259 ผลลัพธ์ สำหรับ *รังเกียจ*
ภาษา
หรือค้นหา: รังเกียจ, -รังเกียจ-Longdo TH - TH
รังเกลียด | คำนี้สะกดผิด ที่ถูกต้องคือ รังเกียจ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ข้อรังเกียจ | (n) objection, See also: offensive, Example: เขาถูกตั้งข้อรังเกียจว่าเป็นคนทุจริต, Thai Definition: สิ่งที่รู้สึกเกลียดหรือไม่พอใจ |
น่ารังเกียจ | (adj) disgusting, See also: hateful, Syn. น่าสะอิดสะเอียน, น่าเกลียด, น่าขยะแขยง, Ant. น่ารัก, น่าพึงพอใจ, Example: ฉันยอมรับพฤติกรรมน่ารังเกียจของเพื่อนร่วมงานคนนี้ไม่ได้ |
น่ารังเกียจ | (v) be disgusting, See also: be hateful, be repulsive, Syn. น่าสะอิดสะเอียน, น่าเกลียด, น่าขยะแขยง, Ant. น่ารัก, น่าพึงพอใจ |
ไม่รังเกียจ | (v) do not mind, See also: approve |
ความรังเกียจ | (n) dislike, See also: hate, hatred, detestability, loathing, Syn. ความเกลียด, ความเกลียดชัง, Ant. ความชอบ, Example: หากเราแสดงความรังเกียจต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ จะทำให้กำลังใจของผู้ป่วยลดลง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
รังเกียจ | ก. เกลียดเพราะรู้สึกขยะแขยงหรือไม่ชอบใจเป็นต้น. |
รังเกียจเดียดฉันท์ | ก. ลำเอียงด้วยความรังเกียจ. |
รังเกียจรังงอน | ก. ตั้งแง่ตั้งงอนทำเป็นรังเกียจเพราะไม่ชอบใจ. |
กระเลียด | (-เหฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, เช่น ไยเยาวเคียดและกระเลียด ฤเหลือบพระพักตร์ผิน (สรรพสิทธิ์). |
เกลียด | (เกฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, ไม่ชอบจนรู้สึกไม่อยากพบอยากเห็นเป็นต้น, บางทีใช้คู่กับคำ ชัง เป็น เกลียดชัง. |
เกียง | ก. เกี่ยง, รังเกียจ, ไม่ลงรอย, เกี่ยงแย่ง, เกี่ยงแย้ง, เช่น คนใดอันรังร้าย จิตรพิศเกียงกล (จารึกวัดโพธิ์), โดยมากใช้เป็น เกี่ยง. |
ขยะแขยง | (ขะหฺยะขะแหฺยง) ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, แขยง ก็ว่า. |
ขี้หน้า | น. หน้า (ใช้แสดงความไม่ชอบหรือรังเกียจ) เช่น เกลียดขี้หน้า เบื่อขี้หน้า. |
ขี้หน้า | น. หน้า (ใช้ในความหมั่นไส้ รังเกียจ หรือดูหมิ่น) เช่น เกลียดขี้หน้า ขายขี้หน้า. |
แขยง ๒ | (ขะแหฺยง) ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, ขยะแขยง ก็ว่า. |
คลื่นไส้ | (คฺลื่น-) ก. ปั่นป่วนในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ชวนให้อาเจียน, โดยปริยายหมายความว่า น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน. |
เดียดฉันท์ | ก. ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลำเอียง. |
เต็มไม้เต็มมือ | โดยสนิทใจ, ไม่มีความรังเกียจ, ไม่ขยะแขยง, เช่น จับสิ่งสกปรกได้เต็มไม้เต็มมือ. |
ถือผิว | ก. รังเกียจผู้ที่มีสีผิวต่างกับตน (มักใช้แก่พวกผิวขาวที่มีความรู้สึกรังเกียจพวกที่มีผิวสีอื่น). |
ทุเรศ ๑ | ว. ลักษณะที่ขัดหูขัดตา น่ารังเกียจ หรือน่าสมเพช เป็นต้น, (ปาก) คำที่เปล่งออกมาแสดงการไม่ยอมรับหรือแสดงความรังเกียจ. |
นาง ๑ | คำเรียกหรือคำนำหน้าชื่อหญิงที่มีพฤติกรรมไม่ดีหรือน่ารังเกียจเป็นต้น เช่น นางแพศยา มักออกเสียงสั้นว่า นัง เป็น นังแพศยา |
น้ำหน้า | น. หน้า (ใช้ในความแดกดัน รังเกียจ หรือดูหมิ่น เป็นต้น) เช่น นํ้าหน้าอย่างนี้ทำไม่สำเร็จดอก เกลียดนํ้าหน้า ชังนํ้าหน้า |
บัดสี, บัดสีบัดเถลิง | (-ถะเหฺลิง) ว. น่าอับอายขายหน้า เป็นที่น่ารังเกียจ. |
แบะปาก | ก. แสยะปากทำอาการรังเกียจเป็นต้น. |
ปฏิกูล | ว. สกปรกน่ารังเกียจ เช่น สิ่งปฏิกูล. |
เปื้อน | ก. ติดสิ่งที่ทำให้เกิดสกปรก น่ารังเกียจ หรือไม่ต้องการ เช่น เปื้อนโคลน เปื้อนแกง เปื้อนเลือด. |
เปื้อน | ว. มีสิ่งสกปรก น่ารังเกียจ หรือไม่ต้องการติดอยู่ เช่น มือเปื้อน ผ้าเปื้อน. |
ฟอนเฟะ | ว. เละเทะ, เป็นที่น่ารังเกียจ, เช่น มีความประพฤติฟอนเฟะ สังคมฟอนเฟะ. |
มีหน้า | ว. ไม่รู้สึกอาย (ใช้ในความแดกดัน รังเกียจ หรือดูหมิ่น), มักใช้กับคำ ยัง เช่น โกรธกันแล้วยังมีหน้ามาพูด เก่าไม่ใช้ ยังมีหน้ามายืมใหม่อีก. |
ยี้ | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการรังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้น เช่น ยี้ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ยังจะเอามาให้อีก, อี๊ ก็ว่า. |
รังคัดรังแค, รังแครังคัด | ก. ตั้งข้อรังเกียจ เช่น ต่างฝ่ายต่างก็คอยแต่จะรังคัดรังแคกัน ลูกคนละแม่มักจะรังแครังคัดกัน. |
ฤดียา, ฤติยา | (รึ-) ก. เกลียด, รังเกียจ, ดูถูก. |
ลามก | (-มก) ว. หยาบช้าต่ำทราม, หยาบโลน, อันเป็นที่น่ารังเกียจของคนดีมีศีลธรรม, เช่น หนังสือลามก พูดลามก ทำลามก. |
เละเทะ | มีความประพฤติเหลวไหลไม่มีความรับผิดชอบ เช่น คนกินเหล้าเมายาเป็นคนเละเทะ เชื่อถือไม่ได้, มีความประพฤติเป็นที่น่ารังเกียจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น ผู้หญิงคนนั้นทำตัวเละเทะ. |
สนิทใจ | ว. ไม่มีอะไรต้องแคลงใจหรือสงสัย เช่น เชื่ออย่างสนิทใจ, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่สนิทใจ หมายความว่า มีลักษณะพึงรังเกียจ เช่น พื้นสกปรกนั่งแล้วไม่สนิทใจ ผ้าเช็ดมือในห้องน้ำรวมใช้ได้ไม่สนิทใจเลย. |
สนิทสนม | ว. แนบเนียน เช่น เขาพูดเท็จได้อย่างสนิทสนม เขาชำระแผลให้คนเป็นโรคเรื้อนได้อย่างสนิทสนมโดยไม่รังเกียจ. |
สิ่งปฏิกูล | น. สิ่งสกปรกน่ารังเกียจ เช่น ขยะเป็นสิ่งปฏิกูล. |
โสโครก | (โสโคฺรก) ว. สกปรก, เปื้อนเปรอะน่ารังเกียจ, โดยปริยายหมายความว่า เลว เช่น คนโสโครก ของโสโครก เรื่องโสโครก. |
หมาขี้เรื้อน | น. คนที่น่ารังเกียจ ไม่ควรคบหาสมาคมด้วย (ใช้กล่าวถึงผู้อื่นด้วยความดูถูกเหยียดหยาม). |
หมาหัวเน่า | น. คนซึ่งเป็นที่รังเกียจของคนอื่นจนไม่สามารถเข้ากับใครได้, คนที่ไม่มีใครรักหรือคบหา. |
หยำเหยอะ, หยำแหยะ | (หฺยำเหฺยอะ, หฺยำแหฺยะ) ว. อาการที่เคี้ยวซ้ำ ๆ น่ารังเกียจ, อาการที่พูดซ้ำซากน่าเบื่อ. |
เหลวแหลก | เป็นที่น่ารังเกียจ เช่น มีความประพฤติเหลวแหลก ชีวิตเหลวแหลก. |
ให้ท่า | ก. พูดหรือแสดงกิริยาให้รู้ว่ายินดีติดต่อด้วยหรือไม่รังเกียจ (ใช้แก่ผู้หญิง). |
อนาจาร | (อะนาจาน) ว. ลามก, น่าบัดสี, ทำให้เป็นที่อับอาย, เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อื่นในด้านความดีงาม. |
อี๊ | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการรังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้น เช่น อี๊ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ ยังจะเอามาให้อีก, ยี้ ก็ว่า. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
offensive trade | การค้าที่น่ารังเกียจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fastidium | ความรังเกียจอาหาร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความน่ารังเกียจ | [khwām nārangkīet] (n) EN: nastiness |
น่ารังเกียจ | [nārangkīet] (adj) EN: disgusting ; hateful FR: déplaisant ; désagréable |
รังเกียจ | [rangkīet] (v) EN: conceive a dislike ; hate FR: abhorrer ; avoir horreur de ; avoir du dégoût pour |
รังเกียจ | [rangkīet] (v) EN: object to ; mind ; take offence = offense (Am.) ; complain FR: être gêné ; être incommodé ; objecter |
รังเกียจไหม | [rangkīet mai] (xp) FR: avez-vous une objection ? |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
abhor | (แอบฮอร์') vt. เกลียดชัง, รังเกียจ, ชิงชัง -abhorrer n., Syn. loathe, hate |
abominable | (อะบอม' นินะเบิล) adj. น่ารังเกียจ, น่ารำคาญ, เลวมากที่สุด, Syn. hateful, odious |
ad nauseam | (แอคนอ' เซียม) น่าคลื่นไส้, น่าชัง, น่ารังเกียจ |
averse | (อะเวิร์ส') adj. คัดค้าน, ไม่ชอบ, รังเกียจ, ไม่ยินยอม, ไม่สมัครใจ, หันไปด้านตรงกันข้ามกับต้น, Syn. opposed, hostile |
aversion | (อะเวอ'เชิน) n. ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, คำไม่พอใจ. -aversive adj. |
aw | (ออ) interj. คำอุทานแสดงความรู้สึกคัดค้านไม่เชื่อ รังเกียจ (an exclamation) |
awfully | (ออ'ฟูลลี) adv.มาก ๆ , มากเหลือเกิน, น่ากลัวน่ารังเกียจ, น่ายำเกรง (very, extremely) |
contemptible | (คันเทมพฺ'ทะเบิล) adj. น่าดูถูก, น่าเหยียดหยาม, น่าชัง, น่ารังเกียจ., See also: contemptibility n. ดูcontemptible -Conf. contemptuous |
contemptuous | (คันเทมพฺ'ชุอัส) adj. น่าดูถูก, น่าชัง, น่ารังเกียจ, หยิ่งยโส, โอหัง. n., Syn. acornful, Ant. respectful |
crud | (ครัด) { crudded, crudding, cruds } n. สิ่งสะสมหรือคราบที่สกปรกโสมม, คนที่สกปรกโสมม, สิ่งที่ไร้ค่า, น่ารังเกียจ น่าขยะแขยง vt., vi. ทำให้เป็นนมเปรี้ยวหรือนมที่เข้มข้น |
crumb | (ครัมพฺ) n. เศษขนมปัง, เศษ, คนที่ไร้ค่า, คนที่น่ารังเกียจ. vt. ใส่เศษเล็กเศษน้อย adj. มีเศษเนย, เครื่องเทศและน้ำตาลบนพื้นหน้า |
currish | (เคอ'ริช) adj. มีอารมณ์ร้าย, ชอบทะเลาะ, เลว, น่ารังเกียจ., See also: currishness n. |
cursed | (เคอร์ซฺทฺ) adj. ซึ่งถูกสาปแช่ง, ชั่วร้าย, น่ารังเกียจ, See also: cursedness n. ดูcursed, Syn. damned, Ant. laudatory |
curst | (เคิร์สทฺ) v. กิริยาช่อง2และช่อง3ของcurse adj. ซึ่งถูกสาปแช่ง, น่ารังเกียจ |
cussed | (คัส'ซิด) adj. ซึ่งถูกสาปแช่ง, ซึ่งถูกแช่ง, น่ารังเกียจ. |
damnable | (แคม'นะเบิล) adj. น่าสาปแช่ง, น่ารังเกียจ, อัปรีย์, น่าเบื่อหน่าย., See also: damnability n., Syn. detestable -A.good |
damned | (แดมดฺ) adj. แย่มาก, ซึ่งถูกสาปแช่ง, เคราะห์ร้าย, ลงนรก, น่ารังเกียจ, อัปรีย์. -adv. อย่างยิ่ง, อย่างมาก, ถึงที่สุด, Syn. condemned |
despicable | (เดส'พิคะเบิล) adj. น่ารังเกียจที่สุด, เลวทราม, น่าเหยียดหยาม, น่าดูหมิ่น, See also: despicableness n. ดูdespicable, Syn. mean, Ant. admirable |
disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame |
disapprove | (ดิสอะพรูฟว') vt. ไม่เห็นด้วย, ไม่พอใจ, รังเกียจ, ไม่อนุญาต., See also: disapprover n. ดูdisapprove, Syn. criticize |
disdain | (ดิสเดน') { disdained, disdaining, disdains } vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ. n. การดูถูก, การดูหมิ่น, ความรู้สึกที่รังเกียจ, Syn. scorn, contempt |
disdainful | (ดิสเดน'ฟูล) adj. เป็นการดูถูก (ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ) ., Syn. contemptuous, aloof |
disgust | (ดิสกัสทฺ') n. ความน่ารังเกียจ, ความน่าขยะแขยง, ความสะอิดสะเอียน, ความน่าชัง. vt. ทำให้อาเจียน, ทำให้น่าชัง, ทำให้น่าขยะแขยง., See also: disgustedness n. ดูdisgust, Syn. offend, irk, repulsion |
disgustful | (ดิสกัส'ฟูล) adj. น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าอาเจียน, น่าขยะแขยง, น่าสะอิดสะเอียน |
disgusting | (ดิสกัส'ทิง) adj. น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าอาเจียน, น่าขยะแขยง., Syn. offensive, odious, Ant. attractive |
disprize | vt. ดูหมิ่น, ดูถูก, รังเกียจ |
disrelish | (ดิสเรล'ลิช) vt., n. (การ) ไม่ชอบ, รังเกียจ |
distaste | (ดิสเทส') n. ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ. vt. ไม่ชอบ, ไม่พอใจ, รังเกียจ, Syn. aversion, dislike, Ant. liking, taste |
distasteful | (ดิสเทส'ฟูล) adj. ไม่พอใจ, น่ารังเกียจ, น่าเบื่อหน่าย, ไม่ถูกรส., See also: distastefulness n., Syn. disgusting, repugnant |
faugh | (ฟอ) int. คำอุทานรังเกียจเช่นฮึ่ม!, ว้า! |
fed | (เฟด) v. กิริยาช่อง2และ3ของfeed, See also: fed up น่าเบื่อหน่าย, น่ารังเกียจ |
filthy | (ฟิล'ธี) adj. สกปรก, โสมม, ลามก, หยาบคาย, ชั่วช้า, เลว, ทุจริต, น่ารังเกียจ., See also: filthily adv. -filthiness n., Syn. unclean |
frightful | (ไฟรทฺ'ฟูล) adj. น่ากลัว, น่าขนลุก, สยองขวัญ, น่าหวาดเสียว, น่ารังเกียจ, น่าเบื่อหน่าย, อย่างยิ่ง, อย่างมาก., See also: frightfully adv. frightfulness n., Syn. dreadful |
fulsome | adj. น่ารังเกียจ, น่ารำคาญ, มากเกินไป, See also: fulsomness n., Syn. gross, Ant. subtle |
gruesome | (กรู'เซิม) adj. น่ากลัว, น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, See also: gruesomeness, grewsomeness n., Syn. grisly, frightful |
hatable | (เฮ'ทะเบิล) adj. น่ารังเกียจ |
hate | (เฮท) vt., vi., n. (ความ) เกลียด, ชัง, รังเกียจ, ไม่ชอบ, ไม่เต็มใจ., Syn. abominate, abhor |
hateable | (เฮ'ทะเบิล) adj. น่ารังเกียจ |
hateful | (เฮท'ฟูล) adj. น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่ารำคาญ, See also: hatefulness n., Syn. detestable |
hellish | (เฮล'ลิช) adj. เหมือนนรก, ร้ายกาจ, อัปรีย์, โหดเหี้ยม, น่ารังเกียจ., See also: hellishness n., Syn. atrocious, brutal |
hilding | (ฮิล'ดิง) n. บุคคลที่น่าดูถูก, คนต่ำช้า adj. ต่ำช้า, น่ารังเกียจ, น่าดูถูก |
ignominious | (อิก'นะมิน'เนียส) adj. น่าอับอาย, อัปยศอดสู, เสียชื่อเสียง, น่ารังเกียจ, น่าดูถูก, See also: ignominiousness n., Syn. humiliating, degrading |
ignominy | (อิก'นะมินนี) n. ความน่าอับอาย, ความอัปยศอดสู, ความน่าดูถูก ความรังเกียจ, Syn. disgrace, shame |
ill | (อิล) adj., adv. ไม่สบาย, ป่วย, เป็นโรค, เลว, ชั่ว, น่ารังเกียจ, ไม่เหมาะสม, ยุ่งยาก, ไม่ชำนาญ, มุ่งร้าย. n. ความเลว, ผลร้าย, อันตราย, โชคร้าย, บาดเจ็บ, โรคบาป., See also: illilly adv., Syn. sick, evil, harm |
inoffensive | (อินอะเฟน'ซิฟว) adj. ไม่เป็นภัย, ไม่ทำอันตราย, เป็นรุกราน, ไม่ทำร้ายคนอื่น, ไม่น่ารังเกียจ., See also: inoffensiveness n., Syn. innocuous, Ant. offensive |
keck | (เคค) vi. คลื่นเหียน, แสดงความรังเกียจ |
loathe | (โลธ) vt. รังเกียจ, เกลียดชัง, เกลียด, ไม่ชอบ, Syn. detest |
loathing | (โล'ธิง) n. ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ. |
loathsome | (โลธฺ'เซิม) adj. น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, See also: loathsomeness n. |
louse | (เลาซฺ) n. แมลงปรสิตเล็ก ๆ ที่อยู่บนคนและสัตว์ (เหา, หมัด, เล็น, ไร, โลน, เห็บ, ฯลฯ) , คนที่น่ารังเกียจ, คนชั่ว. vi. เอาแมลงดังกล่าวออก. -Phr. (louse up ทำให้เสีย, ทำให้ยุ่ง) |
Nontri Dictionary
abhor | (vt) รังเกียจ, ขยะแขยง, เกลียดชัง, ชิงชัง |
abhorrence | (n) ความรังเกียจ, ความขยะแขยง, ความเกลียดชัง, ความชิงชัง |
abhorrent | (adj) น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, น่าเกลียดชัง, น่าชิงชัง |
abominable | (adj) น่าขยะแขยง, น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าเกลียด |
abominate | (vt) ขยะแขยง, รังเกียจ, เกลียด |
abomination | (n) ความขยะแขยง, ความรังเกียจ, ความเกลียด |
averse | (adj) ไม่ถูกใจ, ไม่ชอบใจ, เกลียด, รังเกียจ, ไม่สมัครใจ |
aversion | (n) ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, ความเกลียดชัง |
contemptuous | (adj) น่ารังเกียจ, น่าดูถูก, น่าชัง |
despicable | (adj) น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าเหยียดหยาม, น่าดูถูก |
disapproval | (n) การไม่อนุญาต, ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ |
disapprove | (vt) ไม่พอใจ, ไม่ชอบ, ไม่อนุญาต, รังเกียจ |
disdain | (n) การดูถูก, การรังเกียจ, การเหยียดหยาม, ความไม่ชอบ |
disdain | (vt) ดูถูก, รังเกียจ, เหยียดหยาม, ไม่ชอบ |
disgust | (n) ความขยะแขยง, ความรังเกียจ, ความสะอิดสะเอียน, ความชั่ว |
disgust | (vt) ทำให้ขยะแขยง, รังเกียจ, ทำให้สะอิดสะเอียน, ทำให้น่าชัง |
disrelish | (n) ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, ความเบื่อหน่าย |
disrelish | (vt) ไม่ชอบ, รังเกียจ, เบื่อหน่าย |
distaste | (n) ความไม่ถูกใจ, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ |
distasteful | (adj) ไม่ถูกปาก, ไม่อร่อย, ไม่ถูกรส, ไม่ถูกใจ, ขมขื่น, น่ารังเกียจ |
hate | (n) ความเกลียด, ความรังเกียจ, ความชัง, ความไม่ชอบ, โทสาคติ |
hate | (vt) เกลียด, ไม่ชอบ, รังเกียจ, ชัง, เกลียดชัง |
hateful | (adj) น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าเกลียดชัง |
hater | (n) ผู้เกลียด, ผู้รังเกียจ, ผู้ชัง |
hatred | (n) ความเกลียด, ความชัง, ความรังเกียจ, ความเกลียดชัง, โทสาคติ |
hideous | (adj) น่าขยะแขยง, น่ารังเกียจ, น่าเกลียด, เขย่าขวัญ, น่าสยดสยอง |
hideousness | (n) ความขยะแขยง, ความรังเกียจ, ความน่าเกลียด, ความสยดสยอง |
inoffensive | (adj) ไม่น่ารังเกียจ, ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน |
loath | (adj) ไม่เต็มใจ, รังเกียจ, เกลียด, ลังเล |
loathe | (vt) เกลียดชัง, รังเกียจ, ไม่ชอบ |
loathsome | (adj) น่าเกลียด, น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง |
mawkish | (adj) น่ารังเกียจ, น่าหมั่นไส้, น่าคลื่นไส้, ไม่มีชีวิตชีวา, จืดชืด |
mind | (vt) ระวัง, เอาใจใส่, สนใจ, สังเกต, ตั้งใจฟัง, รังเกียจ |
nasty | (adj) สกปรก, น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน, ฉุนเฉียว |
nauseous | (adj) เป็นที่สะอิดสะเอียน, น่ารังเกียจ |
noisome | (adj) น่ารังเกียจ, เหม็น, เป็นอันตราย, เป็นพิษ |
objectionable | (adj) ค้านได้, น่ารังเกียจ, น่าท้วงติง |
obnoxious | (adj) น่าสะพรึงกลัว, น่าขยะแขยง, น่ารังเกียจ |
odious | (adj) น่าเกลียดชัง, น่ากลัว, น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง |
odium | (n) ความรังเกียจ, ความน่าเกลียด, ความอัปลักษณ์ |
offensive | (adj) ซึ่งรุกราน, ก้าวร้าว, น่ารังเกียจ |
opprobrious | (adj) น่ารังเกียจ, น่าอับอาย, น่าอัปยศ, น่าตำหนิ |
prejudice | (n) ความลำเอียง, ความรังเกียจเดียดฉันท์, อุปาทาน, ความเสียหาย |
repellent | (adj) ขับไล่ไป, ต้านทานไว้, เป็นที่รังเกียจ, น่าเบื่อหน่าย |
repulsive | (adj) น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน, น่าผลักไส |
revolt | (vt) ทำให้รังเกียจ, ทำให้เดือดดาล, จงเกลียดจงชัง |
revolting | (adj) น่าขยะแขยง, น่าสะอิดสะเอียน, น่ารังเกียจ, กำเริบ |
scornful | (adj) ซึ่งดูถูก, ซึ่งเหยียดหยาม, ซึ่งสบประมาท, ซึ่งรังเกียจ |
scornfully | (adv) อย่างสบประมาท, อย่างเหยียดหยาม, อย่างดูถูก, อย่างรังเกียจ |
shun | (vt) หลบหลีก, หลีกเลี่ยง, รังเกียจ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
connotation | (n) ความหมายพิเศษของคำซึ่งมีอยู่กับผู้ใช้ภาษาแต่ละคน เช่น "แมว" บางคนอาจนึกถึงความสะอาดน่ารัก ขณะที่บางคนอาจนึกถึงการกินหนูซึ่งสกปรกน่ารังเกียจ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
嫌な奴 | [いやなやつ, iyanayatsu] (n) ไอ้ขี้ฟ้อง ไอ้น่ารังเกียจ (คนที่น่ารังเกียจในหมู่) |
Longdo Approved DE-TH
widerlich | (adj) (กลิ่น) น่ารังเกียจ |
scheußlich | (adj) ไม่น่าภิรมย์, น่ารังเกียจ |
abstoßend | (adj) น่ารังเกียจ, ไม่น่าคบ, น่าชัง เช่น Ich finde diese Leute nur abstoßend. |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.1112 seconds, cache age: 0.158 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม