285 ผลลัพธ์ สำหรับ *บุคคลที่*
ภาษา
หรือค้นหา: บุคคลที่, -บุคคลที่-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
dyslexic | (n) " ดิสเลคซิค” (dyslexic-บุคคลที่พร่องความสามารถในการเขียนเป็นคำๆ ปกติแล้วจะสัมพันธ์กับความบกพร่องทางประสาทวิทยา) |
Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
grean | [เกรียน] (n, adj, adv) 1. หมายถึงนิสัย หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ไม่เคารพผู้อื่น หรือ ทำตัวไม่ดี เช่น พูดจาไม่ดี(ปากเสีย) 2. ผมสั้นติดหนังหัว เช่น ผมเกรียน หรือหัวเกรียน(คำไม่สุภาพ) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
บุคคลที่สาม | (n) third party, See also: third person, Syn. มือที่สาม, Example: รัฐบาลเกรงว่าจะมีบุคคลที่สามเข้าแทรกแซงก่อเหตุร้าย, Count Unit: คน, พวก, กลุ่ม, Thai Definition: ผู้สอดเข้ามาเกี่ยวข้อง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บุคคลที่สาม | น. ในทางแพ่งมีความหมายเหมือนกับบุคคลภายนอก. (ดู บุคคลภายนอก) |
บุคคลที่สาม | ในทางอาญา หมายถึง บุคคลอื่นซึ่งมิใช่ผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำความผิด แต่บุคคลอื่นนั้นเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดโดยเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบความผิด. |
กรรโชก | (กัน-) น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
กรรมสัมปาทิก | บุคคลที่ได้รับเลือกหรือแต่งตั้งให้ทำหน้าที่กรรมการของสมาคม. |
กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
กลพยาน | (กน-) น. บุคคลที่ทางการให้เจ้าหน้าที่ไปขอสัมภาษณ์และขอร้องให้ช่วยรับเป็นพยาน มี ๓ ประเภทคือ ทิพพยาน อุดรพยาน และอุตริพยาน เช่น อนึ่งกลพยานนั้น คือวานท่านไปถามเป็นคำนับ (สามดวง). |
กิตติกรรมประกาศ | น. ข้อความที่กล่าวถึงผลงานและแสดงความขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ มักเขียนไว้ตอนต้นของวิทยานิพนธ์. |
ขบวนการ | น. กลุ่มบุคคลที่รวมกันเพื่อดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง. |
ขอทาน | น. เรียกบุคคลที่หาเลี้ยงชีพอย่างนั้นว่า ขอทาน. |
ข้อกำหนด | น. ข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง. |
ขอบคุณ, ขอบพระคุณ | คำกล่าวแสดงความรู้สึกบุญคุณ (เป็นคำที่ใช้แก่บุคคลที่เสมอกัน หรือผู้น้อยใช้แก่ผู้ใหญ่). |
ขุนบาล | น. บุคคลที่ได้รับอนุญาตผูกอากรที่เป็นรายได้จากการพนันประเภทหวย เพื่อส่งรายได้ให้แก่รัฐ, มาจากทินนามเต็มว่า ขุนบาลเบิกบุรีรัตน์. |
ขุนพัฒน์ | น. บุคคลที่ได้รับอนุญาตผูกขาดอากรการพนัน เพื่อส่งรายได้ให้แก่รัฐ, มาจากทินนามที่มีคำขึ้นต้นว่า พัฒน เช่น ขุนพัฒนสมบัติ ขุนพัฒนาภิรมย์. |
ขู่เข็ญ | แสดงกิริยาหรือวาจาให้ผู้อื่นต้องกลัวว่าจะเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้นั้น หรือของบุคคลที่สาม. |
คณะกรรมการอำเภอ | น. คณะบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่และรับผิดชอบร่วมกันในการปกครองอำเภอ ปัจจุบันได้ถูกยุบเลิกไปแล้ว โดยโอนอำนาจและหน้าที่ไปเป็นของนายอำเภอ. |
คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. |
คนต้องขัง | น. บุคคลที่ถูกขังไว้ตามหมายขัง. |
คนใน | น. บุคคลที่เป็นพวกเดียวกัน, บุคคลในบ้าน, บุคคลในวงการ. |
คนเสมือนไร้ความสามารถ | น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. |
เจดีย-, เจดีย์ ๑ | (-ดียะ-) น. สิ่งซึ่งก่อเป็นรูปคล้ายลอมฟาง มียอดแหลม บรรจุสิ่งที่นับถือมีพระธาตุเป็นต้น, สิ่งหรือบุคคลที่เคารพนับถือ. |
ฉ้อโกง | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ กระทำโดยทุจริต หลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง โดยการหลอกลวงดังว่านั้นได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทำให้ผู้ถูกหลอกลวง หรือบุคคลที่สามทำ ถอนหรือทำลายเอกสารสิทธิ. |
ชมรม ๒ | น. ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชมรมวรรณศิลป์ ชมรมพระเครื่อง. |
ชื่อจริง | น. ชื่อของบุคคลที่ใช้เป็นทางการ ปรากฏอยู่ในทะเบียนสำมะโนครัวเป็นต้น. |
ชื่อเล่น | น. ชื่อของบุคคลที่ใช้กันในหมู่ญาติหรือผู้ใกล้ชิด. |
ชุมนุม | ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชุมนุมวรรณศิลป์ ชุมนุมภาษาไทย. |
ชู้ | น. คู่รัก เช่น ข้าสมจรด้วยกันพ่อแม่และเจ้าข้ามิให้ และมันภากันหนีไปไกล หญิงนั้นยังมิเปนเมียชายเปนแต่ชู้กัน (สามดวง ลักษณผัวเมีย), ถ้าชายผู้ใดเอาหญิงเปนชู้เปนเมีย แต่ในกำหนดนั้นคือเมียท่านแลให้ไหมโดยขนาด (สามดวง ลักษณผัวเมีย), บุคคลที่เป็นที่รัก เช่น ร้อยชู้ฤๅเท่าเนื้อ เมียตน (ลอ) |
ดารา | เรียกบุคคลที่แสดงนำหรือมีชื่อเสียงในศิลปะการแสดงในทางใดทางหนึ่ง เช่น ดาราภาพยนตร์ |
ดาว ๑ | เรียกบุคคลที่เด่นในทางใดทางหนึ่ง เช่น ดาวตลก ดาวมหาวิทยาลัย |
ได้ตัว | ก. พบบุคคลที่ต้องการ เช่น ตำรวจได้ตัวผู้ต้องสงสัย. |
ตราสารจัดตั้ง | น. หนังสือสำคัญก่อตั้งนิติบุคคลที่กำหนดขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้น. |
ตรีเอกภาพ, ตรีเอกานุภาพ | น. คติความเชื่อในศาสนาคริสต์ที่ว่าพระบิดา พระบุตร และพระจิต (คาทอลิก) หรือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ (โปรเตสแตนต์) เป็น ๓ บุคคลที่รวมเป็นหนึ่ง ซึ่งความจริงก็คือพระเป็นเจ้าองค์เดียวกันนั่นเอง. |
ตัวแทนเชิด | น. บุคคลที่ตัวการเชิดให้ออกแสดงเป็นตัวแทนของตน หรือตัวการรู้แล้วยอมให้บุคคลนั้นเชิดตัวเองออกแสดงเป็นตัวแทน. |
ตัวประกัน | น. บุคคลที่ถูกยึดตัวไว้เพื่อใช้ต่อรอง. |
ถูปารหบุคคล | (-ระหะ-) น. บุคคลที่คู่ควรแก่การนำกระดูกของเขาบรรจุในสถูปไว้บูชา มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น. |
ทบวง | (ทะ-) น. ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่สูงกว่ากรม โดยมีทบวง ๒ ประเภท คือ ทบวงที่มีฐานะเทียบเท่ากับกระทรวง และทบวงที่มีฐานะต่ำกว่ากระทรวงซึ่งต้องอยู่ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง. |
นักท่องเที่ยว | น. บุคคลที่เดินทางจากท้องที่อันเป็นถิ่นที่อยู่โดยปรกติของตนไปยังท้องที่อื่นเป็นการชั่วคราวด้วยความสมัครใจ และด้วยวัตถุประสงค์อันมิใช่เพื่อไปประกอบอาชีพหรือหารายได้ เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษาหาความรู้ การบันเทิง. |
บรรณารักษ์ | (บันนารัก) น. บุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงานในห้องสมุด. |
บรรพบุรุษ | น. ผู้เป็นต้นวงศ์ตระกูลซึ่งมีผู้สืบสายโลหิตมา, บุคคลที่นับตั้งแต่ปู่ย่าตายายขึ้นไป. |
บรรษัท | นิติบุคคลที่มีฐานะอย่างเดียวกับบริษัทจำกัด โดยมีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะ. |
บัพพาชนียกรรม | (บับพาชะนียะกำ) น. กรรมที่สงฆ์ทำแก่ภิกษุที่จะพึงขับไล่, พิธีขับไล่บุคคลที่พึงขับไล่. |
บุกรุก | ยักย้ายหรือทำลายเครื่องหมายเขตแห่งอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน เพื่อถือเอาอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเป็นของตนหรือของบุคคลที่สาม |
บุคคลภายนอก | น. บุคคลที่มิได้เป็นคู่กรณีหรือคู่สัญญา แต่อาจมีสิทธิเกี่ยวข้อง, บุคคลที่สาม ก็เรียก. |
ปมจิต | น. อารมณ์และความรู้สึกของบุคคลที่เก็บกดสะสมไว้ในจิตใต้สำนึกมาตั้งแต่ในวัยเด็ก ปมจิตนี้จะทำให้บุคคลผู้นั้นแสดงออกในด้านความคิด ความรู้สึก และการกระทำในลักษณะที่ซํ้ากันจนเกิดเป็นอุปนิสัยประจำตัว. |
ประจักษ์พยาน | น. พยานบุคคลที่เป็นผู้ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่ให้การเป็นพยานนั้นมาด้วยตนเองโดยตรง. |
ประชาทัณฑ์ | น. การที่ฝูงชนกลุ้มรุมทำร้าย เป็นการลงโทษบุคคลที่ตนเข้าใจหรือนึกว่ามีความผิด โดยไม่ดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม. |
เปิดเผยความลับ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำเปิดเผยความลับของผู้อื่นหรือนำความลับของผู้อื่นไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือบุคคลที่สาม. |
ผี | เรียกบุคคลที่หมกมุ่นในการพนัน ว่า ผีการพนันเข้าสิง. |
ผู้ก่อการร้าย | น. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ. |
ผู้จัดการ | น. บุคคลที่มีหน้าที่บริหารและควบคุมดูแลกิจการ. |
ผู้จัดการมรดก | น. บุคคลที่ตั้งขึ้นโดยพินัยกรรมหรือโดยคำสั่งศาลให้มีสิทธิและหน้าที่จัดการมรดกโดยทั่วไป หรือเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
persons not living in households | บุคคลที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในครัวเรือน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
protected person | บุคคลที่ได้รับความคุ้มครอง, บุคคลที่ได้รับการอารักขา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
post-obit bond | ข้อผูกพันที่จะชำระหนี้เมื่อบุคคลที่ระบุไว้ถึงแก่ความตาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
persona designate (L.) | บุคคลที่ระบุโดยเฉพาะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
persona grata (L.) | บุคคลที่พึงปรารถนา (ทางการทูต) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
persona non grata (L.) | บุคคลที่ไม่พึงปรารถนา (ทางการทูต) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
presumptive heir | บุคคลที่ถือว่าเป็นทายาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
separated person | บุคคลที่แยกกันอยู่ (กับคู่สมรส) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
arrogation | ๑. การอ้างสิทธิโดยมิชอบ๒. การรับบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วเป็นบุตรบุญธรรม (ก.โรมัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commorientes | บุคคลที่ตายพร้อมกัน (ในเหตุภยันตรายร่วมกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
competent witness | บุคคลที่จะเป็นพยานได้ (ตามกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
determinate person | บุคคลที่กำหนดตัวไว้แน่นอน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
existing person | บุคคลที่ปฏิสนธิแล้ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
native born individual | บุคคลที่เกิดในท้องถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
undischarged bankrupt | บุคคลที่ยังไม่ถูกปลดจากล้มละลาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unknown person | บุคคลที่ไม่ทราบชื่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Third Party Access | การให้บริการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อแก่บุคคลที่สาม [ปิโตรเลี่ยม] |
Somatic effect | ผลต่อร่างกาย, ผลกระทบต่อร่างกายของบุคคลที่ได้รับรังสี รวมถึงผลกระทบต่อเด็กหลังคลอดที่ได้รับรังสีขณะอยู่ในครรภ์มารดา, Example: [นิวเคลียร์] |
Restricted area | พื้นที่หวงห้าม, พื้นที่ที่มีการควบคุมการเข้าออกของบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการได้รับรังสี หรือสารกัมมันตรังสี [นิวเคลียร์] |
Patent Agent | บุคคลที่ทำหน้าที่เป็นตัวแทนผู้ยื่นขอจดสิทธิบัตร, Example: เพื่อจัดทำร่างเอกสารคำยื่นขอ และทำการยื่นตามขั้นตอนของสำนักงานสิทธิบัตรเพื่อให้ได้รับสิทธิคุ้มครอง [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Bereavement | การสูญเสียบุคคลที่รักจากการตาย [TU Subject Heading] |
Consanguinity | การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นเครือญาติ [TU Subject Heading] |
Divorced people | บุคคลที่หย่าร้าง [TU Subject Heading] |
Married people | บุคคลที่สมรส [TU Subject Heading] |
Respondeat superior | ความรับผิดทางละเมิดของบุคคลที่อยู่ในความดูแล [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Condolences | เมื่อใดที่ประมุขของรัฐผู้รับ หรือบุคคลในครอบครัวของประมุขนั้นถึงแก่กรรม เป็นธรรมเนียมที่ผู้แทนทางการทูตซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ ประจำอยู่ในรัฐนั้น หลังจากที่ได้รายงานให้กระทรวงการต่างประเทศของผู้แทนทางการทูตนั้นก่อนทาง โทรเลขหรือโทรสารจะไปเยี่ยมหรือพบกับเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมของรัฐนั้นเพื่อ แสดงความเสียใจในนามของประมุขของรัฐของตน โดยมิต้องรอรับคำสั่งเป็นพิเศษจากกระทรวงการต่างประเทศก่อนตามปกติ โทรเลขหรือโทรสารแสดงความเสียใจนั้นจะส่งจากประมุขของรัฐ ไปยังบุคคลที่เหมาะสมในครอบครัวที่ประสบความทุกข์โศกนั้นโดยตรง [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
displaced persons | ผู้พลัดถิ่น ผู้หนีภัย หมายถึง บุคคลที่ออกมาจากประเทศของตนเอง มิใช่โดยวิธีการธรรมดาหรือปกติ อาจเนื่องมาจากภัยสงคราม ภัยทางเศรษฐกิจ ฯลฯ เป็นการเข้ามาชั่วคราว จะไม่ได้ภูมิลำเนา [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] |
Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] |
head of consular post | หัวหน้าสถานทำการทางกงสุล " หมายถึงบุคคลที่ได้รับมอบหน้าที่ให้กระทำการในฐานะนั้น หัวหน้าสถานทำการทางกงสุลแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ (1) กงสุลใหญ่ (2) กงสุล (3) รองกงสุล (4) ตัวแทนทางกงสุล (อนุสัญญากรุงเวียนนา ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ.ศ. 2506) " [การทูต] |
Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] |
No Objection Certificate | เป็นเอกสารรับรองว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทย กระทรวงการต่างประเทศไทยไม่มีข้อขัดข้องสำหรับบุคคลที่จะนำเอกสารนี้ไปใช้ เพื่อสมัครเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาของต่างประเทศตามคำร้องขอของรัฐบาล ปากีสถาน หรือใช้ในการขอเปลี่ยนแปลงสถานะวีซ่าจากประเภทหนึ่งไปยังอีกประเภทหนึ่งตาม ที่ต่างประเทศนั้น ๆ เป็นผู้กำหนด กรณีนักศึกษาไทยไปศึกษาที่สหรัฐอเมริกาโดยวีซ่านักเรียน แต่ภายหลังประสงค์จะขอเปลี่ยนวีซ่าเป็นวีซ่าทำงานตามกฎหมายตรวจคนเข้าเมือง ของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Passport | หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
refugee | ผู้ลี้ภัย หมายถึง บุคคลที่พึงได้รับสิทธิตามอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี พ.ศ. 2494 อาทิ สิทธิในการได้รับความคุ้มครอง การได้รับการพิจารณาให้ไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม การทำงานและการได้รับการศึกษา เป็นต้น [การทูต] |
Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Extrovert | บุคคลที่มีลักษณะเปิดเผย [การแพทย์] |
scientist | นักวิทยาศาสตร์, บุคคลที่ได้รับการศึกษาและฝึกอบรมให้มีความสามารถที่จะทำวิจัยค้นคว้า เสาะแสวงหาความรู้ และหลักการทางวิทยาศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real-time communication | การสื่อสารในเวลาจริง, การสื่อสารระหว่างบุคคลที่สามารถโต้ตอบกลับได้ทันที ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร สามารถส่งเป็นข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ไปยังผู้รับ ในการสื่อสารนี้ผู้ใช้จะต้องเข้าใช้ระบบในเวลาเดียวกัน และข้อความจะถูกส่งจากผู้ใช้คนหนึ่งไปยังผู้ใช้ทุกคนในกลุ่มได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Introvert | บุคคลที่มีลักษณะเก็บตัว [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บุคคลที่อ้างถึง | [bukkhon thī āng theung] (n, exp) EN: reference |
บุคคลที่มีสุขภาพดี | [bukkhon thī mī sukkhaphāp dī] (n, exp) EN: healthy person FR: personne saine [ f ] |
บุคคลที่สาม | [bukkhon thī sām] (n, exp) EN: third party FR: tiers [ m ] |
การประกันภัยบุคคลที่สาม = การประกันภัยบุคคลที่ 3 | [kān prakanphai bukkhon thī sām] (n, exp) EN: personal liability insurance |
การประกันภัยบุคคลที่สาม = การประกันภัยบุคคลที่ 3 | [kān prakanphai bukkhon thī sām] (n, exp) EN: third party insurance |
Longdo Approved EN-TH
nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) |
third party | (n) บุคคลที่สาม, Syn. third person |
heterosexuality | (n) ความชอบในเพศตรงข้าม, การชอบบุคคลที่เป็นเพศต่างกัน |
framer | [เฟรม-เมอ] (n) บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ), See also: Constitution, law |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
affine | (n) บุคคลที่เกี่ยวดองกันด้วยการแต่งงาน |
all-star | (adj) ประกอบด้วยเหล่าดาราดัง, See also: ประกอบด้วยบุคคลที่มีชื่อเสียง |
anomaly | (n) สิ่งที่แปลกประหลาด, See also: บุคคลที่ผิดจากปกติ |
anybody | (pron) บุคคลที่มีชื่อเสียง, See also: บุคคลสำคัญ |
apostrophe | (n) การพูดกับบุคคลในจินตนาการ, See also: การพูดกับบุคคลที่ล่วงลับไปแล้ว |
baron | (n) บุคคลที่มีอำนาจ, Syn. tycoon |
best | (n) บุคคลที่ดีที่สุด |
creep | (n) บุคคลที่น่ารังเกียจ (คำสแลง) |
delegation | (n) คณะผู้แทน, See also: คณะบุคคลที่เป็นตัวแทนของคนกลุ่มใหญ่, Syn. embassy, deputation |
dignitary | (n) บุคคลที่มีตำแหน่งสูง, See also: ผู้มีฐานะสูงส่ง, Syn. VIP, luminary, bigwig, celebrity |
discard | (n) สิ่งที่ถูกทอดทิ้ง, See also: บุคคลที่ถูกทอดทิ้ง |
escrow | (vt) เก็บเงินหรือทรัพย์สินไว้ที่บุคคลที่สามจนกว่าจะบรรลุตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้แล้ว |
escrow | (n) เงินหรือทรัพย์สินที่ให้บุคคลหนึ่ง แต่เก็บไว้กับบุคคลที่สามจนกว่าจะบรรลุตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้แล้ว |
euthanasia | (n) การฆ่าหรือช่วยให้บุคคลที่ทุกข์ทรมานจากโรคหรืออาการบาดเจ็บที่รักษาไม่หาย ตายอย่างไม่เจ็บปวด (ซึ่งผิดกฎหมายในเกือบทุกประเทศ), Syn. mercy killing |
freeman | (n) บุคคลที่ได้รับสิทธิพิเศษ |
hard core | (n) บุคคลที่เป็นแกนกลาง, See also: หัวกะทิ, ผู้ไม่ยอมลงให้ใครง่ายๆ |
has-been | (n) บุคคลที่เคยมีชื่อเสียงในอดีต แต่ปัจจุบันนี้แทบจะถูกลืม (คำไม่เป็นทางการ), See also: บุคคลที่เคยมีความสำคัญ แต่ปัจจุบันนี้แทบจะถูกลืม |
higher-up | (n) บุคคลที่มีตำแหน่งสูงในหน่วยงานหรือองค์กร (คำไม่เป็นทางการ), See also: หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, Syn. chief, senior, superior, Ant. inferior, subordinate, underling |
one and only | (idm) บุคคลที่มีชื่อเสียงและความสามารถ (ใช้แนะนำหรือเพื่อเน้นย้ำ), See also: หนึ่งเดียวคนนี้ |
impression | (n) การล้อเลียนท่าทางหรือการพูดจาของบุคคลที่มีชื่อเสียง |
lambkin | (n) บุคคลที่มีอายุน้อยและไร้เดียงสา |
legend | (n) บุคคลที่มีชื่อเสียง, Syn. celebrity |
legend | (n) เรื่องราวของบุคคลหรือเหตุการณ์ที่มีชื่อเสียง, See also: เรื่องราวของบุคคลที่น่าสนใจ |
notable | (n) บุคคลที่มีชื่อเสียง, See also: บุคคลซึ่งเป็นที่รู้จัก, บุคคลสำคัญ |
oddball | (n) บุคคลที่มีพฤติกรรมแปลกๆ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. maverick |
outcast | (n) คนที่สังคมไม่ยอมรับ, See also: บุคคลที่ถูกขับออกจากสังคม, Syn. pariah, leper, exile |
outsider | (n) บุคคลที่ไม่ใช่ตัวเก็ง, See also: คู่แข่งที่ไม่ใช่ตัวเก็ง, ม้านอกสายตา |
persona non grata | (adj) ี่บุคคลที่ไม่เป็นที่ยอมรับ, Syn. pet aversion, pet peeve, hateful object |
plenipotentiary | (n) บุคคลที่มีอำนาจเต็มที่, Syn. diplomat, emissary |
powerhouse | (adj) บุคคลที่มีอำนาจหรืออิทธิพลมาก |
presence | (n) วิญญาณหรือบุคคลที่ไม่เห็น (แต่รู้สึกได้ว่ามีอยู่) |
quorum | (n) องค์ประกอบ, See also: องค์ประชุม, จำนวนบุคคลที่กฎหมายกำหนด, Syn. legal minimum |
romantic | (n) บุคคลที่มีลักษณะโรแมนติก, See also: บุคคลที่ช่างเพ้อฝัน, Syn. dreamer, sentimentalist |
septuagenarian | (n) บุคคลที่มีวัยอยู่ระหว่าง 70 - 80 ปี |
sublimity | (n) สิ่งที่สูงส่ง, See also: บุคคลที่สูงส่ง |
talent scout | (n) ผู้ระดมคนมีความสามารถดีเด่นในอาชีพหนึ่งๆ, See also: ผู้ค้นหาบุคคลที่มีความสามารถพิเศษออกมา |
teen | (adj) เกี่ยวกับวัยรุ่น, See also: เกี่ยวกับคนรุ่นหนุ่มรุ่นสาว, เกี่ยวกับบุคคลที่มีอายุระหว่าง 13-19 ปี |
teenage | (adj) เกี่ยวกับคนรุ่นหนุ่มรุ่นสาว, See also: เกี่ยวกับบุคคลที่มีอายุระหว่าง 13-19 ปี, ที่เกี่ยวกับวัยรุ่น, Syn. adolescent, juvenile, immature, youthful |
teenager | (n) บุคคลที่มีอายุระหว่าง 13-19 ปี, See also: คนรุ่นหนุ่มรุ่นสาว, วัยรุ่น, Syn. adolescent, teen, youngster |
third party | (n) บุคคลที่เข้าไปพัวพันกับเรื่องผิดกฎหมายโดยไม่ตั้งใจ |
thoroughbred | (n) บุคคลที่ได้รับการศึกษามาอย่างดี, See also: ผู้มีความกล้า, รถชั้นหนึ่ง |
top dog | (n) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีอำนาจสูงสุด |
undesirable | (n) บุคคลผู้ไม่เป็นที่พึงปรารถนา, See also: บุคคลที่ไม่ดี, Ant. attractive |
Venerable | (n) คำเรียกนำหน้าชื่อบุคคลที่น่านับถือ |
voyeur | (n) บุคคลที่พึงพอใจทางเพศจากการดูอวัยวะเพศผู้อื่น, See also: พวกถ้ำมอง |
weathercock | (n) บุคคลที่เปลี่ยนแปลงความคิดบ่อยๆ |
white knight | (n) บริษัทหรือบุคคลที่ช่วยกู้บริษัทอื่นให้พ้นจากสถานการณ์อันเลวร้าย (ทางการเงิน) |
who | (pron) บุคคลซึ่ง, See also: บุคคลที่ |
Hope Dictionary
age-group | (เอจ' กรูพ) n. ประเภทบุคคลที่มีอายุเท่ากันและมักเป็นเพศเดียวกัน |
alienation of affections | ความบาดหมางหรือเหินห่างของสามีภรรยาที่เนื่องจากบุคคลที่สาม |
also-ran | (ออล' โซเรน) n. นักวิ่งที่ไม่ติดอันดับที่หนึ่งถึงที่สาม, นักวิ่งหรือม้าที่ไม่ค่อยชนะการแข่งขัน, บุคคลที่ไม่ประสบผลสำเร็จหรือประสบผลสำเร็จเล็กน้อย (one who is defeated in any competition) |
antinomassia | (แอนทิโนเม' เซีย) n. การใช้ชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียง?สำหรับคนที่มีลักษณะและคุณสมบัติคล้ายกัน. -antinomastic (al) adj. |
apstate | (อะพอส'เทท) n. บุคคลที่ผละออกจากศาสนา หลักการพรรคหรืออื่น ๆ (convert) apostatise, apostatize (อะพอส'ทะไทซ) n. กระทำการ apostasy (commit apostasy) |
atheling | (แอธ'ธะลิง) n. บุคคลที่มีเชื้อพระวงศ์, เจ้าชาย (prince , nobleman) |
attraction | (แอทแทรค'เชิน) n. การดึงดูดความสนใจ, เสน่ห์, แรงดึงดูด, สิ่งหรือบุคคลที่ดึงดูดความสนใจ, Syn. affinity, charm, enticement, Ant. repulsion, rejection |
classified | (แคลส'ซิไฟดฺ) adj. ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทหรือหมวดหมู่, สำหรับเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น, เป็นความลับ. n. แจ้งความเล็ก ๆ ในหน้าหนังสือพิมพ์, Syn. confidential |
co-ordinate | (โคออร์'ดิเนท) adj. ขนานกัน, ในระดับเดียวกัน, เท่ากัน, ประสานกัน, พร้อมเพรียงกัน n. สิ่งหรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือตำแหน่งเท่ากัน, ระยะพิกัด vt. ทำให้เป็นระดับเดียวกัน, ทำให้เท่ากัน, ทำให้ประสานกัน. vi. เท่ากัน, อยู่ในระดับเดียวกัน, ประสานกัน., See also: c |
coequal | adj. เท่ากัน เสมอภาค n. บุคคลที่เท่าเทียมกับอีกคนหนึ่ง, See also: coequalness n. ดูcoequal coequality n. ดูcoequal |
commission | (คะมิช'เชิน) { commissioned, commissioning, commissions } n. การมอบหมายหน้าที่, การมอบหมาย, อำนาจที่มอบหมายให้, เอกสารมอบอำนาจ, คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายอำนาจให้กระทำบางอย่าง, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, ค่านายหน้า, ค่าคอมมิชชั่น, สัญญาบัตร -Phr. (in commission เข้าประจ |
computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ |
computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware |
computer vendor group | กลุ่มผู้ขายเครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ทำงานด้านการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกรณีที่ต้องการแยกให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ใช้ (user group) ทั้งสองกลุ่มมักจะรวมตัว กันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและความเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในมุมและทัศนะที่แตกต่างกันดู computer user group เปรียบเทียบ |
contemporary | (คันเทม'พะระรี) adj. ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกัน, เกี่ยวกับสมัยเดียวกัน n. บุคคลที่ (ร่วมสมัย, ร่วมยุค), See also: contemporily adv. ดูcontemporary contemporariness n. ดูcontemporary, Syn. contemporaneous |
contrast | (n. คอน'แทรสทฺ, คันแทรสทฺ') { contrasted, contrasting, contrasts } n. ความผิดแผกกัน, ความตรงกันข้าม, สิ่งหรือบุคคลที่ผิดแผกกันอย่างชัดเจน, ความแตกต่างระหว่างบริเวณดำและขาวในภาพถ่าย. -v. เปรียบเทียบความคิดแผกกัน., See also: contrastable adj. ดูcontrast |
coordinate | (โคออร์'ดิเนท) adj. ขนานกัน, ในระดับเดียวกัน, เท่ากัน, ประสานกัน, พร้อมเพรียงกัน n. สิ่งหรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือตำแหน่งเท่ากัน, ระยะพิกัด vt. ทำให้เป็นระดับเดียวกัน, ทำให้เท่ากัน, ทำให้ประสานกัน. vi. เท่ากัน, อยู่ในระดับเดียวกัน, ประสานกัน., See also: c |
cousin | (คัซ'เซิน) n. ลูกพี่ลูกน้อง, ญาติห่าง ๆ , บุคคลที่เกี่ยวพันกัน (โดยมีลักษณะธรรมชาติภาษา แหล่งกำเนิด) ที่คล้ายกัน -Conf. (a first cousin ลูกพี่ลูกน้อง (ทางพ่อและแม่)) -Conf. (a second cousin ลูกของลุงป้าน้าอา (ที่เป็นลูกพี่ลูกน้องของพ่อแม่)), See also: c |
cow | (คาว) n. วัวตัวเมีย, แม่วัว, สัตว์ตัวเมียจำพวก Bos, สัตว์ตัวเมียขนาดใหญ่ (เช่นช้าง ปลาวาฬ แรด แม่น้ำ) , หญิงอ้วนพุงพลุ้ย -Phr. (a sacred cow วัวในอินเดีย (ถือเป็นสัตว์ที่ศักดิ์สิทธิ์) , บุคคลที่ศักดิ์สิทธิ์ที่หาอาจล่วงละเมิดได้.) -Phr. (till the cows come home นาน |
crowner | (เครา'เนอะ) n. เจ้าหน้าที่ชันสูตรศพ, บุคคลที่อยู่สูงสุด ตำแหน่งฐานะ) |
dead duck | บุคคลที่จะตาย, สิ่งที่จะสลายตัว |
dear | (เดียร์) adj. ที่รัก, เป็นที่รัก, น่ารัก, แพง, ทุกข์ใจ, ขุ่นใจ, เข้มงวด n. บุคคลอันเป็นที่รัก, บุคคลที่ดี, คนรัก -adv. เป็นที่รัก, มีราคาแพง interj. คำอุทานที่แสดงความประหลาดใจ, ความโศกเศร้า เช่น อนิจจา! ตายจริง! โอ้!., See also: dearness n. ดูdear คำที |
demoniac | (ดิโม'นิแอค, เคิล) adj. เกี่ยวกับภูตผีปีศาจ n. บุคคลที่ถูกผีสิง |
demoniacal | (ดิโม'นิแอค, เคิล) adj. เกี่ยวกับภูตผีปีศาจ n. บุคคลที่ถูกผีสิง |
derelict | (เดอ'ระลิคทฺ) adj. ซึ่งถูกทอดทิ้ง, ซึ่งละทิ้งหน้าที่. n. ทรัพย์สิ่งของที่ถูกทอดทิ้ง, เรือที่ถูกทิ้งลอยลำอยู่, บุคคลที่ถูกสังคมทอดทิ้ง, คนจรจัด, คนที่ทิ้งหน้าที่, See also: dereliction n., Syn. left, Ant. dutiful คำศัพท์ย่อย: |
deviant | (ดี'วิเอินทฺ) n. บุคคลที่ผิดปกติ, สิ่งที่ผิดปกติ adj. ผิดปกติจากธรรมดา, Syn. deviating |
deviate | (ดี'วิเอท) vi., n. (ทำให้) หันเห, บ่ายเบน, เฉ, ไถล, ออกนอกลู่นอกทาง, ผิดปกติ, บุคคลที่ผิดปกติ, See also: deviation n. |
dignitary | (ดิก'นิทารี) n. บุคคลที่ตำแหน่งสูง, ผู้มีฐานันดรศักดิ์., See also: dignitarial adj. -pl. dignitaries |
dilly | (ดิล'ลี) n. สิ่งที่ดีเด่น, บุคคลที่ดีเด่น |
discard | (ดิสคาร์ด') vt., vi., n. (การ) ทิ้ง, ทิ้งไพ่, ให้ออก., บุคคลที่ทอดทิ้ง, สิ่งที่ถูกทอดทิ้ง, ไพ่ที่ทิ้งลง, Syn. expel |
disseisee | (ดิสซิซี') n. บุคคลที่ถูกยึดที่. -Syn. disseizee |
elder | (เอล'เดอะ) adj., n. (บุคคลที่) แก่กว่า, อาวุโสกว่า, มีตำแหน่งสูงกว่า, เก่ากว่า., Syn. senior |
eligible | (เอล'ลิจะเบิล) adj. ซึ่งมีสิทธิเข้ารับเลือก, เหมาะสม, เข้าเกณฑ์ -n. บุคคลที่มีสิทธิเข้ารับเลือก, See also: eligibly adv. ดูeligible, Syn. proper |
elite | (อีลีท', เอลีท') n. ชั้นยอด, หัวกะทิ, บุคคลที่ยอดเยี่ยม, สิ่งที่ได้เลือกสรรแล้ว, กลุ่มอิทธิพล adj. ชั้นยอด, หัวกะทิ, เป็นส่วนที่ดีที่สุด, Syn. gentry อีลีต <คำอ่าน>เป็นศัพท์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ดีดมาก่อน หมายถึงขนาดความกว้างของตัวอักษรที่พิมพ์ได้ 12 ตัว ต่อ 1 นิ้ว บางทียังนำมาใช้เป็นคำสั่งให้เลือกบนเครื่องพิมพ์ว่าต้องการ ให้เป็นอีลีตหรือไพกา pica ซึ่งหมายถึงอักษรขนาด 10 ตัวต่อนิ้ว ดู pica ประกอบ |
erotic | (อีรอท'ทิค) adj. เกี่ยวกับกาม, เกี่ยวกับความใคร่, ซึ่งกระตุ้นกำหนัด n. บทกวีที่เกี่ยวกับความรักทางเพศ, บุคคลที่มีความต้องการทางเพศรุนแรง., See also: erotically adv. ดูerotic |
fart | (ฟาร์ท) n. ตด, การผายลม, บุคคลที่ดูถูก. vi. ตก, ผายลม |
fashionable | adj. ทันสมัย, ตามสมัยนิยม. -n. บุคคลที่ทันสมัย., See also: fashionableness n., Syn. stylish, -A. outdated |
fellowship | (เฟล'โลชิพ) n. ตำแหน่งผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย, ตำแหน่งสมาชิกของสมาคมวิชาการ, ความสัมพันธ์ของมนุษย์, มิตรภาพ, การคบหา, ความเป็นมิตร, สมาคมของบุคคลที่มีอาชีพ, รสนิยม, บริษัท, กลุ่มนักวิจัยในมหาวิทยาลัย. vt. รับเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมหรือกลุ่ม. vi. ร่วมเป็นสมาชิกของสมาค |
football | (ฟุท'บอล) n. กีฬาฟุตบอล, กีฬารักบี้, สิ่งหรือบุคคลที่ได้รับการกระทำ อย่างหยาบ ๆ ลูกฟุตบอล |
geek | (กีค) n. นักเล่นปาหี่, บุคคล, เจ้าหมอนี่, บุคคลที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์สูงมาก แต่ก็ไร้ประโยชน์ เพราะมักจะเป็นประเภทไม่ชอบให้ความช่วยเหลือใคร |
generator | (เจน'นะเรเทอะ) n. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, ไดนาโม, บุคคลที่ให้กำเนิด, สิ่งที่ให้กำเนิด, เครื่องมือผลิตแก๊สหรือไอ, Syn. creator |
gentility | (เจนทิล'ลิที) n. ความสละสลวย, บุคคลชั้นสูง, บุคคลที่เกิดในตระกูลผู้ดี, Syn. refinement, nobility |
good fellow | เพื่อนที่ดี, บุคคลที่น่าคบ, บุคคลที่มีใจกรุณา |
hard core | บุคคลที่เป็นแกนกลาง, หัวกะทิ, ผู้ไม่ยอมใครง่าย ๆ, Syn. rigid, diehard, extreme |
has-been | n. บุคคลหรือสิ่งของที่มีชื่อเสียงในอดีต, บุคคลที่เคยประสบความสำเร็จ สิ่งที่เคยประสบความสำเร็จ |
hermit | (เฮอร์'มิท) n. ฤาษี, บุคคลที่เก็บตัว, ผู้ตัดขาดจากโลกภายนอก, See also: hermitic, hermitical, hermitish adj. hermitry n. hermitage n. |
hilding | (ฮิล'ดิง) n. บุคคลที่น่าดูถูก, คนต่ำช้า adj. ต่ำช้า, น่ารังเกียจ, น่าดูถูก |
holy spirit | พระจิต, วิญญาณของพระเจ้า, บุคคลที่3ของ trinity |
humdrum | (ฮัม'ดรัม) adj. จืดชืด, น่าเบื่อ. -n. ความจืดชืด, ความไม่มีรสชาติ, ความน่าเบื่อ, การพูดที่น่าเบื่อ, บุคคลที่น่าเบื่อ., See also: humdrumness n., Syn. dull, fellow |
hunks | (ฮังคซฺ) n. บุคคลที่มีอารมณ์ร้าย, คนขี้เหนียว, Syn. miser |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
apple of one's eye | บุคคลที่เป็นที่โปรดปราน, Syn. A favoured person |
Carer | (n) ผู้ดูแล, พนักงานดูแล, พี่เลี้ยง บุคคลที่คอยดูแลให้ความช่วยเหลือผู้อื่นโดยเฉพาะเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย หรือผู้ที่มีความผิดปรกติทางด้านร่างกาย จิตใจ หรือสติปัญญา |
community enterprise | กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน |
dismissive | [dɪsˈmɪs·ɪv] (adj) บางสิ่งบางอย่างหรือบุคคลที่คุณคิดนั้นไม่ได้มีความสำคัญหรือมีค่าพอให้พิจารณา |
dreamseer | (n) บุคคลที่มองเห็นอนาคตผ่านความฝัน หรือมักเรียกว่า นักทำนายฝัน |
Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
InG | บุคคลที่หล่อที่สุดครับ |
InG | บุคคลที่หล่อที่สุดครับ |
jitti | (n) บุคคลที่งั่งที่สุดเท่าที่สามารถหาพบได้ ตั้งแต่มนุษย์ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกใบนี้ |
Life Saver | [ชีพรักษิก (ชีบ-พะ-รัก-สิก)] (n) น. คือ ผู้ที่เรียนรู้วิชาการช่วยชีวิต และการช่วยเหลือบุคคลที่ประสพภัย ทางน้ำ โดยมิได้รับค่าตอบแทน หรือยึดเป็นอาชีพ life - ชีวิต หรือ ชีพ saver - ผู้รักษา หรือ ผู้ช่วยเหลือ |
Life Saving | [ชีพรักษ์ (ชีบ-พะ-รัก)] (n, name, org) น. วิชาการที่เกี่ยวกับการป้องกัน และช่วยชีวิตบุคคลที่ตกน้ำ หรือผู้ที่ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ saving - การรักษา หรือ การช่วยเหลือ |
person vis-a-vis | บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน |
salim | (n, adj) กลุ่มคนหรือพฤติกรรมของบุคคลที่ไม่สนับสนุนระบอบประชาธิปไตย |
the rich and famous | (n) บุคคลที่ร่ำรวยและโด่งดังในวงสังคม; กลุ่มคนดังกล่าว |
tum | (n) บุคคลที่กำลังศึกษาคณะแพทย์, บุคคลที่นิยมกันดั้ม บางครั้งใช้เรียกคนประเทศเกาหลี, See also: sensei, Apae, Syn. Otaku |
จีนแส | ควรอ่านว่า ซินแส โดยทั่วไปเป็นการเรียกบุคคลที่เราไม่รู้จักชื่อ และเรียกครู หรือ หมอจีน |
แรด | (n, vt) N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ), See also: A. เรียบร้อย, Syn. กระซู่ |
Longdo Approved JP-TH
花形 | [はながた, hanagata] (n) (บุคคลที่เป็น)แม่แบบ ต้นแบบ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
信用状 | [しんようじょう, shinyoujou] (n) หนังสือจากธนาคารหนึ่งไปยังอีกธนาคารหนึ่ง ให้จ่ายเงินในจำนวนที่ระบุไว้แก่บุคคลที่ระบุไว้ |
douitashimashite / どういたしまして / どう致しまして/ 如何致しまして | [โดอิตะชิมะชิเตะ] (phrase) ไม่เป็นไร, ด้วยความยินดี (ตอบรับคำขอบคุณจากบุคคลที่เราให้ความช่วยเหลือ), See also: S. you are welcome, R. you are welcome, douitashimashite, どういたしまして, どう致しまして, 如何致しまして |
本人 | [ほんにん, honnin] เจ้าตัว บุคคลที่กล่าวถึงนี้ |
Longdo Approved DE-TH
Neuling | (n) |der, pl. Neulinge| เด็กใหม่, บุคคลที่เพิ่งเข้าร่วมกลุ่มหรือเพิ่งเข้าร่วมทำงานด้วย เช่น In unserem Betrieb haben wir jetzt 2 Neulinge. = เรามีพนักงานหน้าใหม่อยู่ในบริษัทขณะนี้ด้วยกัน 2 คน, See also: -, Syn. der Anfänger |
Prominente | (n) |der/die, pl. Prominente| บุคคลที่มีชื่อเสียง คนดัง, See also: ein Prominenter |
Longdo Approved FR-TH
fumeur, -euse | (n) le fumeur, la fumeuse = ผู้สูบบุหรี่, บุคคลที่สูบบุหรี่ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0587 seconds, cache age: 10.455 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม