยอาศัยแรงกระแทกของล้อรถกับเส้นจารจรที่ตีไว้บนถนน ทำให้เกิดเสียงเมื่อรถวิ่งผ่านและการสั่นสะเทือนบนตัวรถ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aghast | (adj) น่าสะพรึงกลัว, See also: ซึ่งทำให้อกสั่นขวัญหนี, Syn. horrified, terrified |
agitate | (vt) ทำให้สั่น, See also: เขย่า |
ague | (n) อาการสั่น |
allegro | (adv) (ดนตรี) ซึ่งมีจังหวะที่สั่นและเร็ว |
allegro | (adj) (ดนตรี) ซึ่งมีจังหวะที่สั่นและเร็ว |
beat | (n) ใจเต้น, See also: หอบ, ใจสั่น, Syn. palpitation |
bell-ringer | (n) คนสั่นระฆังโบสถ์, Syn. ringer |
chatter | (vi) พูดเสียงสั่นกึกๆ, See also: พูดเสียงกึกๆ เช่นเมื่อรู้สึกหนาวตัวสั่น, Syn. click |
chiller | (n) คนที่หนาวสั่น |
concuss | (vt) ทำให้สั่นอย่างแรง |
concussion | (n) การสั่นอย่างแรง, Syn. impact, collision |
convulse | (vt) ทำให้สั่นอย่างแรง, Syn. agitate, shake |
convulse | (vi) สั่นอย่างแรง (แบบควบคุมไม่ได้), Syn. agitate, shake |
convulsion | (n) การสั่นอย่างรุนแรง |
convulsive | (adj) ที่เกิดการสั่นกระตุก |
convulsively | (adv) อย่างที่เกิดการสั่นกระตุก |
convulse with | (phrv) ทำให้สั่นหรือกระตุก |
flutter about | (phrv) (ใจ) สั่นระริก, See also: ใจ เต้นไม่สม่ำเสมอ, กระวนกระวายใจ |
doddering | (adj) เดินโซเซ (ด้วยความชรา), See also: เดินยักแย่ยักยัน, เดินตัวสั่นงันงก, Syn. shaky, a tremble |
epicenter | (n) พื้นดินเหนือศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว, See also: พื้นดินเหนือจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว, Syn. center |
falter | (vi) เดินสะดุด, See also: เดินโซเซ, เดินตัวสั่น, Syn. stagger, stumble |
falter | (vi) พูดตะกุกตะกัก, See also: พูดเสียงสั่น, พูดอ้ำอึ้ง, พูดละล่ำละลัก |
falter | (vt) พูดตะกุกตะกัก, See also: พูดเสียงสั่น, พูดอ้ำอึ้ง, พูดละล่ำละลัก |
fibrillate | (vi) สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) |
fibrillate | (vi) ทำให้สั่นระริก (กล้ามเนื้อ) |
fibrillation | (n) การสั่นระริกของกล้ามเนื้อ |
firm | (adj) หนักแน่น, See also: แน่น, ไม่สั่น, Syn. steady, Ant. loose |
flicker | (vi) สั่นไหว, See also: เคลื่อนที่ไปมา, Syn. vibrate, quiver |
flutter | (vi) สั่นรัว, See also: เต้นรัว, สั่นระริก, Syn. beat, tremble, vibrate |
flutter | (n) การสั่นรัว (หัวใจ), See also: การเต้นระรัว, การสั่นระริก, Syn. quiver, tremble |
horror-stricken | (adj) ซึ่งตกตะลึง, See also: ซึ่งตกอกตกใจ, อกสั่นขวัญแขวน, Syn. horror-struck |
on pins and needles | (idm) วิตกกังวล (คำไม่เป็นทางการ), See also: อกสั่นขวัญแขวน, ใจคอไม่ดี |
jar | (n) การสั่นสะเทือน, See also: การกระเทือน, Syn. vibration, jolt |
jar | (vt) ทำให้สั่นสะเทือน, See also: ทำให้สะเทือน, Syn. rattle, shake |
jar | (vi) สั่น, See also: สั่นสะเทือน, Syn. vibrate, shake |
jungle fever | (n) ไข้ป่า, See also: ไข้จับสั่น |
malaria | (n) ไข้มาลาเรีย, See also: ไข้จับสั่น, Syn. malarial fever, malaria tropical disease |
multiple sclerosis | (n) อาการสั่นกระตุก |
palpitate | (vi) เต้น, See also: สั่นระริก, Syn. vibrate |
panic | (n) ความตื่นตกใจ, See also: ความอกสั่นขวัญหาย, ความหวาดกลัว, Syn. alarm, fear, Ant. fearlessness, courage, bravery |
Parkinsons disease | (n) โรคของระบบประสาทแบบมีอาการสั่นของอวัยวะ, Syn. palsy |
pound | (vi) เต้นอย่างหนัก, See also: กระเพื่อมมาก, สั่นมาก |
pulse | (vi) เต้นเป็นจังหวะ, See also: ชีพจรเต้น, สั่น |
quake | (vi) สั่นกลัว, Syn. shock |
quake | (vi) สั่นไหว, See also: ไหว, ยวบ, Syn. tremble |
quake | (n) อาการสั่น, See also: อาการสั่นกลัวหรือ สั่นหนาว, Syn. tremblor, tremor, shock |
quakily | (adv) อย่างสั่นระริก |
quakiness | (n) การสั่นระริก |
quaky | (adj) ซึ่งสั่นระริก, Syn. shaky |
quaver | (vi) สั่น, See also: กระเส่า, Syn. tremble, vibrate |
Hope Dictionary
aghast | (อะกาสทฺ', อะแกสทฺ') adj.ตกตะลึง, อกสั่นขวัญหนี (stunned, shocked, appalled) |
ague | (เอ' กิว) n. ไข้มาลาเรียที่มีอาการหนาวร้อนไข้จับสั่น. -aguelike, aguish adj. |
amplify | (แอม' พลิไฟ) vt. ขยายใหญ่ขึ้น, ขยายความ, ขยายความถี่ของการสั่นสะเทือน |
atremble | (อะเทรม'เบิล) adj. ซึ่งสั่นไหล |
bicker | (บิค'เคอะ) { bickered, bickering, bickers } vt., n. (การ) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, สั่น, ระยิบระยับ, See also: bicker n. ดูbicker |
chill | (ชิล) { chilled.chilling, chills } n. ความหนาว, ความเยือกเย็น, ความหมดสนุก, ความเฉยเมย -adj. หนาว, หนาวสะท้าน, เฉยเมย, ซึ่งทำให้หมดกำลังใจ. -v. เปลี่ยนเป็นหนาวเย็น, ทำให้หนาวสั่น, ทำให้หมดกำลังใจ, ทำให้หวาดกลัว, แช่เย็น, Syn. coldness |
chilly | (ชิล'ลี่) adj., adv. เยือกเย็น, หนาว, หนาวสั่น, เย็นชา |
chitter | vi. คุยเล่น, สนทนาเล่น, สั่นหนาวสั่น |
clonic | adj. เกี่ยวกับการกระตุกสั่นของกล้ามเนื้อ, See also: clonism n. clonicity n. |
concuss | (คันคัส') { concussed, concussing, concusses } vt. สั่นสะเทือน, ขู่เข็ญ |
concussion | (คันคัส'เชิน) n. การสั่นสะเทือน, การปะทะอย่างแรง, การกระเทือนที่เกิดจากการกระทบกระแทก, ภาวะสมองไขสันหลัง หรืออื่น ๆ ถูกกระทบอย่างแรง., See also: concussant adj. ดูconcussion concussive adj. ดูconcussion, Syn. shaking, shoc |
consternation | (คอนสเทอเน'เชิน) n. ความตกตะลึง, ความอกสั่นขวัญหนี, ความน่ากลัว, Syn. alarm |
convulse | (คันวัลสฺ') { convulsed, convulsing, convulses } vt. สั่นสะเทือนอย่างรุนแรง, ทำให้สั่นสะเทือนอย่างรุนแรงด้วยการหัวเราะ (ความโกรธ ความเจ็บปวด หรืออื่น ๆ) , ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวอย่างรุนแรง, ทำให้ชัก |
convulsion | (คันวัล'เชิน) n.อาการชักกระตุก, การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, การสั่นอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง, Syn. fit, spasm, tremor |
delirium tremens | (-ทรี'เมนซฺ) n. อาการกระสับกระส่ายอย่างรุนแรงเนื่องจากพิษสุราเรื้อรัง, มีอาการสั่นอาการประสาทหลอน |
dither | (ดิธ'เธอะ) n. การสั่น, การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ความกลัว. vi. สั่น, สั่นสะเทือน |
dodder | vi. สั่น, สั่นระริก, เดินเตาะแตะ, เดินโงนเงน. |
doddering | (ดอด'เดอริง) adj. สั่น, สั่นระริก, เดินเตาะแตะ, เดินโงนเงน |
falter | (ฟอล'เทอะ) { faltered, faltering, falters } v., n. (การ) เดินสะดุด, เดินโซเซ, เดินตัวสั่น, พูดตะกุกตะกัก, ลังเล, รีรอ, วอกแวก, แกว่งไปแกว่งมา, อ้ำ ๆ อึ้ง ๆ, See also: falterer n. faltering adj. falteringly adv., Syn. doubt, hesitate |
flirt | (เฟลิร์ท) vi. จีบ, พูดจาเกี้ยว, เล่นรัก, ทำเล่น ๆ , เคลื่อนอย่างกระตุกหรือสั่น สะบัด, โบก vt. โยนทิ้ง, สะบัด, ทิ้ง, ดีดทิ้ง, แกว่ง, โบก, กระดิก n. การขว้างทิ้ง, การกระตุก, การโถม, การพุ่ง., See also: flirtingly adv., Syn. toy, trifle |
flirtatious | (เฟลอเท'เชิส) adj. เจ้าชู้, ชอบพูดจาเกี้ยวพาราสี, เกี่ยวกับการเคลื่อนอย่างกระตุกหรือสั่น., See also: flirty adj. flirtatiousness n. coy, wanton |
flitter | (ฟลิท'เทอะ) vt., vi. โฉบ, กระพือปีก, บินไปมาอย่างรวดเร็ว, ทำ ๆ หยุด ๆ , เต้น ๆ หยุด ๆ , สั่นเทา n. ผู้โผ, ผู้โถม, ผู้โฉบ, สิ่งที่บินวับไป, สิ่งที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว, Syn. flutter |
flutter | (ฟลัท'เทอะ) { fluttered, fluttering, flutters } vi., n. (การ, ทำให้) กระพือปีก, ตีปีก, เคลื่อนไปมาอย่างรวดเร็ว, สั่น, สั่นระริก, ใจสั่น, เต้นไม่สม่ำเสมอ เท้าตบน้ำขึ้น ๆ ลง ๆ โดยไม่งอเข่าvt. กระพือปีก, ตีปีก, ทำให้กระวนกระวายใจ, ทำให้ยุ่งใจ., See also: flutterer n. |
fremitus | n. ความสั่นสะเทือน |
hyperthyrodism | เกิดจาก thyroxin ถูกขัยออกมามากกว่าปกติ ทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารมากทำให้เกิดโรค 2 อย่างคือ 1. exophthalamic goiter เป็นลักษณะคอหอยพอก ใจสั่นเหงื่อออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว ตกใจง่าย นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ตาโปนและถลน 2. adenomatous goiter with hyperthyroidism เป็นอาการที่เกิดขึ้นหลังจากต่อมธัยรอยด์โตแล้ว ทำให้เกิดอาการเหมือนชนิดแรก แต่ไม่ใคร่โปนมากนัก |
hz | ย่อมาจาก hertz เป็นหน่วยวัดการสั่นสะเทือนของกระแสไฟฟ้าที่ใช้จำนวนมาก ๆ เพื่อวัดความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง 1 เฮิร์ทซ์ เท่ากับ 1 รอบต่อวินาที เมื่อวัดกันในขนาดจำนวนมากจริง ๆ จึงใช้หน่วยใหญ่ที่เรียกว่า เมกะเฮิร์ทซ์ (megahertz) ใช้ตัวย่อว่า MHz ไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะทำงานด้วยความเร็วประมาณ 25 - 60 เมกะเฮิร์ทซ์ |
icy | (ไอ'ซี) adj. เต็มไปด้วยน้ำแข็ง, คล้ายน้ำแข็ง, เย็นเยือก, หนาว, สั่น, ไร้ความรู้สึก, เย็นชืด, จืดชืด, เมินเฉย, Syn. frigid, cold, chilled |
imjams | (จิม'แจมซฺ) n. ความกลัวมาก, การเพ้อที่สั่นระริก |
jar | (จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate |
jolt | (โจลทฺ) { jolted, jolting, jolts } vt., vi., n. (การ) กระทุ้ง, กระแทก, เขย่า, ทำให้สั่นไหว, ทำให้ส่าย, ต่อยจนมึน, ทำให้งงงวย, บุกรุก, ทำให้วุ่นวาย, สิ่งที่ทำให้เกิดการสั่นไหว, ความพ่ายแพ้อย่างกะทันหัน, การปฏิเสธอย่างกะทันหัน., See also: jolter n. ดูjolt joltingl |
jolty | (โจล'ที) adj. สั่นไหว, ส่ายโคลงเคลง., See also: joltiness n. ดูjolty, Syn. bumpy |
jumpy | (จัม'พี) adj. ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน, น่ากลัว, อกสั่นขวัญหาย, โลด, เต้น., See also: jumpily adv. ดูjumble jumpiness n. ดูjumble, Syn. twitchy |
malaria | (มะแล'เรีย) n. มาลาเรีย, ไข้จับสั่น, ไข้มาลาเรีย, ไข้ป่า, อากาศที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ., See also: malarial, malarian, malarious adj. |
oscillate | (ออส'ชะเลท) vi., vt. (ทำให้) แกว่ง, ส่าย, สั่น, รัว, ลังเลใจ., Syn. vaccillate |
oscillation | (ออสซะเล'เชิน) n. การแกว่ง, การส่าย, การสั่น, การรัว, ความลังเลใจ, Syn. vibration, vacillation |
oscillator | (ออส'ซะเลเทอะ) n. เครื่องมือแกว่งหรือสั่น, ผู้มีใจโลเล, สิ่งที่แกว่งหรือสั่น |
palpitant | (แพล'พิทันท) adj. เต้น, สั่น, สั่นระริก |
palpitate | (แพล'พิเทท) vi. เต้น, สั่น |
palpitation | (แพลพิเท'เชิน) n. การเต้น, การสั่น, การสั่นระรัว, การสั่นรัว |
parkinson's disease | n. โรคประสาทชนิดหนึ่งที่มีอาการสั่น |
pulsate | (พัล'เซท) vi. เต้นเป็นจังหวะ, และขยายหดตัวเป็นจังหวะ (เช่น ของหัวใจ) , สั่น, รัว |
pulsation | (พัลเซ'เชิน) n. การเต้นเป็นจังหวะ, ชีพจร, การขยายตัวและหดตัวเป็นจัวหวะ, การเต้น, การสั่น., See also: pulsational adj., Syn. vibration |
pulse | (พัลซฺ) n. ชีพจร, การเต้นเป็นจังหวะ, ความสั่นสะเทือน, อารมณ์, จังหวะของชีวิต. vi. เต้น, สั่นสะเทือน, Syn. regular beat |
pulser | (พัล'เซอะ) n. เครื่องทำให้เกิดการสั่นสะเทือน |
purr | (เพอ) n., v. (เกิด) เสียงคล้ายเสียงหายใจที่ได้ยินในเครื่องฟัง, เสียงสั่นสะเทือนของเครื่องยนต์, เสียงรัวของลมพัด, เสียงครางของแมวที่แสดงความพอใจ, See also: purringly adv. -S.pur |
quake | (เควค) vi., n. (การ) สั่นเทา, สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว, ยวบ, แผ่นดินไหว, See also: quakingly adv., Syn. shake |
quaky | (เคว'คี) adj. มักสั่น, มักสะเทือน, มีความโน้มเอียงที่จะสั่นหรือสั่นสะเทือน, See also: quakily adv. quakiness n., Syn. shaky |
quaver | (เคว'เวอะ) vi. สั่น, สั่นเทา, vi. พูดเสียงสั่น, n. การสั่น, เสียงสั่น, เสียงดนตรีเสียงที่8, See also: quaverer n. quaveringly adv. quavery adj. quaverous adj., Syn. tremble, vibrate |
quiver | (ควิฟ'เวอะ) vt., vi., n. (การ) สั่น, สั่นเทา, สั่นนิด ๆ สั่นระริก, รัว, กระพือปีก., ถุงหรือกระบอกลูกธนู, See also: quiverer n. quiveringly adv. quivery adj. |
resonance | (เรซ'ซะเนินซฺ) n. เสียงก้อง, เสียงสะท้อน, เสียงกังวาน, เสียงรัว, การสั่นที่ทำให้เกิดเสียงก้อง, (เสียง) การได้ระดับกัน, การได้เสียงคู่แปด |
Nontri Dictionary
aghast | (adj) ตกใจกลัว, อกสั่นขวัญหนี, ตกตะลึง |
chill | (adj) เย็นเยือก, หนาว, หนาวสั่น, เฉยเมย |
chilly | (adj) เยือกเย็น, เย็น, หนาว, สั่น |
consternation | (n) ความอกสั่นขวัญหนี, ความตกตะลึง, ความน่ากลัว |
convulse | (vt) สั่น, ทำให้ชัก, สั่นสะเทือน |
convulsion | (n) อาการชัก, อาการสั่น, อาการหดเกร็ง, อาการบิดเบี้ยว |
damper | (n) สิ่งที่ทำให้ชื้น, เครื่องลดการสั่นสะเทือน, เครื่องบรรเทา |
flutter | (vi) ปลิวสะบัด, ตัวสั่น, ตีปีก, กระพือปีก, โฉบ, ตื่นเต้น, สั่นระริก |
jar | (vt) ทำให้สั่นสะเทือน, ชน |
jolt | (n) อาการกระตุก, การเขย่า, การกระแทก, การสั่นไหว, การส่าย |
jolt | (vi, vt) กระตุก, เขย่า, กระแทก, ส่าย, สั่น, โคลงเคลง |
malaria | (n) ไข้จับสั่น, ไข้มาลาเรีย, ไข้ป่า, ไข้ป้าง |
malarial | (adj) เป็นไข้จับสั่น, เป็นไข้ป่า |
oscillate | (vi) กวัดแกว่ง, สั่น, ส่าย, รัว |
oscillation | (n) การกวัดแกว่ง, การสั่น, การส่าย, ความลังเล |
palpitate | (vi) เต้นระริก, สั่น, สั่นระรัว |
palpitation | (n) การสั่น, การเต้นระริก, การสั่นระรัว |
pant | (vi) หอบ, ใคร่ได้, ปรารถนา, สั่นระริก, เต้นถี่ |
pulsate | (vi) เต้น, รัว, ไหลเป็นห้วงๆ, สั่น |
pulsation | (n) การเต้น, การสั่น, ชีพจร, จังหวะ, ความสะเทือน |
pulse | (n) ชีพจร, จังหวะ, การเต้น, ความสั่นสะเทือน, ถั่ว |
pulse | (vt) เต้น, สั่น, สะเทือน |
quake | (vi) ยวบ, ไหว, สั่นสะเทือน, สั่นเทา, สั่นระริก |
quaver | (vi) กลัว, สั่น, สั่นเทา |
quiver | (n) แล่ง, กระบอกใส่ลูกศร, การสั่น, การสั่นเทา |
quiver | (vi, vt) กระพือ, สั่น, รัว, ไหว, สั่นเทา |
rattle | (vi) สั่น, มีเสียงแหลม, ปลุก, วิ่งเร็ว, พูดฉอด, พูดเพ้อเจ้อ |
reverberate | (vi) ทำให้ก้อง, ทำให้สะท้อนกลับ, ทำให้สั่นสะเทือน |
reverberate | (vt) ก้อง, สะท้อนกลับ, สั่นสะเทือน |
reverberation | (n) เสียงก้อง, การสะท้อนกลับ, การสั่นสะเทือน |
ring | (vi) บินวน, ส่งเสียง, สั่นกระดิ่ง, เคาะระฆัง |
scare | (vt) ทำให้ตกใจ, ทำให้กลัว, ทำให้อกสั่นขวัญแขวน, ทำให้ตื่นตระหนก |
shake | (vt) โยก, เขย่า, ไหว, ทำให้สั่นสะเทือน, ขจัด |
shaker | (n) ผู้สั่น, ผู้เขย่า, เครื่องปั่น |
shaky | (adj) สั่นสะเทือน, สั่น, สั่นเทา, โอนเอน |
shiver | (n) การสั่นเทา, การสั่น, ตัวสั่น |
shiver | (vi) สั่นเทา, สั่น, ปลิวสะบัด |
shivery | (adj) สั่นระริก, ตัวสั่น, สั่นสะท้าน |
shocking | (adj) อกสั่นขวัญหนี, ซึ่งทำให้สะดุ้ง, เขย่าขวัญ, ที่ตกตะลึง |
shudder | (n) อาการขนลุกซู่, ความสั่นสะท้าน, ความหวาดเสียว, อาการตัวสั่น |
shudder | (vi) ขนลุก, สะดุ้ง, สั่น, กระตุก |
thrill | (vi, vt) เสียวซ่าน, ซาบซึ้ง, ตื่นเต้น, สั่น |
throb | (vi) เต้นตุบๆ, สั่น, กระเพื่อม, ไหว, หอบ |
thunderstruck | (adj) พิศวง, ตกใจ, งงงวย, อกสั่นขวัญหาย |
tinkle | (n) เสียงกรุ๊งกริ๊ง, เสียงก๋องแก๋ง, การสั่น(กระดิ่ง) |
tremble | (n) การสั่นสะท้าน, การสั่นสะเทือน |
tremble | (vi) สั่นสะท้าน, ขยุกขยิก, สั่นเทา, กลัว |
tremble | (vt) ทำให้สั่นสะท้าน, ทำให้สั่นเทา, ทำให้กลัว |
tremor | (n) การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ใจสั่น |
tremulous | (adj) สั่นสะท้าน, สั่นไหว, ตัวสั่น |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
MRI | (n, abbrev) (Magnetic Resonance Imaging) ระบบสร้างภาพจากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นการสร้างภาพตัดขวางทางการแพทย์ |
tomography | (n) การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
Longdo Approved JP-TH
震度 | [しんど, shindo] (n) หน่วยบอกระดับความสั่นสะเทือน ซึ่งแยกวัดตามพื้นที่ แบ่งเป็น 10 ระดับ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ぞくぞく | [ぞくぞく, zokuzoku] (vt) -สั่น(กลัว) -สั่น, ยะเยือก, สะท้าน (หนาว) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
冷える | [ひえる, hieru] TH: หนาวสั่น EN: to get chilly |
震える | [ふるえる, furueru] TH: สั่น EN: to shiver |
震える | [ふるえる, furueru] TH: สั่นไหว EN: to quake |
鳴らす | [ならす, narasu] TH: สั่นกระดิ่ง EN: to ring |
揺れる | [ゆれる, yureru] TH: สั่น EN: to shake |
激動 | [げきどう, gekidou] TH: แรงสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง EN: terrible shock |
衝撃 | [しょうげき, shougeki] TH: แรงสั่นสะเทือน EN: impact |
Longdo Approved DE-TH
zittern | (vi) |zitterte, hat gezittert| สั่น, สั่นไหว, สั่นสะท้าน |
schwänzeln | (vi) |schwänzelte, hat geschwänzelt| สั่นหาง โดยมากใช้กับสุนัข เช่น Der Hund schwänzelt. |
vor Kälte zittern | (phrase) หนาวสั่น, สั่นสะท้านด้วยความหนาวเหน็บ |
Tomografie | (n) |die, pl. Tomografien| การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
Magnetresonanztomografie | (n) |die, pl. Magnetresonanztomografien| ระบบสร้างภาพตัดขวางจากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0403 seconds, cache age: 17.991 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม