384 ผลลัพธ์ สำหรับ *แทรก*
ภาษา
หรือค้นหา: แทรก, -แทรก-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ใบแทรก | (n) insert, See also: addendum, supplement, inset, Syn. ใบเสริม, Example: แผนที่พิมพ์อยู่บนใบแทรกของประกาศในหนังสือพิมพ์ แสดงที่ที่เกิดการฆาตกรรมกองโจรอินโดนีเซีย, Count Unit: ใบ, Thai Definition: แผ่นกระดาษมีข้อความประกาศหรือโฆษณาเป็นต้นที่แทรกอยู่ในหนังสือพิมพ์ |
กันแทรก | (n) guards of the chief commander, Thai Definition: กองทำหน้าที่แทรกเพื่อป้องกันจอมทัพ |
การแทรก | (n) insertion, See also: infiltration, permeation, penetration, Syn. การคั่น, การสอด, การเข้ายุ่ง, การซึมผ่าน, การเข้าแทรก, Example: เขาประสบความสำเร็จในการแทรกตัวเข้าไปมีบทบาทในทางการเมือง, Thai Definition: การเข้าไปอยู่ในระหว่างสิ่งอื่นในลักษณะที่เบียดเสียดหรือสอดเป็นต้น, การเจือเพียงนิดหน่อย, การเกิดขึ้นในระหว่าง, การเติมเข้าไปในระหว่าง |
พูดแทรก | (v) interrupt, See also: break into, Syn. พูดขัดจังหวะ, พูดคั่น, พูดสอด, Example: อย่าพูดสอดหรือพูดแทรก ขณะผู้อื่นกำลังกล่าวแสดงความคิดเห็น, Thai Definition: พูดขึ้นมาขณะที่ผู้อื่นกำลังพูด |
สอดแทรก | (v) intervene (in), See also: interfere (in), meddle (in), put one's nose into, Syn. แทรกสอด, Example: การค้นหาหรือสอดแทรกข้อมูลเหล่านี้ ไม่ค่อยสะดวกทันใจเท่าไรนัก |
สอดแทรก | (v) intervene (in), See also: interfere (in), meddle (in), put one's nose into, Syn. แทรกสอด, Example: การค้นหาหรือสอดแทรกข้อมูลเหล่านี้ ไม่ค่อยสะดวกทันใจเท่าไรนัก |
แทรกซอน | (v) insert, See also: penetrate, pass in (as a wedge), through, squeeze in, Syn. ซอนไช, Example: เขาแทรกซ้อนผ่านกลุ่มคนดูจนได้ออกมายืนแถวหน้า, Thai Definition: แทรกไปทั่ว |
แทรกซึม | (v) infiltrate, See also: permeate, be abundant, Syn. ซึมซาบ, ซึม, Example: ยาเสพติดเป็นปัญหาร้ายแรงที่แทรกซึมเข้าทำลายสังคมเกือบทุกระดับ โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น, Thai Definition: อาการที่ค่อยๆ แทรกเข้าไปโดยไม่ให้รู้ตัว |
แทรกตัว | (v) push through, See also: shove, jostle, press, Syn. เบียด, Example: เธอแทรกตัวขึ้นบันไดหน้าของรถคันแรกได้โดยไม่ยากนัก, Thai Definition: เบียดเข้าไป |
แทรกตัว | (v) mix, See also: intermingle, mingle, blend, combine, Syn. ปะปน, Example: มีตำรวจสากลเยอรมันหรือหน่วยข่าวกรองเยอรมัน (DND) แทรกตัวปะปนอยู่กับบรรดานักท่องเที่ยวต่างถิ่นเพื่อจับตานักลงทุนชาวเยอรมันในเมืองไทยที่มีพฤติกรรมที่น่าสงสัย |
แทรกแซง | (v) intervene (in), See also: interfere in, intrude in, intercede in, step into, meddle in, Example: ผู้ปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ่ได้เดินขบวนเรียกร้องขอให้รัฐเข้าช่วยเหลือแทรกแซงตลาดกระเทียมและหอมหัวใหญ่เนื่องจากราคาตกต่ำ, Thai Definition: แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น |
แทรกแซง | (v) intervene (in), See also: interfere in, intrude in, intercede in, step into, meddle in, Example: ผู้ปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ่ได้เดินขบวนเรียกร้องขอให้รัฐเข้าช่วยเหลือแทรกแซงตลาดกระเทียมและหอมหัวใหญ่เนื่องจากราคาตกต่ำ, Thai Definition: แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น |
แทรกแซง | (v) intervene (in), See also: interfere in, intrude in, intercede in, step into, meddle in, Example: ผู้ปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ่ได้เดินขบวนเรียกร้องขอให้รัฐเข้าช่วยเหลือแทรกแซงตลาดกระเทียมและหอมหัวใหญ่เนื่องจากราคาตกต่ำ, Thai Definition: แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น |
แทรกโพน | (v) catch an elephant in the open area, Thai Definition: จับช้างกลางแปลง |
โรคแทรก | (n) complication, See also: incurrent disease, Syn. โรคแทรกซ้อน, Example: ผู้ป่วยโรคเบาหวานอาจมีโรคแทรกทางตาเกิดขึ้นได้ ดังนั้นแม้ยังไม่มีอาการของสายตา ก็ควรให้จักษุแพทย์ตรวจอย่างน้อยปีละครั้ง |
แทรกซ้อน | (v) have complications, Syn. สอดแทรก, เข้าแทรก, แทรก, Example: เขาตัดสินใจอำลาการเมือง เนื่องจากเข้าผ่าตัดลำไส้ใหญ่แล้วอาการต่างๆ ที่แทรกซ้อนยังไม่ดีขึ้น, Thai Definition: การที่สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นในระหว่างที่อีกสิ่งหนึ่งกำลังเกิดอยู่ |
แทรกซ้อน | (v) cause complications, See also: create side issues, raise obstacles, deliberately complicate an issue, Syn. แทรก, Example: คนเรามีอยู่มากที่เป็นเบาหวานแล้วไม่รู้ตัว จนกระทั่งเกิดโรคอื่นแทรกซ้อนจึงจะรู้ตัว, Thai Definition: ลักษณะที่สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นในระหว่างที่อีกสิ่งหนึ่งกำลังเกิดอยู่ |
เสียดแทรก | (v) intervene, See also: interfere (in), Example: ชาวบ้านพยายามเอาใจช่วยลูกหมาตัวน้อยที่พยายามเสียดแทรกให้หลุดพ้นจากกับดักสัตว์ที่วางไว้, Thai Definition: เข้าไปอยู่ในระหว่างสิ่งอื่นในลักษณะที่เบียดเสียดหรือสอด |
รถแทรกเตอร์ | (n) tractor, Syn. รถไถนา |
เข้าแทรกแซง | (v) take part, See also: take the interest for the benefit of, Syn. แทรกแซง, Example: ธนาคารกลางญี่ปุ่นเข้าแทรกแซงเงินเยนในตลาดนิวยอร์กเมื่อคืนวันศุกร์ที่ผ่านมา, Thai Definition: เข้าไปเกี่ยวข้องเพื่อมีส่วนได้ส่วนเสีย |
โรคแทรกซ้อน | (n) incurrent disease, See also: complication, Syn. โรคแทรก, Example: สมุนไพรหลายอย่างสามารถเยียวยาโรคแทรกซ้อนจากโรคเอดส์ได้ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กรรแทรก | (กันแซก) น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแซง คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. (ดู กันแทรก ที่ กัน ๓). |
กันแทรก | (-แซก) น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กันแซง คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. |
ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้ามาแทรก | น. เรื่องเดือดร้อนเก่ายังไม่ทันหมด ก็มีเรื่องเดือดร้อนใหม่เข้ามาอีก. |
แทรก ๑ | (แซก) ก. เข้าไปอยู่ในระหว่างสิ่งอื่นในลักษณะที่เบียดเสียดหรือสอดเป็นต้น เช่น แทรกตัว |
แทรก ๑ | เจือเพียงนิดหน่อย เช่น แทรกยาดำ แทรกพิมเสน, เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น มีโรคปอดบวมแทรก |
แทรก ๑ | เติมเข้าไปในระหว่าง เช่น แทรกเนื้อความ |
แทรก ๑ | โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พูดแทรก. |
แทรก ๑ | (แซก) น. เรียกม้าหลวงหรือช้างหลวงพวกหนึ่ง ที่จัดให้เดินคั่นระหว่างกระบวนแห่หรือกองทัพแต่ละกระบวน ว่า ม้าแทรก ช้างแทรก. |
แทรกซอน | ก. แทรกไปทั่ว. |
แทรกซ้อน | ก. เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น มีโรคแทรกซ้อน มีปัญหาแทรกซ้อน. |
แทรกซึม | ก. อาการที่ค่อย ๆ แทรกเข้าไปโดยไม่ให้รู้ตัว. |
แทรกแซง | ก. แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น. |
แทรกแผ่นดิน | ก. หลีกหนีไปให้พ้น ไม่อยากให้ใครพบหน้าเพราะอับอาย. |
แทรกโพน | ก. จับช้างกลางแปลง. |
แทรก ๒ | (แซก) น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง, เดิมเขียนเป็น แซก. |
แทรกเตอร์ | (แทฺรก-) น. รถทุ่นแรงที่ใช้ในงานเกษตรกรรมหรืองานก่อสร้าง มีทั้งแบบตีนตะขาบและแบบล้อ ใช้ลากหรือขับเคลื่อนอุปกรณ์อย่างอื่นที่ติดเข้ากับตัวรถตามลักษณะงานที่ใช้. |
บังแทรก | (-แซก) น. เครื่องสูงอย่างหนึ่งสำหรับใช้ในริ้วขบวนพิธีแห่, คู่กับ บังสูรย์ อยู่ระหว่างฉัตร, โบราณเรียก ทานตะวัน หรือ ทอนตะวัน ก็มี. |
ใบแทรก | น. แผ่นกระดาษมีข้อความประกาศหรือโฆษณาเป็นต้นที่แทรกอยู่ในหนังสือพิมพ์. |
โปรแทรกเตอร์ | (โปฺรแทฺรก-) น. เครื่องมือวัดมุม มักทำเป็นรูปครึ่งวงกลม, ถ้าเป็นไม้บรรทัด ใช้วัดมุมได้ เรียกว่า ไม้โปรแทรกเตอร์. |
พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก | น. ความทุกข์ยากลำบากที่เกิดซ้อน ๆ เข้ามาในขณะเดียวกัน. |
รถแทรกเตอร์ | น. รถทุ่นแรง ใช้ลากหรือขับเคลื่อนอุปกรณ์อย่างอื่นที่ติดเข้าไปกับตัวรถตามลักษณะงานที่ใช้ มี ๒ แบบ คือ แบบตีนตะขาบ และแบบล้อซึ่งมีล้อหลังใหญ่กว่าล้อหน้า. |
สอดแทรก | ก. เข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน เช่น เขาชอบไปสอดแทรกในเรื่องส่วนตัวของคนอื่น. |
เสียดแทรก | ก. เบียดเข้าไปในระหว่างกลุ่มคนหรือของจำนวนมากที่อยู่ชิด ๆ กัน. |
กรรแซง | (กัน-) น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแทรก คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. (ดู กันแซง ๑ ที่ กัน ๓). |
กระสาย | น. เครื่องแทรกยา เช่น นํ้าเหล้า. |
กรุย ๑ | (กฺรุย) ก. ใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ เช่นจอบ เสียม หรือแทรกเตอร์ เปิดทางถางทางเพื่อเป็นแนวไว้, เป็นแนวไว้ เช่น กรุยทาง |
กันแซง ๑ | น. เจ้าพนักงานทำหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กันแทรก คือ เจ้าพนักงานทำหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ. |
กำมะลอ | เรียกกลดที่ทำด้วยผ้าขาวหรือแพรขาวเขียนลายทอง สำหรับใช้กับเจ้านายหรือพระพุทธรูป ว่า กลดกำมะลอ, เรียกลายที่เขียนที่เครื่องกำมะลอเป็นลายสี ลายทอง หรือลายทองแทรกสี หรือเขียนบนผ้าขาวหรือแพรขาว ว่า ลายกำมะลอ |
เก็บ ๒ | น. วิธีบรรเลงเครื่องดนตรีดำเนินทำนองทั่วไปที่เพิ่มเติมเสียงสอดแทรกให้มีพยางค์ถี่ขึ้นมากกว่าทำนองเนื้อเพลงธรรมดา, ทำนองเก็บ หรือ ลูกเก็บ ก็เรียก. |
เกษียน | (กะเสียน) น. ข้อความที่เขียนแทรกไว้เช่นในใบลาน, ข้อความที่เขียนไว้บนหัวกระดาษคำสั่ง หรือหนังสือราชการ เรียกว่า หัวเกษียน. |
ขัดจังหวะ | ก. แทรกเข้ามาในระหว่างร้องรำ |
ขัดบท | ก. แทรกเข้ามาเมื่อเขาพูดยังไม่จบเรื่อง, ใช้เลือนมาเป็น ขัดคอ ก็มี. |
เข้า ๑ | ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ |
เข้าสิง | ก. อาการที่เชื่อกันว่าผีเข้าแทรกอยู่ในตัวคน เช่น เขาถูกผีเข้าสิง, โดยปริยายหมายความว่า ครอบงำ เช่น เขาถูกผีการพนันเข้าสิง. |
คั่น | ก. แทรกหรือกั้นอยู่ในระหว่าง. |
จีม | ก. เอาลิ่มเสียบแทรกลงไปเพื่อให้แน่นเป็นต้น. |
ชรเรือด | (ชะระ-) ก. แทรก เช่น ชรรินชรเรือดแฝง มณิเพ็ญดูเพรี้ยมพราย (สมุทรโฆษ). |
ชรุก | (ชะรุก) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน (ม. คำหลวง จุลพน). |
ชลาสินธุ์ | น. ห้วงน้ำ เช่น ข้าเป็นไรแทรกขนสุบรรณบิน เร็วรีบยิ่งมหาวายุพัด กวักกวัดปีกข้ามชลาสินธุ์ (กากี), สายน้ำ เช่น พระเหลือบเล็งชลาสินธุ์ ในวารินทะเลวน ก็เห็นรูปอสุรกล ซึ่งกลายแกล้งเป็นสีดา (พากย์นางลอย). |
ชำแรก | ก. แทรก, แหวก, แทรกลงไป, เจือปน. |
ซอก | ก. ซุก, ซุกแทรกเข้าไป, เช่น ซอกตัวเข้าไปในฝูงชน, ซ่อน. |
ซึก ๒ | ว. แทรกอยู่, ซึ้งเข้าไป. |
ซุก | ก. หมกซ่อนหรือยัดแทรกไว้ในที่มิดชิดเช่นตามซอกตามมุม. |
แซก | ดู แทรก ๒. |
แซง ๒ | สอดแทรกเข้ามาในระหว่าง เช่น พูดแซง. |
แซม | ก. แทรกขึ้นมาในระหว่าง เช่น ฟันแซม ขนแซม, เสียบเข้าไปในระหว่าง เช่น เด็ดดอกไม้แซมผม, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหน็บแทรกหรือสอดเข้าไปเพื่อแทนสิ่งที่ชำรุดให้ดีขึ้น เช่น แซมกระบุง แซมหลังคา. |
แซม | น. เรียกม้าที่มีขนสีอื่นแทรกขึ้นมาในระหว่างขนที่เป็นพื้น ว่า ม้าแซม. |
ติดตลก | ก. เอาตัวตลกมาเล่นแทรกเพื่อให้ตัวละครหรือคนร้องพัก, ใช้สำนวนโวหารหรือแสดงท่าทางชวนให้คนหัวเราะขบขัน. |
ท ๒ | ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์. |
น้ำกระสาย | น. นํ้าใช้เป็นเครื่องแทรกยาไทย เช่น นํ้าเหล้า นํ้าซาวข้าว. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
pseudoparaphyses | เส้นแทรกเทียม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
peaceful penetration | การแทรกซึมอย่างสงบ (เพื่อให้มีอิทธิพล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protractor | โพรแทรกเตอร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
placenta increta | รกแทรกติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
piercement; diapir; diapiric fold; piercing fold | ชั้นหินคดโค้งแทรกดัน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
piercing fold; diapir; diapiric fold; piercement | ชั้นหินคดโค้งแทรกดัน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
parenthesis | ความแทรก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
paraphysate | มีเส้นแทรก [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
paraphysis | เส้นแทรก [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lateral fricative; lateral fricative sound | เสียงเสียดแทรกข้างลิ้น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lateral fricative sound; lateral fricative | เสียงเสียดแทรกข้างลิ้น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
labour, complicated | การคลอดมีเหตุแทรก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
slit fricative; slit fricative sound | เสียงเสียดแทรกแบบราบ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
slit fricative sound; slit fricative | เสียงเสียดแทรกแบบราบ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
shadow-angle protractor | โพรแทรกเตอร์วัดมุมเงา [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
sill | พนังแทรกชั้น [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
supplementary contour; auxiliary contour | เส้นชั้นแทรก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
superseding cause | เหตุแทรกแทน, เหตุเหนือกว่า (ที่ทำให้ผู้ละเมิดหลุดพ้นจากความรับผิด) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
signal-to-interference ratio | อัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณแทรกสอด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
supervening cause | เหตุแทรกซ้อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
supervening negligence | ความประมาทที่มีเหตุแทรกซ้อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sibilant; sibilant sound | เสียงเสียดแทรกอุสุม [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sibilant sound; sibilant | เสียงเสียดแทรกอุสุม [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
osteosis | การแทรกแซมด้วยเนื้อเยื่อกระดูก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
accordant intrusion | การแทรกซอนร่วมแนว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
affricate; affricate sound | เสียงกักเสียดแทรก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
affricate sound; affricate | เสียงกักเสียดแทรก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
aspirated affricate; aspirated affricate sound | เสียงกักเสียดแทรกธนิต [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
aspirated affricate sound; aspirated affricate | เสียงกักเสียดแทรกธนิต [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
alternate-channel interference | การแทรกสอดถัดช่องประชิด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
autointrusion | การแทรกซอนที่เดิม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
auxiliary contour; supplementary contous | เส้นชั้นแทรก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
bit stuffing | การสอดแทรกบิต [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
bit stuffing | การสอดแทรกบิต [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
breathy voice | เสียงพูดลมแทรก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mediation | ๑. การแทรก๒. การเป็นสื่อกลาง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constructive interference | การแทรกสอดเสริม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
crosstalk | ๑. การแทรกสัญญาณข้าม(วงจร)๒. สัญญาณแทรกข้าม(วงจร) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
crosstalk | ๑. การแทรกสัญญาณข้าม(วงจร)๒. สัญญาณแทรกข้าม(วงจร) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
co-channel interference | การแทรกสอดช่องสัญญาณร่วม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
concordant intrusion | ๑. การแทรกซอนร่วมแนว๒. หินอัคนีแทรกซอนร่วมแนว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
corollary | อนุนัย, บทแทรก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
complicated fracture | กระดูกหักแทรกซ้อน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
complicated labour | การคลอดมีเหตุแทรก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
complication | ๑. โรคแทรก๒. ภาวะแทรกซ้อน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diapiric fold; diapir; piercement; piercing fold | ชั้นหินคดโค้งแทรกดัน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
diapir; diapiric fold; piercement; piercing fold | ชั้นหินคดโค้งแทรกดัน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
discordance | ๑. การแทรกซอนไม่ร่วมแนว๒. รอยชั้นไม่ต่อเนื่องเชิงมุม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
discordant intrusion | การแทรกซอนไม่ร่วมแนว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
destructive interference | การแทรกสอดหักล้าง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เมรุแทรก | เมรุซึ่งแทรกกลางระหว่างเมรุทิศทั้ง 4 หรือ จะแทรกตรงไหนที่เหมาะสม [ศัพท์พระราชพิธี] |
บังแทรก | เครื่องสูงอย่างหนึ่งมีด้ามถือรูปคล้ายบังสูรย์แต่เล็กกว่า ใช้ในขบวนแห่ของหลวงสำหรับบังแดด [ศัพท์พระราชพิธี] |
Formation Pore Pressure | ความดันของไหลในชั้นหิน , Formation Pore Pressure หรือ Formation Pressure คือ ความดันของไหลในชั้นหิน ของไหลที่แทรกตัวอยู่ในช่องว่างของชั้นหิน ซึ่งอาจเป็นก๊าซ น้ำมัน หรือ น้ำ, Example: จะมีความดันภายในตัวเองที่เกิดจากน้ำหนักตัวของไหลเองและแรงบีบอัด อันเกิดจากน้ำหนักหินกดทับลงมา แล้วทำให้ช่องว่างในหินลดขนาดลง (Compaction) ของไหลที่อยู่ในช่องว่างของหินก็จะออกแรงดันต้านกลายเป็นความดันของไหลในชั้นหิน (formation pore pressure) ในบางครั้งจะเรียกความดันที่เกิดจากของไหลในชั้นหินว่า ความดันชั้นหิน (formation pressure) ซึ่งจะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการควบคุมหลุมเจาะ [ปิโตรเลี่ยม] |
Insert key | แป้นแทรก [คอมพิวเตอร์] |
Insert mode | ภาวะแทรก [คอมพิวเตอร์] |
Anthrax | แอนแทรกซ์ [TU Subject Heading] |
Complications | ภาวะแทรกซ้อน [TU Subject Heading] |
Diabetes complications | ภาวะแทรกซ้อนขณะเป็นเบาหวาน [TU Subject Heading] |
Humanitarian intervention | การแทรกแซงด้วยเหตุผลทางมนุษยธรรม [TU Subject Heading] |
Intervention | การแทรกแซง [TU Subject Heading] |
Intervention (International law) | การแทรกแซง (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] |
Intraoperative complications | ภาวะแทรกซ้อนในขณะศัลยกรรม [TU Subject Heading] |
Labor complications | ภาวะแทรกซ้อนขณะคลอด [TU Subject Heading] |
Master Track Pro 4 for Windows (Computer program) | มาสเตอร์ แทรก โปร 4 สำหรับวินโดวส์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Postoperative complications | ภาวะแทรกซ้อนหลังศัลยกรรม [TU Subject Heading] |
Pregnancy complications | ภาวะแทรกซ้อนขณะมีครรภ์ [TU Subject Heading] |
Pregnancy complications, Cardiovascular | ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือดขณะมีครรภ์ [TU Subject Heading] |
Pregnancy complications, Infectious | ภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อขณะมีครรภ์ [TU Subject Heading] |
RNA interference | การแทรกแซงอาร์เอ็นเอ [TU Subject Heading] |
Infiltration | การแทรกซึม, Example: การที่ของเหลวแทรกตัวเข้าไปอยู่ในของแข็ง เนื่องจากเนื้อในของของแข็งมีช่องว่างหรือรูพรุน ตัวอย่างเช่น การที่น้ำเข้าไปอิ่มตัวอยู่ได้ ในกระดาษซับหรือในดินในหินบางชนิด [สิ่งแวดล้อม] |
African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] |
constructive intervention | การแทรกแซงอย่างสร้างสรรค์ [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
intervention | 1. การเข้าแทรกแซง 2. การเข้าร่วมอภิปราย การเข้าร่วมกล่าวถ้อยแถลง (ใช้ในกรณีการประชุมพหุภาคี) [การทูต] |
Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Responsibility to protect | หลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน [การทูต] |
Stalemate | ภาวะจนมุม เป็นคำที่ยืมมาจากเกมหมากรุกและใช้ในความหมายที่ว่า ตกอยู่ในสภาพชะงักงันหรือทางตัน คำนี้จะใช้กันแพร่หลายในด้านการทูต และในด้านการเจรจาระหว่างประเทศ คือ ทั้งสองฝ่ายต่างยึดมั่นในหลักการของแต่ละฝ่าย ซึ่งแตกต่างกันได้ก็ด้วยอาศัยมือที่สาม หรือประเทศที่สามเข้ามาแทรกแซงแก้ไขให้ [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Ethylene propylene diene rubber | ยาง EPDM เป็นยางสังเคราะห์ที่พัฒนามาจากยาง EPM โดยเติมมอนอเมอร์ตัวที่สาม คือ ไดอีน ลงไปเล็กน้อยในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ทำให้ยางที่ได้มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (พันธะคู่) อยู่ในสายโซ่โมเลกุล ยางชนิดนี้จึงสามารถคงรูปได้ด้วยกำมะถัน แต่ไดอีนที่เติมลงไปไม่ได้ไปแทรกอยู่ที่สายโซ่หลักของโมเลกุล ดังนั้นสายโซ่หลักก็ยังคงเหมือนเดิมหรือไม่มีผลต่อสายโซ่หลักมากนัก จึงทำให้ยาง EPDM ยังคงมีสมบัติเด่นในเรื่องการทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน แสงแดด ออกซิเจน โอโซน สารเคมี กรด ด่างได้ดีมาก และมีความยืดหยุ่นตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำเมื่อเทียบกับ ยางธรรมชาติ มักใช้ทำผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ภายนอกเนื่องจากทนต่อสภาพอากาศได้ดีและใช้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ยางขอบกระจก ยางปัดน้ำฝน ท่อยางของหม้อน้ำรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นฉนวนหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง แผ่นยางกันน้ำ แผ่นยางมุงหลังคา [เทคโนโลยียาง] |
Adventitious Sound | เสียงหายใจที่ผิดปกติ, เสียงผิดปกติ, เสียงผิดปกติ, เสียงผิดปกติ, เสียงแทรกซ้อน [การแพทย์] |
Anesthetic Complications | ภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยาระงับความรู้สึก [การแพทย์] |
Anthrax | แอนแทรกซ์, โรค; แอนแธร็กซ์; แอนแทรกซ์; เชื้อแอนแทร็กซ; โรคแอนแทร๊ก; โรคแอนแทรคซ์; โรคแอนแทรกซ์ [การแพทย์] |
Astrocytoma, Infiltrative | แทรกแซงเข้าไปในเนื้อสมองข้างเดียวอย่างกว้างขวาง [การแพทย์] |
Carcinoma, Invasive | คาร์ซิโนมาชนิดแทรกซึม [การแพทย์] |
Carcinoma, Lobular, Non Invasive | โลบูลาร์คาร์ซิโนมาชนิดไม่แทรกซึม [การแพทย์] |
Carcinoma, Non Invasive | คาร์ซิโนมาชนิดไม่แทรกซึม [การแพทย์] |
Cell Infiltration, Inflammatory | เซลล์อักเสบแทรก [การแพทย์] |
Central Nervous System Complications | ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทกลาง [การแพทย์] |
Comedocarcinoma, Invasive | โคมีโดคาร์ซิโนมาชนิดแทรกซึม [การแพทย์] |
Comedocarcinoma, Non Invasive | โคมีโดคาร์ซิโนมาชนิดไม่แทรกซึม [การแพทย์] |
Complicated | โรคแทรก [การแพทย์] |
Complication Diseases | โรคแทรกซ้อน [การแพทย์] |
Complications | โรคแทรกซ้อน, อาการแทรกซ้อน, ภาวะแทรกซ้อน, สิ่งแทรกซ้อน, โรคแทรก, ภาวะแทรกซ้อน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ใบแทรก | [baisaēk] (n) EN: insert |
การเข้าแทรก | [kān khao saēk] (n, exp) EN: insertion |
การแทรกแซง | [kān saēksaēng] (n) EN: intervention ; interference FR: intervention [ f ] |
การแทรกแซงราคา | [kān saēksaēng rākhā] (n, exp) EN: price control ; price regulation FR: contrôle des prix [ m ] |
การสอดแทรก | [kān søtsaēk] (n) EN: intervention FR: intervention [ f ] |
ข้อแทรก | [khø saēk] (n, exp) EN: insertion |
รถแทรกเตอร์ | [rot thraēktoēr] (n) FR: tracteur [ m ] |
แทรก | [saēk] (x) EN: insert ; infiltrate ; penetrate ; insinuate ; introduce FR: se faufiler ; se frayer un chemin ; s'infiltrer ; insérer |
แทรกเข้า | [saēk khao] (v, exp) FR: insérer ; intercaler |
แทรกข้อกำหนด | [saēk khøkamnot] (v, exp) EN: insert a clause FR: insérer une clause |
แทรกโพน | [saēkphōn] (v) EN: catch an elephant in the open area |
แทรกแซง | [saēksaēng] (v) EN: intervene (in) ; interfere in ; intrude in ; intercede in ; step into ; meddle in FR: intervenir ; interférer ; se mêler de |
แทรกซึม | [saēkseum] (v) EN: infiltrate ; permeate ; be abundant FR: s'imprégner ; s'imbiber |
แทรกซอน | [saēksøn] (v) EN: insert ; penetrate ; pass in ; through ; squeeze in |
แทรกซ้อน | [saēksøn] (v) EN: cause complications ; create side issues ; raise obstacles ; deliberately complicate an issue ; have complications |
แทรกตัว | [saēk tūa] (v) EN: push through ; shove ; jostle ; press |
แทรกตัว | [saēk tūa] (v) EN: mix ; intermingle ; mingle ; blend ; combine |
สอดแทรก | [søtsaēk] (v) EN: intervene |
แทรกเตอร์ | [thraēktoē] (n) EN: tractor FR: tracteur [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
sidebar | (n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
addendum | (n) ใบแทรก (โดยเฉพาะสำหรับหนังสือ), See also: ภาคผนวก, คำเพิ่มเติม |
affricate | (n) เสียงกักเสียดแทรก (สัทศาสตร์), See also: เสียงที่เกิดจากการออกเสียงในลักษณะที่เริ่มด้วยฐานกรณ์ปิดสนิทแล้วค่อยๆเปิดออก ทำให้ลม |
baffle | (vt) แทรกเข้ามาควบคุม (การไหลของก๊าซ, การส่งคลื่นเสียงหรือแสง) |
bulldozer | (n) รถแทรกเตอร์เกลี่ยดิน, Syn. tractor |
break in on | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: แทรก, Syn. burst in on |
break in upon | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: แทรก, Syn. burst in on |
bung in | (phrv) ขัดจังหวะ (คำไม่เป็นทางการ), See also: พูดแทรก |
cut off | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: พูดแทรก, ทำให้หยุดพูด, Syn. interrupt, intrude |
chime in | (phrv) พูดแทรก, See also: พูดขัดจังหวะ |
chip in | (phrv) พูดแทรก, See also: พูดขัดจังหวะ |
edge in | (phrv) พูดแทรก, See also: แทรก |
fling in | (phrv) พูดแทรก, See also: ขัดจังหวะ, Syn. put in |
diagraph | (n) เครื่องวัดมุมและเส้นแบ่งองศา, See also: ไม้โปรแทรกเตอร์ |
fricative | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับเสียงเสียดแทรก, See also: ซึ่งเป็นเสียงเสียดแทรก |
fricative | (n) พยัญชนะที่มีเสียงเสียดแทรกจากฐานกรณ์ (ในวิชาภาษาศาสตร์), Syn. spirant |
get by | (phrv) สามารถเบียดผ่าน, See also: เคลื่อนผ่าน, แทรกตัวผ่าน, Syn. get past |
go between | (phrv) แทรกระหว่าง |
horn in | (phrv) ขัดจังหวะ, See also: พูดแทรก, เข้าร่วมโดยไม่ได้รับเชิญ, Syn. muscle in |
infiltrate into | (phrv) แทรกซึมเข้าไป, See also: ผ่านเข้าไป, ทะลุเข้าไป, ซึมเข้าไป |
infiltrate through | (phrv) แทรกซึมผ่าน, See also: แทรกผ่าน, ทุะลุผ่าน, ซึมผ่าน |
ingraft in | (phrv) สอนสั่ง, See also: สั่งสอน, สอดแทรก, สอดใส่, Syn. engraft in |
insert between | (phrv) แทรกระหว่าง, See also: สอดแทรกระหว่าง, ใส่ระหว่าง |
insert in | (phrv) แทรกเข้าไปใน, See also: สอดเข้าไปใน, ใส่เข้าไปใน |
insert into | (phrv) เขียนเพิ่มใน, See also: ใส่เพิ่มเข้าไปใน, แทรกเข้าไปใน |
inset in | (phrv) สอดแทรกเข้าไป, See also: ใส่เข้าไป, Syn. inset into |
inset into | (phrv) สอดแทรกเข้าไป, See also: ใส่เข้าไป, Syn. inset in |
insinuate into | (phrv) สอดแทรกเข้าไป, See also: ใส่เข้าไป |
interleave with | (phrv) สอดแทรกด้วย, See also: แทรกด้วย |
interpose between | (phrv) สอดแทรกระหว่าง, See also: กั้นขวางระหว่าง, กีดขวางระหว่าง, Syn. intervene between |
intervene between | (phrv) เข้ามาแทรกระหว่าง, See also: แทรกแซงระหว่าง, Syn. interpose between |
impinge | (vt) เข้าแทรกแซง, See also: สอดแทรก, บุกรุก, Syn. encroach, interfere, invade |
infiltrate | (vt) แทรกซึม, Syn. penetrate, permeate |
infiltration | (n) การซึมทะลุ, See also: การแทรกซึม, สิ่งที่แทรกซึมเข้าไป, การแฝงตัวเข้าไปปะปนกับข้าศึก, ภาวะที่ถูกแทรกซึม, Syn. interpenetration, insertion, intermediacy |
insert | (vt) แซม, See also: แทรก, แทรกเข้า, Syn. enter, include |
insert | (n) ใบแทรก, See also: หน้าโฆษณาแทรกในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร, Syn. pull-out, supplement |
inserted | (adj) ซึ่งใส่ไว้, See also: ซึ่งสอดแทรกไว้, ที่เชื่อมต่อโดยการเติบโตตามธรรมชาติ, Syn. enclosed, stuck in |
insertion | (n) การแทรก, See also: การใส่, การเติม, Syn. inclusion, interpolation |
inset | (vt) ใส่, See also: แทรก, เติม, Syn. inlay, insert |
intercalate | (vt) สอด, See also: สอดแทรก, แทรก, คั่น, Syn. add, insert, interpolate |
intercalate | (vi) สอด, See also: สอดแทรก, แทรก, คั่น, Syn. add, insert, interpolate, Ant. extract |
intercurrent | (adj) ซึ่งแทรกซ้อน (ทางการแพทย์) |
interfere | (vi) ก้าวก่าย, See also: แทรกแซง, เข้าไปยุ่งเรื่องคนอื่น, Syn. interlope, intervene, meddle |
interference | (n) การเข้าแทรกแซง, See also: การเข้าไปยุ่งเรื่องคนอื่น, Syn. intervention, meddlesomeness |
interfering | (adj) ซึ่งก้าวก่าย, See also: ซึ่งแทรกแซง, ซึ่งเข้าไปยุ่งเรื่องคนอื่น, Syn. meddlesome |
interject | (vt) อุทาน, See also: พูดแทรก, พูดสอดขึ้นมา, Syn. interpose |
interject | (vi) อุทาน, See also: พูดแทรก, พูดสอดขึ้นมา, Syn. interpose |
interlard | (vt) สอดแทรก, See also: แต่งเติมลงไป, Syn. insert, Ant. extract |
interleaf | (n) ใบแทรก, See also: แผ่นแทรกในหนังสือ |
interleave | (vt) ใส่แผ่นแทรก, See also: เพิ่มใบแทรก |
interline | (vt) สอดแทรกคำระหว่างบรรทัดหรือข้อความ, Syn. line, face |
Hope Dictionary
anaptyxis | (แอนแนพทิค' ซิส) n., (pl. tyxes) การแทรกสระ. -anaptytic (al) adj. (epenthesis of a vowel) |
astragalus | (แอสแทรก'กะลัส) n., (pl. -li) กระดูกข้อต่อตาตุ่ม. -astragalar adj. |
bloop | (บลูพ) n. เสียงแทรก, อุปกรณ์กันเสียงแทรก. |
bulldoze | (บูล'โดซ) { bulldozed, bulldozing, bulldozes } vt. ทำให้กลัว, ขู่, ขู่เข็ญ, คุกคาม, ใช้รถแทรกเตอร์ไถพื้นที่ให้เรียบ |
bulldozer | (บูล'โดเซอะ) n. รถแทรกเตอร์เกลี่ยดิน |
bus | (บัส) 1. { bussed, bussing, buses } n. รถโดยสารประจำทาง, รถเมล์, รถบัส, รถม้า, เครื่องบินโดยสาร, ตัวเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้าหลายวงจร, สายรวม, สายตัวนำใช้สำหรับการส่งสัญญาณ, หมายถึงวงจรหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อสำหรับส่งถ่ายขัอมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปสู่อีกอุปกรณ์หนึ่ง, สายตา 2. วงจรหรือทางเดินไฟฟ้าที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อสำหรับส่งอิเล็กตรอน ให้กระจายออกไปยังจุดต่าง ๆ คอมพิวเตอร์มีบัสไว้ เพื่อทำหน้าที่กระจายอิเล็กตรอน (ซึ่งแทรกรหัสข้อมูลไปตามจุดที่ต้องการภายในเวลาที่กำหนดให้) |
by-effect | n. ผลแทรกซ้อน |
caterpillar | (แคท'ทะพิลละ) n. หนอนผีเสื้อ, หนอนผีเสื้อราตรี, รถแทรกเตอร์ |
chime | (ไชมฺ) { chimed, chiming, chimes } n. อุปกรณ์ตีระฆังให้เป็นเสียงดนตรี, เสียงระฆังกังวาน, เพลงระฆัง, เสียงกลมกลืน. -vi. ขับร้องประสานเสียง, ทำเสียงระฆัง, เห็นด้วย. -vt. ตีระฆัง, ตีระฆังเรียกประชุม, พูดซ้ำซาก. -chime in พูดสอดแทรกอย่างกะทันหัน, See also: chime i |
chipper | (ชิพ'เพอะ) { chippered, chippering, chippers } adj. ร่างเริง, อารมณ์ดี, เป็นสุข vi. พูดสอด, พูดแทรก, คุย, ส่งเสียงร้องจ๊อก ๆ , พูดจ้อ n. เครื่องตัด, เครื่องสกัดสว่าน |
circuit switching | การสลับวงจรในด้านการสื่อสารข้อมูล (data communications) หมายถึงเทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร) ดู packet switching เปรียบเทียบ |
complicacy | (คอม'พละคะซี) n. ภาวะยุ่งเหยิง, ภาวะซับซ้อน, ภาวะแทรกซ้อน, สิ่งที่แทรกซ้อน, โรคแทรกซ้อน, Syn. complexity |
complication | (คอมพลิเค'เชิน) n. ความซับซ้อน, ความยุ่งเหยิง, ความแทรกซ้อน, โรคแทรกซ้อน, สิ่งแทรกซ้อน, Syn. variation, problem |
cross talk | n. การพูดสอดแทรก, คำพูดสอดแทรก, การทะเลาะกัน |
cue | (คิว) { cued, cuing, cues } n. ผมเปีย, ไม้แทงบิลเลียด, แถวคน, คำแนะนำ, คำบอกบท, สิ่งกระตุ้น, บท, เจตนารมณ์ vt. ถักเป็นผมเปีย, ใช้ไม้แทงบิลเลียดตี, บอกบท, บอกเป็นนัย, สอดแทรก, นำทาง |
endoplasmic reticulum | เป็นท่อขนาดเล็ก แทรกอยู่ทั้วไปในไซโตปลาสซึม และเป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างผนังเซลล์กับผนังนิวเคลียส ของเหลวภายในนี้จึงเหมือนกับของเหลวภายนอกเซลล์ทำหน้าที่เป็นระบบสังเคราะห์และลำเลียงสารไปยังที่ต่างภายในและภายนอกเซลล์ แบ่งออกได้เป็น 2 พวก คือ Granular พวกนี้มี ribosome มาเกาะจึงเห็นเปืนผิวขรุขระ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนและลำเลียงเพื่อปล่อยออกนอกเซลล์ ส่วนชนิดที่ 2 เรียกว่า Agranular หรือชนิดผิวเรียบเพราะไม่มี ribosome มาเกาะ ทำหน้าที่ผลิตสารพวกไขมันและลำเลียงโปรตีนต่าง ๆ ภายในเซลล์ |
farce | (ฟาร์ซฺ) { farced, farcing, farces } n. ละครตลก, เรื่องตลก, เรื่องที่น่าขบขัน vt. สอดแทรก, ปรุงแต่ง, ยัด, ใส่ |
fender | (เฟน'เดอะ) n. ผู้ป้องกัน, ผู้พิทักษ์, ผู้ปัดเป่า, สิ่งป้องกัน, แผ่นกันโคลน, ที่กันกระแทรก, เครื่องกันชน, กันชนรถยนต์, ตะแกรงหน้ารถไฟ, ตะแกรงหน้ารถราง., See also: fendered adj. |
filter | (ฟิล'เทอะ) n. ที่กรอง, กระดาษกรอง, สารที่ใช้กรอง, บุหรี่ก้นกรอง. vt. กรองออก, กรอง vi. กรอง. adj. เกี่ยวกับบุหรี่ก้นกรอง., See also: filterer n., Syn. strainer, sieve, sift ตัวกรองหมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบ format การเก็บข้อมูลหรือภาพให้ เป็นรูปแบบที่ต้องการใช้ ส่วนมากโปรแกรมนี้จะมีแทรกอยู่ในโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ หรือโปรแกมการจัดพิมพ์ ฯ ที่มักจะมีการโอนแฟ้มข้อมูล ประเภทอื่น เช่น จากโปรแกรม dBASE หรือ Lotus เข้ามา ถ้าไม่มีตัวกรองเตรียมไว้ ก็จะโอนเข้ามา ไม่ได้ นอกจากนั้น ยังเป็นคำสั่งในระบบปฏิบัติการ คำสั่งหนึ่งที่สั่งให้ประมวลผล ข้อมูลเสียก่อนที่จะทำอย่างอื่นต่อไป ตัวกรองของระบบดอส จะประกอบด้วยคำสั่ง More, Find, และ Sort คำสั่ง More เป็นคำสั่งให้แสดงผลไปเรื่อย ๆ จอภาพ ก็จะเลื่อนไปเรื่อย ๆ เพื่อแสดงผลต่อไปจนกว่าจะหมด find เป็นคำสั่งให้หาแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ และ sort ก็เป็น คำสั่งให้เรียงลำดับแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกี ASCII |
gag | (แกก) { gagged, gagging, gags } vt., n. ปิดปาก, อุดปาก, ใช้เครื่องถ่างปาก, จำกัดการพูด, พูดโดยไม่มีบท, สอดแทรกนอกบท vi. หายใจไม่ออก, พูดตลก, สอดแทรกบทตลก, พูดตลก. n. เครื่องถ่างปาก, สิ่งที่ใช้อุดปาก, การจำกัดเสรีภาพในการพูด, เรื่องตลก, กลอนสด, การพูดโดยมีบท คำที่มีความ |
gagger | (แกก'เกอะ) n. ผู้อุดหรือปิดปากคนอื่น, สิ่งที่ใช้อุดปาก, คนที่พูดสอดแทรกเรื่องตลก, คนที่พูดกลอนสด, คนที่พูดโดยไม่มีบท |
glossary | (กลอส'ซะรี) n. ภาคคำศัพท์อธิบายที่แทรกอยู่ในหนังสือ., See also: glossarial adj. glossarist n., Syn. lexicon, wordbook |
grangerise | vt. แทรกภาพในหนังสือ, ตัดภาพแทรก จากหนังสือ, See also: grangerizer, grangeriser n. grangerism n. |
grangerize | vt. แทรกภาพในหนังสือ, ตัดภาพแทรก จากหนังสือ, See also: grangerizer, grangeriser n. grangerism n. |
grouser | (เกรา'เซอะ) n. แผ่นสายพานฟันเฟืองของรถแทรกเตอร์ เสาเข็ม, คนขี้บ่น |
hamper | (แฮม'เพอะ) vt., n. (สิ่งที่) ทำให้ชะงัก, หยุดยั้ง, ขัดขวาง, สอดแทรก, ตัด., See also: hamperer n., Syn. hinder, impede |
in line program | โปรแกรมแทรกชุดคำสั่งแทรกหมายถึง ชุดคำสั่งส่วนหนึ่งที่เขียนแทรกไว้ในโปรแกรม ใช้ชื่อที่กำหนดขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อสะดวกในการเรียกใช้ คำสั่งกลุ่มนี้ โดยปกติ จะประกอบด้วยคำสั่งหลายคำสั่ง ที่ผู้ทำโปรแกรมนำมารวมไว้ ชุดคำสั่งแทรกนี้จะต้องกำหนดชื่อคำสั่งไว้ตอนต้นโปรแกรม เมื่อใดก็ตาม ที่มีการเรียกชื่อคำสั่งที่กำหนดนี้ ก็จะเท่ากับเป็นการเรียกใช้กลุ่มคำสั่งที่ประกอบด้วยคำสั่งนี้ทั้งชุด ชุดคำสั่งแทรกนี้ เราสามารถเรียกใช้ได้ตลอดเวลาที่เรียกใช็โปรแกรมนี้อยู่ หรือทุกแห่งที่ต้องการใช้คำสั่งกลุ่มนั้นมีความหมายเหมือน macro instruction, macro program |
incident | (อิน' ซิเดินทฺ) n. การบังเกิด, เหตุการณ์เรื่องราว, บทปลีกย่อย, บทแทรก. -adj. ซึ่งมักเกิดขึ้น, ประจำ, ซึ่งพุ่งเข้าหา, ซึ่งกระทบ |
infiltrate | (อินฟิล'เทรท) v. ซึมทะลุ, แทรกซึม n. สิ่งที่แทรกซึมเข้าไป., See also: infiltrative adj. infiltrator n., Syn. pervade, permeate |
infiltration | (อินฟิลเทร'เชิน) n. การซึมทะลุ, การแทรกซึม, สิ่งที่แทรกซึมเข้าไป, การแฝงตัวเข้าไปปะปนกับข้าศึก |
infitrate | แทรกซึม |
insert | (อินเซิร์ท') vt. ใส่เข้า, สอด, แทรก, บรรจุ, ปลูก. n. สิ่งแทรก, ใบแทรก., See also: insertable adj. inserter n., Syn. inject |
insert key | แป้นแทรก <คำแปล>เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำว่า Insert หรือ Ins อยู่บนแป้น การกดแป้นนี้จะทำให้สามารถพิมพ์ตัวอักษรแทรกเข้าไปโดยที่ตัวอักษรที่อยู่ถัดไปจะถอยให้ (ถ้าไม่กดแป้นนี้ อักษรตัวใหม่ที่พิมพ์จะทับตัวเก่า ทำให้ตัวเก่าหายไป) อย่างไรก็ตาม แป้นนี้เป็นแป้นเปิด/ปิด (on/off) หมายความว่า กดแป้นนี้ครั้งแรก จะเปลี่ยนให้เป็นภาวะแทรก แต่ถ้ากดอีกครั้งหนึ่ง ก็จะเปลี่ยนกลับไปเป็นภาวะเดิม คือภาวะพิมพ์ทับ บางทีใช้ Ins keyดู insert mode ประกอบ |
insert mode | ภาวะแทรกหมายถึง ภาวะที่เราสามารถพิมพ์แทรก คำ ข้อความ หรือตัวอักษรเข้าไปได้ โดยปกติในการพิมพ์ จะมี 2 ภาวะ ภาวะแรกเรียกว่า ภาวะแทรก หมายถึงการพิมพ์อักขระแทรกลงไป โดยที่อักขระตัวที่มีอยู่แล้วถอยกระเถิบไปให้ ส่วนอีกภาวะหนึ่ง ก็คือ การพิมพ์ทับลงไปบนอักขระเก่า ที่ให้ของเก่าหายไป ถ้าต้องการให้อยู่ในภาวะแทรก ก็กดแป้น Insert ถ้าต้องการพิมพ์ทับ ก็กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง |
inserted | (อินเซอ'ทิด) adj. ซึ่งใส่ไว้, ซึ่งสอดแทรกไว้ |
insertion | (อินเซอ'เชิน) n. การใส่ไว้, การสอดแทรกไว้, สิ่งที่สอดแทรกไว้, การปลูก, ที่ที่ติด, Syn. inset, addition, suplement |
insertion pointer | ตัวชี้การแทรกหมายถึง ตัวชี้ตำแหน่งที่มีลักษณะคล้าย I (เรียกว่า I Beam) ถ้าต้องการจะพิมพ์แทรกลงไปที่ตรงไหน ให้นำตัวนี้ไปวางไว้ตรงนั้น อักขระที่พิมพ์ใหม่ก็จะแทรกลงไปตรงนั้น |
inset | (อิน'เซท) n. สิ่งที่สอดแทรกเข้าไป, ใบแทรก, ภาพแทรก, แผ่นภาพหรือแผนที่ในกรอบ, ชิ้นผ้า, การไหลเข้า, การสอดแทรก. vt. สอด, แทรก, ใส่., See also: insetter n., Syn. insert, influx |
insinuate | (อินเซีย'นุเอท) vt., vi. บอกเป็นนัย, พูดเป็นเชิง, แย้ม, สอดแทรก., See also: insinuatory adj. insinuately adv. insinuator n. - S. intimate, suggest |
interfere | (อินเทอเฟียร์') vi. แทรกแซง, ยุ่ง, สอดแทรก, ก้าวก่าย, ขัดขา, รบกวน, แย้งกัน., See also: interferer n. interferingly adv. |
interference | (อินเทอเฟีย'เรินซฺ) n. การแทรกแซง, การสอดแทรก, การรบกวน, สิ่งรบกวน, สิ่งขัดขวาง., See also: interferential adj., Syn. intrusion, intervention, hindrance |
interleaving | แทรกสลับสลับหมายถึง อัตราส่วนของการบันทึกข้อมูลลงในแต่ละเซ็กเตอร์ (sector) กับเซ็กเตอร์ ที่ข้ามไปของจานบันทึกแบบแข็ง (hard disk) เช่น ถ้าจานแข็งยี่ห้อหนึ่งกำหนดไว้ 3:1 หมายความว่า จานนี้บันทึกข้อมูลหนึ่งเซ็กเตอร์แล้วข้ามไปสามเซ็กเตอร์ จึงจะบันทึกข้อมูลใหม่ |
intermediate | (อินเทอมี'เดียท) adj. ระหว่างกลาง, ปานกลาง, n. สิ่งปานกลาง, ผลิตผลระหว่างทาง (ของกระบวนการทางเคมี) , รถยนต์ขนาดปานกลาง, คนไกล่เกลี่ย, คนกลาง, ตัวสื่อ. vt. ทำหน้าที่เป็นคนกลาง, ทำหน้าที่เป็นคนไกล่เกลี่ย, สอดแทรก., See also: intermediation n. intermediator |
interpolate | (อินเทอ'พะเลท) vt. แก้ไขข้อความโดยการสอดแทรก, สอดแทรกคำลงในข้อความ, สอดแทรก. vi. ทำการสอดแทรก., See also: interpolater, interpolator n. interpolative adj., Syn. interpose, insert |
interpose | (อินเทอโพซ') vt., vi. สอดแทรก, ก้าวก่าย, กีดกั้น, ขวาง, พูดสอด., See also: interposable adj. interposal n. interposer n. interposingly adv., Syn. intervene |
intervene | (อินเทอวีน') vt. แทรกแซง, ก้าวก่าย, เกิดขึ้นระหว่าง, เกิดขึ้นโดยบังเอิญและขัดขวาง, ยุ่ง, See also: intervener, intervenor n. intervenient adj., Syn. interfere |
intervention | (อินเทอเวน'เชิน) n. การแทรกแซง, การก้าวก่าย, การยุ่ง., See also: interventional adj., Syn. interference |
leaflet | (ลีฟ'ลิท) n. ใบปลิว, ใบแทรก, ใบอ่อน, ส่วนที่คล้ายใบ |
meantime | (มีน'ไทมฺ) n. เวลาแทรก, เวลาในระหว่างนั้น. adv. ในเวลาระหว่างนั้น |
mesne | (มีน) adj. อยู่ระหว่างกลาง, ซึ่งสอดแทรก |
Nontri Dictionary
complication | (n) ความซับซ้อน, ความสับสน, ความยุ่งยาก, ความแทรกซ้อน |
corollary | (n) บทเทียบ, บทแทรก, ควันหลง, ข้อพิสูจน์ |
incident | (n) เหตุการณ์, เรื่องราว, การบังเกิด, บทแทรก |
infiltrate | (vt) แทรกซึม, ซึมทะลุ, ผ่านการกรอง |
insert | (n) สิ่งที่ใส่ไว้, ใบแทรก, สิ่งที่แทรกไว้ |
insert | (vt) ใส่ไว้, สอด, แทรก, บรรจุ |
insertion | (n) การสอดแทรก, การแทรก, สิ่งที่ใส่ไว้ |
inset | (n) สิ่งที่สอดไว้, ชิ้นผ้า, ใบแทรก, การสอดแทรก |
inset | (vt) สอดไว้, แทรกไว้, ใส่ไว้ |
insinuate | (vt) ลอบเข้าไป, สอดแทรก, พูดแนะ |
insinuation | (n) การลอบเข้าไป, การพูดสอดแทรก, การพูดแนะ |
interfere | (vi) แย้งกัน, สอดแทรก, แทรกแซง, รบกวน |
interference | (n) การสอดแทรก, การแทรกแซง, การรบกวน |
intermeddle | (vi) แทรกแซง, ก้าวก่าย, เลือก |
interpolate | (vt) เพิ่มเติม, สอดแทรก, แก้ไข |
interpolation | (n) การแก้ไข, สิ่งที่แก้ไข, การสอดแทรก |
interpose | (vi, vt) สอดแทรก, พูดสอด, ขวาง, ก้าวก่าย, แทรกแซง, กั้นกลาง, ห้ามปราม |
interposition | (n) การสอดแทรก, การก้าวก่าย, การขวาง, การกั้น |
intervene | (vi) อยู่ระหว่าง, ก้าวก่าย, แทรกแซง |
intervention | (n) การแทรกแซง, การก้าวก่าย |
leaflet | (n) ใบอ่อน, ใบปลิว, ใบแทรก |
meddle | (vi) ยุ่งเกี่ยว, แทรกแซง, เสือก |
meddler | (n) คนชอบยุ่ง, คนชอบแทรกแซง, คนชอบเสือก |
meddlesome | (adj) ชอบยุ่ง, ชอบแทรกแซง, ชอบเสือก |
mesne | (adj) กึ่งกลาง, แทรกแซง, ซึ่งสอดแทรก |
parenthetic | (adj) อยู่ในวงเล็บ, ซึ่งสอดเข้ามา, ซึ่งแทรกอยู่ |
penetrable | (adj) เข้าไปได้, แทรกซึม, ทะลุปรุโปร่ง, ลอดได้, ผ่านได้ |
penetrative | (adj) ทะลุผ่าน, แทรกซึม, ซึม, ฝ่าเข้าไป |
permeable | (adj) ซึมเข้าไปได้, แทรกเข้าไปได้ |
permeate | (vt) ซึมซาบ, แผ่ซ่าน, แทรก |
supplement | (n) ใบแทรก, บทแทรก, ภาคผนวก, บทเสริม |
tip | (n) รางวัลคนใช้, ความลับ, ปลาย, การเคาะ, คำแนะนำ, ใบแทรก |
tractor | (n) รถแทรกเตอร์, เครื่องลาก, เครื่องดึง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
complexity | (n, vi, vt) ทำให้ยุ่ง, จุกจิก, ประกอบด้วยส่วนต่างๆที่จุกจิก, แทรกแซง |
edutainment | (n) การให้บริการบันเทิงควบคู่กับสาระความรู้ การบันเทิงที่สอดแทรกสาระความรู้ การให้บริการบันเทิงไปพร้อม ๆ กับสาระความรู้ เช่น Animal Presentation at Dusit Zoo is edutainment = การแสดงความสามารถของสัตว์ที่สวนสัตว์ดุสิต เป็นบริการความบันเทิงที่ควบคู่หรือที่สอดแทรกสาระความรู้ ในเวลาเดียวกัน |
interferometer | (n) มาตรแทรกสอด, See also: interfrometry |
Semispinalis capitis | กล้ามเนื้อตามยาวลึกของหลังที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกระบวนการตามขวางของทรวงอกหกหรือเจ็ดส่วนบนและกระดูกสันหลังส่วนคอที่เจ็ดถูกแทรกบนพื้นผิวด้านนอกของกระดูกท้ายทอยระหว่างสองสันหลัง (ช่องเปิดในกะโหลกศีรษะที่ไขสันหลังผ่านจนกลายเป็นไขกระดูก) และทําหน้าที่ขยายและหมุนศีรษะ |
Thromboxane | สารต่างๆที่มีการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกล็ดเลือด, จะเกิดขึ้นจากการแทรกขนาดกลางในการเปลี่ยนแปลงของขา endoperoxides, ทำให้เกิดการหดตัวของหลอดเลือดและหลอดลมกล้ามเนื้อเรียบ, และส่งเสริมการแข็งตัวของเลือด |
Longdo Approved JP-TH
干渉 | [かんしょう, kanshou] (n) แทรกแซง ก้าวก่าย |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
補論 | [ほろん, horon] (n) ใบแทรก, ส่วนเพิ่มเติม, ภาคผนวก |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
組み込む | [くみこむ, kumikomu] TH: แทรก(ในการพิมพ์) EN: to cut in (printing) |
割込む | [わりこむ, warikomu] TH: แทรก ขัดจังหวะ ขัดคอ EN: to interrupt |
挟む | [はさむ, hasamu] TH: แทรกตรงกลาง EN: to hold between |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0459 seconds, cache age: 0.184 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม