มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| | Human rights | สิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Human rights advocacy | การพิทักษ์สิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Human rights in motion pictures | สิทธิมนุษยชนในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] | Human rights workers | นักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Women human rights workers | นักต่อสู้สตรีเพื่อสิทธิมนุษยชน [TU Subject Heading] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Human Rights Committee | คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) [การทูต] | human rights | สิทธิมนุษยชน [การทูต] | Universal Declaration of Human Rights | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นเอกสารหลักด้านสิทธิมนุษยชนฉบับแรก ซึ่งที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติให้การรับรองตามข้อมติที่ 217 A (III) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยไทยออกเสียงสนับสนุน [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
| | | สิทธิมนุษยชน | (n) human rights, Example: ทุกวันนี้พม่ายังข่มเหงและละเมิดสิทธิมนุษยชนชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในประเทศอยู่, Thai Definition: สิทธิของความเป็นมนุษย์ที่ติดตัวมาแต่เกิดของมนุษย์ทุกคน | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน | (n) Declaration of Human Rights, Example: ประเทศต่างๆ ให้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน, Thai Definition: การให้คำมั่นสัญญาหรือการแสดงยืนยันถึงสิทธิหรืออำนาจอันชอบธรรมของมนุษย์ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป |
| ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน | [Patinyā Sākon Wā Dūay Sitthi Manutsayachon] (n, prop) EN: Declaration of Human Rights | สิทธิมนุษยชน | [sitthi manutsayachon] (n, exp) EN: human rights FR: droits de l'Homme [ mpl ] | สิทธิมนุษยชนพื้นฐาน | [sitthi manutsayachon pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental human rights FR: droits humains fondamentaux [ mpl ] |
| 人权 | [rén quán, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ, 人 权 / 人 權] human rights #7,277 [Add to Longdo] | 胡佳 | [Hú Jiā, ㄏㄨˊ ㄐㄧㄚ, 胡 佳] Hu Jia (1974-), PRC dissident human rights activist #41,889 [Add to Longdo] | 人权法 | [rén quán fǎ, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄈㄚˇ, 人 权 法 / 人 權 法] Human Rights law (Hong Kong) #122,239 [Add to Longdo] | 萨哈罗夫 | [Sà hǎ luó fū, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄌㄨㄛˊ ㄈㄨ, 萨 哈 罗 夫 / 薩 哈 羅 夫] Andrei Sakharov (1921-1989), Russian nuclear scientist and dissident human rights activist #259,708 [Add to Longdo] | 世界人权宣言 | [Shì jiè Rén quán Xuān yán, ㄕˋ ㄐㄧㄝˋ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄒㄩㄢ ㄧㄢˊ, 世 界 人 权 宣 言 / 世 界 人 權 宣 言] Universal Declaration of Human Rights [Add to Longdo] | 人权观察 | [rén quán guān chá, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄍㄨㄢ ㄔㄚˊ, 人 权 观 察 / 人 權 觀 察] Human Rights Watch (organization) [Add to Longdo] | 人权斗士 | [rén quán dòu shì, ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄉㄡˋ ㄕˋ, 人 权 斗 士 / 人 權 鬥 士] a human rights activist; a fighter for human rights [Add to Longdo] | 大宪章 | [dà xiàn zhāng, ㄉㄚˋ ㄒㄧㄢˋ ㄓㄤ, 大 宪 章 / 大 憲 章] Magna Carta, contract forced on Norman king John of England in 1215 by his barons, subsequently viewed as a basis of constitutional government and human rights [Add to Longdo] | 扬建利 | [yáng jiàn lì, ㄧㄤˊ ㄐㄧㄢˋ ㄌㄧˋ, 扬 建 利 / 楊 建 利] Yang JianLi, PRC human rights activist [Add to Longdo] | 萨哈罗夫人权奖 | [sà hǎ luó fū rén quán jiǎng, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄌㄨㄛˊ ㄈㄨ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄐㄧㄤˇ, 萨 哈 罗 夫 人 权 奖 / 薩 哈 羅 夫 人 權 獎] the EU Sakharov prize for human rights [Add to Longdo] | 萨哈诺夫人权奖 | [sà hǎ nuò fū rén quán jiǎng, ㄙㄚˋ ㄏㄚˇ ㄋㄨㄛˋ ㄈㄨ ㄖㄣˊ ㄑㄩㄢˊ ㄐㄧㄤˇ, 萨 哈 诺 夫 人 权 奖 / 薩 哈 諾 夫 人 權 獎] the EU Sakharov prize for human rights [Add to Longdo] |
| | 人権 | [じんけん, jinken] (n, adj-no) human rights; civil liberties; (P) #4,909 [Add to Longdo] | 理念 | [りねん, rinen] (n) (Platonic) ideal (of how things ought to be, e.g. human rights); foundational principle; idea; conception (e.g. of the university); doctrine; ideology; (P) #6,765 [Add to Longdo] | 基本的人権 | [きほんてきじんけん, kihontekijinken] (n) fundamental human rights [Add to Longdo] | 救済機関 | [きゅうさいきかん, kyuusaikikan] (n) (See 人権救済機関) aid agency; rescue organization; organization to monitor human rights [Add to Longdo] | 国際人権規約 | [こくさいじんけんきやく, kokusaijinkenkiyaku] (n) (1) International Covenants on Human Rights; ICCPR; (2) International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights; ICESCR [Add to Longdo] | 国際連合人権委員会 | [こくさいれんごうじんけんいいんかい, kokusairengoujinken'iinkai] (n) (obsc) (See 国連人権委員会) United Nations Commission on Human Rights [Add to Longdo] | 国連規約人権委員会 | [こくれんきやくじんけんいいんかい, kokurenkiyakujinken'iinkai] (n) United Nations Human Rights Council; UNCHR [Add to Longdo] | 国連人権委員会 | [こくれんじんけんいいんかい, kokurenjinken'iinkai] (n) UN Human Rights Commission [Add to Longdo] | 人権救済機関 | [じんけんきゅうさいきかん, jinkenkyuusaikikan] (n) organization to monitor human rights [Add to Longdo] | 人権状況 | [じんけんじょうきょう, jinkenjoukyou] (n) human rights situation; human rights condition [Add to Longdo] | 人権侵害 | [じんけんしんがい, jinkenshingai] (n) human rights violation [Add to Longdo] | 人権団体 | [じんけんだんたい, jinkendantai] (n) human rights organization; human rights organisation [Add to Longdo] | 人権保護団体 | [じんけんほごだんたい, jinkenhogodantai] (n) human rights organization; human rights organisation [Add to Longdo] | 人権問題 | [じんけんもんだい, jinkenmondai] (n) human rights issue [Add to Longdo] | 人権擁護 | [じんけんようご, jinkenyougo] (n) protection of human rights; (P) [Add to Longdo] | 人権抑圧 | [じんけんよくあつ, jinkenyokuatsu] (n) suppression of human rights [Add to Longdo] | 人権蹂躪;人権蹂躙 | [じんけんじゅうりん, jinkenjuurin] (n) human rights violation; trampling on human rights [Add to Longdo] | 世界人権宣言 | [せかいじんけんせんげん, sekaijinkensengen] (n) Universal Declaration of Human Rights (1948) [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |